เธขเธด - คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Download Report

Transcript เธขเธด - คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ยินดีต้อนรับสู่ ศูนย์ วจิ ัยและพัฒนาความเป็ นเลิศทาง
วิทยาศาสตร์ การออกกาลังกายและการกีฬา
(Sport Science Excellent Center: SSEC)
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพและการกีฬา
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สถานที่
ติดต่ อ
พืน้ ทีม่ อเก่า ฝังเดียวกับโรงเรียนสาธิตฝ่ ายประถม
หลังคณะสั ตว์ ศาสตร์
ข้ างสนามกีฬา(ตะกร้ อ วอลเล่ย์บอล เทนนิส)
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพและการกีฬา อาคารพลศึกษา ตาบลขามเรียง
อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทร. 0-4375-4440
เบอร์ โทร ภายใน 2038
ภูมิทศั น์รอบอาคาร
วิสัยทัศน์ และพันธกิจ
วิสัยทัศน์
• เป็ นแหล่งพัฒนาการเรี ยนการสอน ภาคปฏิบตั ิการและการวิจยั ของ
อาจารย์และนิสิต ปริ ญญาตรี โท และเอก รวมถึงเป็ นแหล่งรวมองค์
ความรู ้ดา้ นวิทยาศาสตร์สุขภาพและการกีฬาและ การให้บริ การด้าน
การออกกาลังกายเพื่อสุ ขภาพและสมรรถภาพทางกายแก่นิสิต บุคลกร
ภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และบุคลากรภายนอก ประชาชน
ทัว่ ไป
วิสัยทัศน์ และพันธกิจ
พันธกิจ
• วิจยั และสร้างองค์ความรู ้ใหม่เกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ สุขภาพและการกีฬา
• จัดการเรี ยนการสอน และเผยแพร่
ความรู ้รูปแบบต่างๆ เช่น จัดอบรม
• เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข่าวสาร ของ
สัมมนา ประชุม เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
ภาควิชาฯ และศูนย์ รวมถึงผลงานวิจยั
สุ ขภาพและการกีฬา
องค์ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์สุขภาพ
และการกีฬา
• เป็ นหน่วยบริ การด้านการออกกาลัง
กายเพื่อสุ ขภาพและสมรรถภาพทาง • อนุรักษ์ ทานุบารุ ง พัฒนาและเผยแพร่
กาย ทดสอบสมรรถภาพทางกายและ
ศิลปวัฒนธรรมด้วยความรู้ดา้ น
สมรรถนะทางการกีฬา ออกกาลังกาย
วิทยาศาสตร์ การกีฬา
เพื่อการฟื้ นฟูและบาบัดหลังการ
• สร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ดา้ น
บาดเจ็บจากการออกกาลังกายและเล่น
วิทยาศาสตร์ สุขภาพและการกีฬา
กีฬา
วัตถุประสงค์
• พัฒนาการเรี ยนการสอน การเผยแพร่ ความรู ้ในรู ปแบบต่างๆ ด้าน
วิทยาศาสตร์สุขภาพและการกีฬาให้แก่นิสิต บุคลากรในมหาวิทยาลัย
และบุคคลทัว่ ไป
• เป็ นหน่วยงานให้บริ การและคาปรึ กษาเกี่ยวกับการส่ งเสริ มและ
เสริ มสร้างสุ ขภาพ สมรรถภาพทางกาย และสมรรถนะทางการกีฬา
• เป็ นหน่วยงานหลักในการวิจยั และพัฒนาองค์ความรู ้ดา้ นวิทยาศาสตร์
การกีฬาที่เป็ นประโยชน์แก่นิสิตนักศึกษา บุคลากร และหน่วยงาน
เครื อข่ายที่สนใจ
• พัฒนาและส่ งเสริ มกีฬาไทยสู่สากลด้วยความรู ้ดา้ นวิทยาศาสตร์การกีฬา
เป้าหมาย
• มีการเรี ยนการสอน และการเผยแพร่ ความรู ้ที่ทนั สมัย สามารถนาไป
ปฏิบตั ิใช้ได้จริ ง
• สามารถให้บริ การและคาแนะนาได้ ครอบคลุม ถูกต้องตามหลัก
วิทยาศาสตร์สุขภาพและการกีฬา สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
