ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

วิชาบาติก
กลมุ่ สาระการเรียนรศ้ ู ิลปะ
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
เรือ่ ง การทาผ้าบาติก
อาจารย์อุษา มากอินทร์
โรงเรียนน้ารอบวิทยา
อาเภอพุนพิน จังหวัดส ุราษฎร์ธานี
สพม.11
จุดประสงค์การเรียนร ้ ู
1. นักเรียนบอกประวัติของผ้ าบาติกได้
2. นักเรียนบอกอุปกรณ์ ทใี่ ช้ ทาผ้ าบาติกได้
3. นักเรียนสามารถทาผ้ าบาติกได้
ประวัติของผ้าบาติก
การทาผ้ าบาติกส่ วนมากจะทาเป็ นเครื่องนุ่งห่ ม หรือจะ
ทาเป็ นของใช้ อนื่ ๆ ก็มีบ้าง แหล่ งที่ทาผ้ าบาติกจะพบทางแถบ
เอเชียทั้งตะวันออกและเอเชียใต้ เช่ น อินเดีย อินโดนีเซีย
มาเลเซีย สิ งคโปร์ น้ัน ได้ ชื่อว่ าเป็ นการทาผ้ าบาติกแบบดั้งเดิม
(Thue Batik) คือ การใช้ ขผี้ งึ้ (Wax) เป็ นตัวกันสี ทา
ให้ เกิดลวดลายเมื่อนาไปย้ อม
อุปกรณ์การทาผ้าบาติก
ผ้า
ผ้าที่เหมาะที่จะทาผ้าบาติกนัน้ จะทาจากใยธรรมชาติ
เพราะง่ายต่อการติดสี ผ้าที่ใช้สว่ นใหญ่จะเป็นผ้าเนื้อบาง เช่น
มัสลิน ไหมไทย ไหมจีน ไหมญี่ป่ นุ ผ้าชีฟอง ผ้าฝ้าย ผ้าป่าน ผ้า
เมมเบิด เสื้อยืดจากฝ้าย(cotton) ก่อนลงมือทาให้นาผ้ามา
ซักเสียก่อน ถ้าเป็นผ้าไหมให้ตม้ ด้วยน้าสบู่ประมาณ 5-10
นาที แล้วซักให้สะอาด เพราะว่าต้องการให้สารเคมีเคลือบนัน้
หล ุดออกจากเส้นใยผ้า ถ้าต้องการทราบว่าผ้าชนิดใดติดสีดี
หรือไม่ ให้เอาเศษผ้ามาเผาด้วยไฟด ู ถ้าล ุกโชนเหมือนเผา
กระดาษก็ใช้ได้ ถ้าเผาไฟด ูแล้วไหม้ไฟแบบเผาพลาสติกผ้า
ชนิดนัน้ ใช้ไม้ได้
สี
สีสาหรับทาผ้าบาติกด้วยวิธีระบายสี
นั้น เป็ นสีผงเคมี การละลายสีให้ละลายด้วย
น้ าร้อน เพราะต้องการให้สารเคมีที่ผสมในสี
นั้นสุกหรือละลายจนหมด เมื่อลงบนผ้าจะทา
ให้สีเกาะทนนาน อัตราส่วนผสมเนื้อสีกบั น้ า
ร้อน 10 กรัม ต่อน้ า 300 ซีซี การละลายน้ า
ร้อนให้เข้มไว้ก่อน เมื่อต้องการสีอ่อนค่อยแบ่ง
ใส่ภาชนะ เช่น ขวดพลาสติก แล้วเติมน้ า
ธรรมดาลงไป ก็จะได้สีอ่อนลงไปเอง
ขีผ้ งึ้ (Bee Wax) และพาราฟิ น (Paraffin)
ขี้ผึ้งสาหรับทาผ้าบาติก จะมีสว่ นผสม ระหว่างขี้ผึ้ง
1 ส่วน ต่อพาราฟิ น 3-5 ส่วน ใส่ลงในภาชนะต้ม เทียน
ตัง้ ไฟให้รอ้ นและละลายเข้ากัน ขี้ผึ้งหรือเทียนที่ผสมแล้ว
