นโยบายและมาตรการลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม
Download
Report
Transcript นโยบายและมาตรการลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม
นโยบายและมาตรการลดความเหลือ่ มลา้ ทาง
เศรษฐกิจและสั งคม
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานคณะทางานเศรษฐกิจมหภาค การเงิน การคลัง
และ
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
1
แนวทางลดความเหลือ่ มลา้ สร้ างโอกาสทางเศรษฐกิจ
กาหนดกลุ่มเป้ าหมาย
ประชากรยากจนของประเทศรายพืน้ ที่
กระจายรายได้สู่
ประชาชนฐานรากอย่าง
เป็ นระบบ
แนวทางลด
ความเหลือ่ มลา้
สร้ างชุมชนต้ นแบบด้ านการ
พัฒนารายได้ อย่ างยัง่ ยืน
สร้ างจิตสานึกด้ านการช่ วยเหลือตนเอง
“หลุดพ้นจากวงจรความยากจน”
2
ต้ นเหตุของความเหลือ่ มลา้ ในประเทศไทย
1. มาตรการทางการคลังทีไ่ ม่ เป็ นธรรมและขาดนโยบายลดความเหลือ่ มลา้ ที่
เป็ นรูปธรรม
2. ช่ องว่ างรายได้ ระหว่ างคนจนกับคนรวยห่ างกันมากขึน้
3. การมอบเมาประชานิยมทาให้ ประชาชนกลุ่มด้ อยโอกาสไม่ สามารถ
ช่ วยเหลือตนเองได้ และไม่ สามารถแก้ปัญหาความยากจนได้ อย่ างยั่งยืน
4. การสร้ างโอกาสแก่คนฐานล่าง และการใช้ นโยบายพัฒนาใหม่ ที่เน้ นทีไ่ ม่ ใช่
การเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่ างเดียวเป็ นตัวชี้วดั
3
การกระจายรายได้ ที่เป็ นธรรมถ้ วนหน้ า
1. การกระจายรายได้ ไปยังกลุ่มประเทศด้ อยโอกาสเพือ่ ลดความเหลือ่ มลา้
ของคนในสั งคม
2. รัฐสวัสดิการและประชานิยม ทีภ่ าครัฐจัดหาจะต้ องควบคู่กบั การสร้ าง
รายได้ ที่ยั่งยืน
3. การกระจายรายได้ ภายใต้ ระบบภาษีจะต้ องพอเพียงต่ อการจัดสวัสดิการ
แก่ประชาชนได้ ยงั่ ยืน
4. การแบ่ งสรรความรับผิดชอบด้ านภาษีของกลุ่มทีไ่ ด้ รับประโยชน์ จากกลุ่ม
ทีไ่ ด้ รับประโยชน์ จกาเศรษฐกิจต้ องมีความเป็ นธรรมและเกือ้ กูลกับกลุ่ม
ด้ อยโอกาส
4
เงื่อนไขการสร้ างระบบสวัสดิการ
1.
