บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ

Download Report

Transcript บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ

บทบาทของนักวิจัยไทย
ต่ อ
การจัดการความรู้ และนโยบายสาธารณะ
วิจารณ์ พานิช
ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เสวนาใน การประชุม นักวิจยั ใหม่พบเมธีวิจยั อาวุโส สกว. ครัง้ ที่ ๑๐ วันที่ ๑๖ ต.ค. ๕๓
การจัดการความรู้ KM – Knowledge Management
• มีหลายสานัก ตีความหลายแบบ
• ในที่นีใ้ ช้ แนวของ สคส. (สถาบันส่ งเสริม
การจัดการความรู้เพื่อสังคม)
• www.kmi.or.th
การจัดการความรู้
• เป็ นกระบวนการของนักปฏิบัติ / เจ้ าหน้ าที่ประจา
• เพื่อ ใช้ & สร้ าง ความรู้ในการทางาน เกิดการ
ยกระดับความรู้จากการทางาน
• ทาให้ ตนเองเป็ น บุคคลเรียนรู้ (Learning Person)
เรียนรู้ตลอดชีวิต
• องค์ กร เป็ นองค์ กรเรียนรู้ (Learning
Organization)
• เกิด CQI, Innnovation ในทุกจุดขององค์ กร
การจัดการความรู้
• ไม่ ใช่ จัดความรู้ให้ คนอื่นใช้
• เป็ นการ “จัดการ” เพื่อให้ ตนเอง & ทีมงาน
เครือข่ าย มี ค. ใช้ งาน
• และยกระดับ ค. เรื่องนัน้ ไปไม่ สนิ ้ สุด
• เน้ นที่ TK ค. ปฏิบัติ / ฝั งลึก / จาก
ประสบการณ์
องค์ ประกอบของการจัดการความรู้
Capture
Stora
ge
Creati
on
KM
Goal
Utilizat
ion
Modific
ation
Sharing
งาน
คน
ความสัมพันธ์
องค์ กร
SECI Model of K Spiral
T
Socialization
Internalization
E
Combination
spiral
E
T = Tacit Knowledge
E = Explicit Knowledge
T
Externalization
บทบาทของนักวิจัย
• ร่ วม “ถอดความรู้ ” T -> E externalization
โดยร่ วมฟั ง storytelling โดยผู้ปฏิบัติ และ
ตีความ why ด้ วย EK / ค. ทฤษฎี
• อธิบาย/ตอบ ไม่ ได้ ไม่ แน่ ใจ -> โจทย์ วิจัย
• ทาวิจัยตอบโจทย์ จาก KM ของผู้ปฏิบัติ
• ทาหน้ าที่วิทยากรกระบวนการ (K Facilitator)
หรือ “คุณอานวย”
วัตรของนักวิจัยที่ต้องการเชื่อมต่ อกับ KM
•
•
•
•
ไปคลุกคลี สนิทสนม กับนักปฏิบัติ
เข้ าไปแบบ เท่ าเทียม ลปรร. กัน
นักวิจัยมี EK ผู้ปฏิบัตมิ ี TK
ผู้ปฏิบัตไิ ด้ ยกระดับ ค. นักวิจัยได้ โจทย์ วจิ ัย และได้
ประยุกต์ ค. ในการตีความการปฏิบัติ
• นักวิจัยพืน้ ฐาน + นักวิจัยเพื่อสังคม (ประยุกต์ ) ร่ วมมือ
กัน
• นักวิจัยเพื่อสังคม ทาหน้ าที่ “คุณอานวย” (K
Facilitator)