นั้นไว้สาหรับเขียนเส้นเป็ นลวดลาย
ภาชนะต้มเทียนและเตาไฟฟ้าต้มเทียน
ภาชนะที่ใช้ควรเป็นภาชนะ
ที่มีห ูจับ เพราะสะดวกในการ
ยกขึ้น-ลงขณะวางบนเตา จะ
เป็นภาชนะเคลือบหรือแสตนเลส
อะล ูมิเนียมก็ได้ เตาไฟฟ้าจะใช้แบบใดก็ได้ ห้ามใช้เตา
แก๊สเป็นอันขาด เพราะเปลวไฟกับเทียนเป็นอันตราย
ถ้าไม่มีไฟฟ้าก็ใช้เตาถ่านก็ได้
กรอบสาหรับขึงผ้ า
กรอบสาหรับขึงผ้าเดิมทีทาด้ วยไม้
แต่ ปัจจุบันไม้ ราคาแพงจึงดัดแปลงมาใช้
กรอบเหล็กแทน ก่อนขึงผ้าจะใช้ แทนทาบนข
อบให้ หนาๆ และทัว่ ถึง
สารกันสี ตก
สารกันสี ตก(Fixing Agent) ทีใ่ ช้ กนั คือ
โซเดียม ซิลเิ กต(Sodium Silicate) มีลกั ษณะ
เป็ นของเหลวสี ข่ ุนข้ นคล้ ายกาวเหลวทีใ่ ช้ ตดิ กระดาษ ใช้
โซเดียม ซิลเิ กตมาหรือนาผ้าที่ระบายสี แล้ วลงแช่ ในถ้ วย
โซเดียม เพือ่ กันสี ตก
ซานติ้ง (Canting)
มีลกั ษณะปลายแหลมคล้ายปากกาทาด้วย
ทองเหลืองสองซีกประกบกัน มีรอยโก่งตรงกลาง
เล็กน้อย ตม้ ุ กลมๆ พันด้วยด้ายว่าวมีดา้ มไม้ ใช้
สาหรับเขียนเทียน
ขัน้ ตอนการทาผ้าบาติก
ขั้นที่ 1. การเตรียมลวดลาย โดยออกแบบไว้ ในกระดาษ
ขั้นที่ 2 การลอกลายลงบนผืนผ้า
ขั้นที่ 3 การขึงผ้าบนขอบทีเ่ ตรียมไว้
ขั้นที่ 4 การเขียนเส้ นเทียนด้ วย Canting บนลวดลายทีล่ อกลงไว้ บนผ้ า
ขั้นที่ 5 การปฏิบัติการระบายสี
ขั้นที่ 6 การใช้ โซเดียมซิลเิ กต ทาเพือ่ กันสี ตก
เอาหละ! ครูว่าเรามาทาแบบทดสอบ
กันดีกว่านะค่ะ
ชานติ้งเป็นปากกาเขียนเทียน
ถูก
ผิด
ซิลิเกตมีไว้ทำอะไร
ผสมสี ให้มีควำมเข้ม
ผสมเทียนขี้ผ้ งึ
ทำผ้ำกันสี ตก
ผสมน้ ำสำหรับซักผ้ำ
Timer
อุปกรณ์ ใดบ้ างทีเ่ ป็ นอุปกรณ์ ในการทาบาติก
<Keypad will appear here based on shape
and location of this rectangle.>
1. สมุดวาดเขียน 2. ดินสอ 3. ไม้ บรรทัด 4. ผ้ามัสลิน 5. ขีผ้ งึ้
6. พาราฟี น 7. ไม้ ขึงผ้า 8. ชานติง้ 9. สี ผงเคมี 10. สี นา้
ให้ นักเรียนโยงเส้ นจับคู่ภาพอุปกรณ์ กบั วิธีการใช้ งานให้ ถูกต้ อง
ระบายสี
ขึงผ้ า
เขียนเทียน
ต้ มเทียนและต้ มผ้ า
กันสี ตก
ให้นกั เรียนลองช่วยกันวาดลายผ้าบาติก
ให้นกั เรียนนาภาพที่กาหนดให้มาเติมในช่องว่างให้ถ ูกต้อง
1.
2.
3.
ขั้นตอนการทาผ้ าบาติก
6.
4.
5.