Transcript ดิน - th
จุดประสงคการเรี
ยนรู้
์
1. อธิบายองคประกอบของดิ
น
์
ได้
2. จาแนกประเภทของดินได้
3. บอกประโยชนของดิ
นได้
์
ดิน
ดิน เป็ นทรัพยากรธรรมชาติทใี่ ห้
ประโยชนและมี
ความสาคัญตอการด
ารงชีวต
ิ ของ
์
่
มนุ ษย ์ สั ตว ์ และพืช เพราะสิ่ งมีชว
ี ต
ิ ทุกชนิด
ลวนต
องอาศั
ยอยูบนดิ
น ดินแตละแหล
งมี
้
้
่
่
่
ลักษณะแตกตางกั
น
่
ส่วนประกอบของดิน
ดิน มีส่วนประกอบของซากพืชซากสั ตว ์
ทีเ่ น่าเปื่ อยผุพงั ทับถมกันอยู่ เช่น ใบไม้ กิง่ ไม้
ซากแมลง ซากสั ตวที
่ าย ก๊าซออกซิเจน แร่
์ ต
ธาตุตางๆ
กรวด ทราย และน้าในสั ดส่วนที่
่
ตางกั
น จึงเป็ นสาเหตุให้ดินแตละแหล
งมี
ิ ี่
่
่
่ สมบัตท
แตกตางกั
น
่
ส่วนประกอบของดิน
ภาพแสดง ส่วนประกอบของดิน
:http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Soil_Rock.htm
สมบัตข
ิ องดิน
ดินเป็ นสิ่ งแวดลอมที
เ่ กิดขึน
้ ตามธรรมชาติ
้
เกิดจากหินและแรที
่ ตกหักสลายตัวดวย
่ แ
้
กระบวนการผุพงั รวมกับซากพืชซากสั ตว ์ น้า
และอากาศ ประกอบดวยส
้
่ วนทีเ่ ป็ นของแข็ง
ของเหลว และก๊าซ ดินแตละแห
งจะมี
ลก
ั ษณะ
่
่
และสมบัตแ
ิ ตกตางกั
นขึน
้ อยูกั
่
่ บปริมาณ
ส่วนประกอบของดิน ทาให้ดินมีเนื้อดิน สี
ของดิน และปริมาณแรธาตุ
แตกตางกั
น
่
่
ชัน
้ ของดิน
ภาพแสดง ชัน
้ ของดิน
ทีม
่ า : http://mordin.ldd.go.th/nana/webldd/soil/page01.htm
ดินเหนียว(Clay)
เป็ นดินทีม
่ เี นื้อละเอียด ในสภาพดินแห้ง
จะแตกออกเป็ นกอนแข็
งมาก เมือ
่ เปี ยกน้าแลว
้
้
จะมีความยืดหยุน
อ
่ สามารถปั้นเป็ นกอนหรื
้
คลึงเป็ นเส้นยาวได้ เหนียวเหนอะหนะติดมือ
เป็ นดินทีม
่ ก
ี ารระบายน้าและอากาศไมดี
่ แต่
่ นธาตุ
สามารถอุมน
้ ้า ดูดยึด และแลกเปลีย
อาหารพืชไดดี
่ ะใช้ทานาปลูกข้าว
้ เหมาะทีจ
เพราะเก็บน้าไดนาน
้
ดินเหนียว(Clay)
ภาพแสดง ลักษณะดินเหนียว
ทีม
่ า : http://pirun.ku.ac.th/~b5310703306/p4.html
ดินรวน
(Loam)
่
เป็ นดินทีเ่ นื้อดินคอนข
าง
ละเอียดนุ่ มมือ
่
้
ในสภาพดินแห้งจะจับกันเป็ นกอนแข็
ง
้
พอประมาณ ในสภาพดินชืน
้ จะยืดหยุนได
บ
่
้ าง
้
เมือ
่ สั มผัสหรือคลึงดินจะรูสึ้ กนุ่ มมือแตอาจจะ
่
รูสึ้ กสากมืออยูบ
ก น้อย เมือ
่ กาดินให้
่ างเล็
้
แน่นในฝ่ามือแลวคลายมื
อออก ดินจะจับกัน
้
เป็ นกอนไม
แตกออกจากกั
น เป็ นดินทีม
่ ก
ี าร
้
่
ระบายน้าไดดี
่ ี
้ ปานกลาง จัดเป็ นเนื้อดินทีม
ความเหมาะสมสาหรับการเพาะปลูก
ดินรวน
(Loam)
่
ภาพแสดง ลักษณะดินรวน
่
ทีม
่ า : http://pirun.ku.ac.th/~b5310703306/p4.html
ดินทราย (Sand)
เป็ นดินทีม
่ อ
ี นุ ภาคขนาดทราย เป็ น
องคประกอบอยู
มากกว
าร
85 เนื้อดินมี
์
่
่ อยละ
้
การเกาะตัวกันหลวมๆ มองเห็ นเป็ นเม็ดเดีย
่ วๆ
ได้ ถาสั
่ ยูในสภาพแห
้ มผัสดินทีอ
่
้งจะรูสึ้ กสาก
มือ
ดินทราย เป็ นดินทีม
่ ก
ี ารระบายน้าและ
อากาศดีมาก แตมี
่ ความสามารถในการอุมน
้ ้า
ตา่ มีความอุดมสมบูรณต
์ า่ เพราะความสามารถ
ในการดูดยึดธาตุอาหารพืชมีน้อย พืชทีข
่ น
ึ้ บน
ดินทรายจึงมักขาดทัง้ ธาตุอาหารและน้า
ดินทราย (Sand)
ภาพแสดง ลักษณะดินทราย
ทีม
่ า :
http://pirun.ku.ac.th/~b5310703306/p4.ht
ประโยชนของดิ
น
์
1. นามาใช้ประโยชนในการเพาะปลู
ก
์
2. เป็ นวัตถุดบ
ิ ในการผลิตผลิตภัณฑอื
่ ๆ
์ น
เช่น เครือ
่ งปั้นดินเผาตางๆ
่
3. เป็ นแหลงกั
่ กเก็บน้า
4. เป็ นแหลงอาหารของจุ
ลน
ิ ทรียที
่ าหน้าที่
่
์ ท
ยอยสลายซากพื
ช
่
ซากสั ตวให
์ ้กลายเป็ นฮิวมัส ซึง่ เป็ น
แหลงอาหารของพื
ช
่
เอกสารอางอิ
ง
้
http
://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Soil
_Rock.htm
http://www.myfirstbrain.com
http://mordin.ldd.go.th/nana/webldd/soil/page01.htm
http://pirun.ku.ac.th/~b5310703306/p4.html
พืน
้ หลัง PPT : มหาวิทยลัยธุรกิจบัณทิตย ์
ผู้จัดทา
ครูนุชนารถ
เมืองกรุง
โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
อ. เมือง
จ. พะเยา
[email protected]