เศรษฐกิจต้ องเติบโตด้ วยอัตราพอสมควร และเติบโตแบบทัว่ ถึง (inclusive
growth) เอกชนต้องมีส่วนร่ วมในโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
2. ปฏิรูปภาษี โดยเน้นการขยายฐานภาษี และปรับลด-ยกเลิกสิ ทธิพิเศษด้านภาษี
3. ภาคธุรกิจ-ท้ องถิ่น-ชุ มชน-ครอบครัว ต้ องมีส่วนร่ วมในการจัดการสวัสดิการบาง
ประเภทที่รัฐส่ วนกลางจัดการไม่ได้
4. ประชาธิปไตยเป็ นระบอบการปกครองที่เอือ้ ต่ อการเกิดสวัสดิการ แต่ ไม่ ได้ ประกัน
ว่ าจะเกิด “สวัสดิการทีเ่ หมาะสม” ดังนั้นต้องระมัดระวังการออกนโยบาย
สวัสดิการที่ให้แล้วเอาคืนไม่ได้
5. ต้ องมีองค์ กรทาหน้ าที่กากับดูแล (regulator) ให้เกิดหลักประกันด้านสวัสดิการที่
เท่าเทียมและยัง่ ยืน ตัดทอนรายจ่ายที่ไม่จาเป็ น
5
(ที่มา : TDRI)
การสร้ างโอกาสแก่ คนฐานล่ าง
1. การแยกแยะกลุ่มด้ อยโอกาสให้ ชัดเจน โดยแบ่ งเป็ นคลัสเตอร์ เช่ น กลุ่มใช้ แรงงาน
กลุ่มภาคเกษตร, กลุ่มธุรกิจขนาดเล็ก, กลุ่มไม่ สามารถช่ วยเหลือตนเองได้ แบบ
ถาวร เปิ ดโอกาสให้ คนฐานล่างเข้ าถึงทรัพยากร และสามารถใช้ ทรัพยากรชนิด
ต่ างๆ
2. มีกลไกให้ กลุ่มชนด้ อยโอกาสสามารถพัฒนาตัวเองและรายได้ ขนึ้ เป็ นคนชั้นกลาง
3. มีระบบการสร้ างโอกาสที่ให้ ประชาชนฐานรากสามารถเข้ าถึง เช่ น โอกาสในการ
เข้ าถึงการศึกษา โอกาสเข้ าถึงงานทีด่ มี ีความมัน่ คง โอกาสสาหรับธุรกิจขนาดเล็ก
และกลาง รวมถึงโอกาสในการเข้ าถึงทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทีด่ นิ ทากิน
6
การสร้ างโอกาสให้ คนฐานล่ างยังไม่ ประสบความสาเร็จ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
คนฐานล่ างที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย ยังเข้ าไม่ ถึงความช่ วยเหลือของรัฐ แต่คนที่ได้รับความช่วยเหลือจริ งๆ
กลับไม่ใช่กลุ่มคนที่ควรจะได้ เช่น ที่ดิน สปก. กลับตกอยูใ่ นมือคนรวย หรื อ การงดเว้นภาษีของ BOI
กลับตกไปไม่ถึงธุรกิจขนาดเล็ก-กลาง
นโยบายสร้ างโอกาสหลายข้ อมีหลักเกณฑ์ หละหลวม จนกลายเป็ นผลเสี ยต่อกระบวนการเสี ยเอง เช่น
สิ นเชื่อพิเศษ SME ส่ วนใหญ่กลายเป็ นหนี้เสี ย
“คุณภาพ” ของความช่ วยเหลือยังไม่ ดพี อ เช่น ที่ดินที่จดั สรรให้กลับไม่เหมาะต่อการเกษตร หรื อ
คุณภาพการศึกษาในชนบทยังแย่
การช่ วยเหลือจากรัฐไม่ ได้ แก้ ต้นตอของปัญหา เช่น ข้อจากัดของกฎหมายการเช่าที่ดินและการเก็งกาไร
ที่ดิน ทาให้ที่ดินจานวนมากยังไม่ถกู ใช้ประโยชน์ให้เหมาะกับสภาพที่ดิน
อาชีพที่ดี มีความมั่นคง บางอาชีพยังเป็ นอาชีพสงวนไว้ เฉพาะผู้มีการศึกษาสู งเท่ านั้น ส่ วนงานแรงงาน
อิสระ และภาคเกษตร ยังเป็ นงานหนัก ค่าจ้างต่า ไม่ได้รับความคุม้ ครองจากกฎหมายแรงงาน
กลไกและกระบวนการของรัฐเองที่ยงั ขาดความยุตธิ รรม
หลักการตีความที่ยดึ ติดกับตัวบทกฎหมายและผลประโยชน์ ของหน่ วยงานรัฐ แต่ไม่สนใจประโยชน์ของ
ชาวบ้าน ในขณะเดียวกันกลับปล่อยให้ผมู ้ ีอิทธิ พลเข้าถึงโอกาส
7
END
8