• หน่วยงานเครื อข่ายสามารนางานวิจยั ไปประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนา
งานวิจยั อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
• สามารถนาหลักวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาและส่ งเสริ มกีฬาไทย
ศูนย์ ฯ ได้ แบ่ งเป็ นหน่ วยย่ อย 7 หน่ วย
• หน่วยออกกาลังกายและพัฒนา
สมรรถภาพ (Exercise and Physical
Fitness Development Unit)
• หน่วยทดสอบสมรรถภาพทางกาย
และสมรรถนะทางการกีฬา (Physical
Fitness and Sport Performance Test
Unit)
• หน่วยออกกาลังกายเพื่อการฟื้ นฟูและ
บาบัดการบาดเจ็บจากการออกกาลัง
กายและเล่นกีฬา (Exercise and Sport
Injuries Rehabilitation Unit)
• หน่วยฐานข้อมูลภาควิชาวิทยาศาสตร์
สุ ขภาพและการกีฬา (Health and Sport
Science Department Data Based Unit)
• หน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ การออกกาลังกาย
และกีฬา (Exercise and Sport Science
Research Unit)
• หน่วยวารสารวิทยาศาสตร์ การกีฬา
(Sport Science Journal Unit)
• หน่วยการส่ งเสริ มศิลปวัฒนธรรมสู่
สากล (Art and Cultural to International
Promoting Unit)
ยินดีต้อนรับสู่ แหล่ งเรียนรู้และการบริการ
ห้ องออกกาลังกายและพัฒนาสมรรถภาพ
ห้ องออกกาลังกายและพัฒนาสมรรถภาพ
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Back Extension
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Decline Bench
Decline Crunch / Sit-Up
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Leg Curl Machine
Leg Curl
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Leg Press Machine
Leg Press
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Lateral Pulldown (Lat Pulldown)
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Machine Dead Lift (Also Bench Press)
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Pectoral Fly (Pec Fly)
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Machine Overhead Press
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Tricep Dip
Knee Raise
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Machine Bench Press
Machine Squat
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Leg Extension
Tricep Pulldown
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Pull Up
(Also Wide-Grip Pull Up)
Seated Row
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Ski Machine
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Exercise Bike
อุปกรณ์ การออกกาลังกาย
Treadmill
หน่ วยออกกาลังกายเพือ่ การฟื้ นฟูและบาบัดการบาดเจ็บจาก
การออกกาลังกายและเล่ นกีฬา
รักษาด้ วยเครื่องมือกายภาพบาบัดด้ วยนักกายภาพบาบัด
*ประโยชน์ : สามารถใช้ ลดอาการปวด
แผ่ นเก็บความร้ อน (Hot pack) เพิม่ ความยืดหยุ่นและการไหลเวียนของ
เป็ นอุปกรณ์ แผ่ นเก็บความร้ อนเป็ นถุงผ้ าซึ่ง เนือ้ เยือ่ กล้ามเนือ้ หรือใช้ ในกรณีทมี่ ีการ
สามารถนาความร้ อนได้ ดี
ยึดติดของข้ อต่ อก่ อนการดัด การนวด
เพือ่ เพิม่ ช่ วงการเคลือ่ นไหว
*วิธีการใช้ : โดยใช้ ผ้าขนหนูห่อแผ่ น
ประคบร้ อน 6-8 แผ่น แล้วประคบ
ประมาณ 20 นาที หลังการใช้ งานเสร็จ
แล้ว แผ่นประคบร้ อนต้ องเก็บไว้ ใน
หม้ อต้ มแผ่น (Hydrocollter) ทีป่ รับ
อุณหภูมไิ ด้ ตลอดเวลาเพือ่ ให้ แผ่ นร้ อนมี
อุณหภูมติ ามความต้ องการทีเ่ หมาะสม
Ultrasound therapy
(การรักษาด้ วยคลืน่ อัลตร้ าซาวด์ )
เป็ นเครื่องรักษาด้ วยคลืน่ เสี ยงความถี่สูง ที่
ให้ ผลความร้ อนในลักษณะความร้ อนลึก
*ประโยชน์ : ลดอาการปวด ลดการอักเสบ
ของเนือ้ เยือ่ เพิม่ ความยืดหยุ่นของข้ อต่ อ
ในชั้นลึก ลดอาการบวมและช่ วยเร่ งการ
ซ่ อมแซมเนือ้ เยือ่ รวมทั้งคลายการเกร็งตัว
ของกล้ามเนือ้
*วิธีการใช้ : เช็ดทาความสะอาดบริเวณ
รักษาด้ วยแอลกอฮอล์ ใช้ เจลทาพอ
ประมาณ ระยะเวลาในการรักษา ขึน้ อยู่
กับขนาดของพยาธิสภาพ ขณะหมุน
หัวอัลตร้ าซาวด์ ต้องให้ สัมผัสผิวตลอด
การรักษา หมุนด้ วยวงกลมด้ วยความเร็ว
สมา่ เสมอ ขณะรับการรักษา
เครื่องดึงหลัง และดึงคอ (Lumbar & cervical traction)
เป็ นอุปกรณ์ ดงึ คอและหลังแบบอัตโนมัติ เพือ่ ใช้ บาบัดรักษาโรคทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
หมอนรองกระดูกสั นหลัง ข้ อต่ อหลัง กล้ ามเนือ้ หลัง และกระดูกหลัง ทีใ่ ช้ รักษาผู้ป่วยทีม่ ี
ความเสื่ อมหรือมีความผิดปกติของกระดูกสั นหลังใน ระดับคอและหลัง ยกเว้ นผู้ป่วยทีม่ ี
ภาวะกระดูกสั นหลังหัก
• ประโยชน์ : เพือ่ ลดการกดทับ
เส้ นประสาท หรือเพิม่ การเคลือ่ นไหว
ของกระดูกสั นหลัง
• วิธีการใช้ : ระยะเวลาในการดึงหลังหรือ
คอประมาณ 10 -20 นาที โดยนัก
กายภาพบาบัดเป็ นผู้กาหนดท่ าดึงและ
นา้ หนักทีใ่ ช้ ในการดึง
เครื่องให้ การรักษาด้ วยไฟฟ้าชนิดคลืน่ สั้ น
(Short wave diathermy)
เป็ นเครื่องทีใ่ ห้ ความร้ อนลักษณะเป็ นคลืน่ สั้ น รักษากล้ามเนือ้ มัดลึก และข้ อต่ อ
• ประโยชน์ : เพือ่ ลดปวดของกล้ ามเนือ้ และเพิม่
ความยืดหยุ่นของข้ อต่ อในชั้นลึกร่ วมถึงเพิม่
การไหลเวียนเลือด มาเลีย้ งบริเวณทีม่ พี ยาธิ
สภาพ
• วิธีการใช้ : ใช้ ระยะเวลาในการรักษา 20 – 30
นาที แต่ ไม่ สามารถใช้ ในผู้ป่วยทีใ่ ช้
เครื่องกระตุ้นการทางานของหัวใจ เนื่องจาก
จะรบกวนการทางานของเครื่องกระตุ้นได้ หรือ
ผู้ป่วยทีใ่ ส่ เหล็กในบริเวณทีต่ ้ องการรักษา
เนื่องจากจะเกิดความร้ อนสะสมได้ (โดยนัก
กายภาพบาบัดเป็ นผู้ต้ งั ค่ าการใช้ เครื่อง)
อ่ างแช่ พาราฟิ น (Paraffin bath)
เป็ นอุปกรณ์ ทใี่ ช้ รักษาแบบความร้ อน • ประโยชน์ : เหมาะสาหรับการรักษา
ผู้ป่วยทีม่ อี าการปวดหรือมีการจากัด
ตืน้ มีลกั ษณะเป็ นหม้ อพาราฟิ นที่ควบคุม
ช่ วงการเคลือ่ นไหวของมือและเท้ า
อุณหภูมไิ ด้ ความร้ อนทีเ่ หมาะสมในการรักษา
• วิธีการใช้ : ให้ ผ้ ปู ่ วยทาความสะอาด
ผู้ป่วยประมาณ 50 – 58 องศาเซลเซียส
มือหรือเท้ าให้ สะอาด เช็ดให้ แห้ ง จุ่ม
มือในตัวขีผ้ งึ้ แล้วยกขึน้ รอให้ เริ่มแข็ง
เป็ นแผ่น film แล้ วจึงจุ่มใหม่ ทาซ้า
เรื่อยๆ จนขีผ้ งึ้ หนาพอควรใช้
ถุงพลาสติกคุ้มอีกครั้งและห่ อด้ วย
ผ้ าขนหนูเพือ่ รักษาความร้ อน เมือ่
ความร้ อนลดลงให้ ลอกออกใส่ ในหม้ อ
เช่ นเดิม