อัคคีภัย - มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Download Report

Transcript อัคคีภัย - มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ความรู้เรื่องอัคคีภัย
Fire Prevention And Control
โดย นางสาวชนิดา สี หาโมก
นักอาชีวอนามัย
สานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ไฟ (Fire)
• ไฟ เป็ นพลังงานชนิ ดหนึ่ งซึ่ งก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างมหาศาล เพราะไฟ
เป็ นต้นกาเนิ ดของพลังงานต่างๆที่มนุ ษย์นาไปใช้ในชี วิตประจาวัน แต่ ”ไฟ” อาจ
ก่อให้เกิดภัยอย่างมหันต์ได้ หากขาดความรู ้หรื อขาดความระมัดระวังในการใช้และ
การควบคุม
ขอบเขตการบรรยาย
•
•
•
•
•
•
•
•
ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้
การป้องกันและระงับอัคคีภัย
วิธีใช้ เครื่องดับเพลิง
ขั้นตอนทั้ง 4 เมื่อมีไฟไหม้
บัญญัติ 10 ประการในอาคารสู ง
ใช้ แก๊สปลอดภัย 10 วิธี
หลัก 4 ต้ องป้องกันไฟกฎระเบียบทีใ่ ช้ ในชุ มชน
เหตุการณ์ กรณีศึกษาเกีย่ วกับเพลิงไหม้
องค์ ประกอบของไฟ Component of Fire
องค์ ประกอบของไฟมี 3 อย่าง คือ
การป้ องกันไฟ คือ การกาจัด
องค์ประกอบของไฟการดับไฟ คือ
1.ออกซิเจน ( Oxygen )ไม่ ต่ากว่ า 16 %
การกาจัดองค์ประกอบของ ไฟ เช่นกัน
(ในบรรยากาศ ปกติจะมีออกซิเจนอยู่ประมาณ 21 %)
2. เชื้อเพลิง ( Fuel ) ส่ วนทีเ่ ป็ นไอ (เชื้อเพลิงไม่ มีไอ ไฟไม่ ติด)
3. ความร้ อน ( Heat )เพียงพอทาให้ เกิด
การลุกไหม้
ไฟจะติดเมื่อองค์ประกอบครบ 3 อย่าง
ทาปฏิกิริยาทางเคมีต่อเนื่องเป็ นลูกโซ่
( Chain Reaction )
การป้องกันและระงับอัคคีภัย
• การป้ องกันมิให้เกิด จะเป็ นหนทางแรกที่ประชาชนทุกคน ควรเลือกปฏิบตั ิ ซึ่ งการ
ป้ องกันนั้นมีหลักอยูว่ า่
1. กาจัดสาเหตุ
2. คุมเขตลุกลาม
3. ลดความสู ญเสี ย
ป้ องกันอย่ าให้ เกิด คือสิ่งประเสริ ฐสุด ”
1). กาจัดสาเหตุ สาเหตุแห่งอัคคีภยั
1.1 ประมาท ในการใช้ เชื้อเพลิง การใช้ ความร้ อน การใช้ ไฟฟ้า
1.2 อุบัตเิ หตุ ทั้งโดยธรรมชาติ และเกิดจากมนุษย์
1.3 ติดต่ อลุกลาม การนาความร้ อน การพาความร้ อน การแผ่รังสี ความร้ อน
1.4 ลุกไหม้ ขนึ้ เอง การทาปฏิกริ ิยาทางเคมี การหมักหมม อินทรีย์สารวางเพลิง
ทั้งทางตรง และ ทางอ้อม
2). คุมเขตลุกลาม
• คุมเขตลุกลาม รีบระงับ ยับยั้งไฟ ด้ วยการทาความเข้ าใจในหลัก วิธีการดับไฟ จึงมี
อย่างน้ อย 3 วิธี คือ
1. ทาให้ อบั อากาศ ขาดออกซิเจน
2. ตัดเชื้อเพลิง กาจัดเชื้อเพลิงให้ หมดไป
3. ลดความร้ อน ทาให้ เย็นตัวลง
* และการตัดปฏิกริ ิยาลูกโซ่ *
3). ลดความสู ญเสี ย
ด้วยการ
1.สารวจตรวจตรา เช่น ตรวจสอบระบบไฟฟ้ าสม่าเสมอ
2.จัดหาเครื่ องมือ เช่น ถังดับเพลิง
3.ฝึ กปรื อผูใ้ ช้ เช่น มีการฝึ กอบรม การซ้อมอัคคีภยั
อุปกรณ์ การป้ องกันและระงับอัคคีภยั
1.1 อุปกรณ์ เตือนภัย
- เครื่ องดักจับความร้อน (Heat detectors)
- เครื่ องดักจับควัน (Smoke detectors)
- สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire alarm)
- แผงควบคุมอุปกรณ์เตือนภัย (Fire control panel) ซึ่ งต้องมีทีม
ดับเพลิงคอยตอบสนอง
1.2 อุปกรณ์ ดับเพลิงอัตโนมัติ
- หัวฉีดน้ าอัตโนมัติ (Sprinkler) ฯลฯ
1.3 อุปกรณ์ ส่องสว่ างฉุกเฉิน (Emergency light)
ระบบสั ญญาณเตือนแจ้ งเหตุ
• อุปกรณ์ ตรวจจับความร้ อน (Heat Detector)
เป็ นอุปกรณ์แจ้งอัคคีภยั รุ่ นแรกๆ มีอยูห่ ลายชนิด มีราคาถูกที่สุด และมีสญ
ั ญาณหลอกน้อยที่สุดใน
ปัจจุบนั โดยอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนที่นิยมใช้กนั ในปั จจุบนั ได้แก่
- อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิ ดจับอัตราเพิ่มของอุณหภูมิ
(Rate-of-Rise Heat Detector)
- อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจับอุณหภูมิคงที่
(Fixed Temperature Heat Detector)
- อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดรวม
(Combination Heat Detector)
อุปกรณ์ ตรวจจับควัน (Smoke Detector)
-อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดไอออนไนเซชัน่
(Ionization Smoke Detector)
- อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดโฟโต้อิเลคตริ ก(Photoelectric
Smoke Detector)
- อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดรังสี อินฟาเรด
(Beam Detector)
***ในปัจจุบนั นิยมใช้แบบ “อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดไอออนไนเซชัน่ (Ionization Smoke Detector)”
เหมาะสาหรับการตรวจจับควันในระยะเริ่ มต้น เนื่องจากมีความแม่นยามากกว่า คือสามารถเตือนภัย
ให้แก่ผคู้ นที่อาศัยอยูภ่ ายในอาคารได้เร็วและทันท่วงทีกว่า อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector)
อุปกรณ์ แจ้ งเหตุด้วยมือ
อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ดว้ ยมือ
(Manual Pull Station)
อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ดว้ ยมือ
(Break Glass Manual Call Point)
อุปกรณ์ แจ้ งเหตุด้วยเสี ยง
อุปกรณ์ที่ส่งสัญญาณแจ้งเตือน
เมื่อเกิดเพลิงไหม้ (Horns)
*** ปัจจุบนั นิยมใช้อุปกรณ์ที่ส่งสัญญาณแจ้งเตือนเมื่อเกิดไฟไหม้ (Motor Bell) ที่มีลกั ษณะเป็ นกระดิ่ง
เตือนภัยชนิดที่ใช้กบั ไฟฟ้ า มากกว่า อุปกรณ์ที่ส่งสัญญาณแจ้งเตือนเมื่อเกิดเพลิงไหม้ (Horns) ที่มี
ลักษณะเป็ นหวูดร้องเตือนชนิดที่ใช้กบั ไฟฟ้ าเช่นดียวกัน
ตู้ควบคุมสาหรับแจ้ งเหตุเพลิงไหม้
เป็ นลักษณะของตูค้ วบคุมที่คอยรับสัญญาณไฟฟ้ าจากอุปกรณ์ตรวจจับควัน
(Smoke Detector), อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector)
หรื อ อุปกรณ์แจ้งเหตุดว้ ยมือ แล้วจึงสัญญาณไฟฟ้ าไปยังอุปกรณ์แจ้งเหตุดว้ ยเสี ยง
อีกต่อหนึ่ง
ระบบดับเพลิงด้ วยน้า
สาหรับระบบนี้น้ นั สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 แบบ คือ
1.อุปกรณ์ ส่งนา้ ดับเพลิง
คือ มี ลกั ษณะเป็ นตูส้ ี แดง ด้านหน้าเป็ นกระจก ที่
สามารถเปิ ด หรื อทุบให้แตกเพื่อนาอุปกรณ์ช่วยเหลือออกมา
ได้ เ มื่ อ ยามจ าเป็ น แต่ ใ นกรณี อุ ป กรณ์ ดั บ เพลิ ง แบบนี้
กฎหมายจะบัง คับ ใช้กับ อาคารที่ สู ง เกิ น 23 เมตรขึ้ น ไป
(ประมาณตึ ก 7-8 ชั้น ) ซึ่ งโครงการของเราสู ง ไม่ เ กิ น 23
เมตร อยูแ่ ล้ว จึงไม่จาเป็ นต้องมี
2.อุปกรณ์ ดบั เพลิงด้ วยนา้ แบบอัตโนมัติ (Sprinker)
คือ มีลกั ษณะเป็ นตัวฉี ดน้ าเป็ นฝอย ไว้เมื่อกรณี ที่
มี ค วามร้ อ นภายในมากอยู่ ใ นระดั บ หนึ่ ง จนถึ ง ขั้น ที่
สามารถทาให้กระเปราะที่อยูต่ รงส่ วนปลายของ Sprinker
แตก จะทาให้น้ าพุ่งออกมาเพื่อดับไฟ และเนื่ องมาจากท่อ
ส่ งน้ ามายังหัว Sprinker นี้ มีแรงดันอัดอยูส่ ู งมาก เมื่อมีกระ
เปราะของ Sprinker หัวหนึ่งแตก หัว Sprinker อื่นๆทุกหัว
ก็จะแตกตามไปด้วย ทาให้สามารถช่วยในการดับเพลิงได้
ดีในระดับหนึ่ง
ระบบควบคมุ ควันไฟ และ การสกัดควันไฟ
การเกิดเหตุไฟไหม้ เป็ นสาเหตุหลักของการเสี ยชี วิตอาคารจึ งต้องมีระบบที่จะทา
ให้มีการชะลอการแพร่ ของควันไฟ โดยมากจะใช้การอัดอากาศลงไปในจุดที่เป็ น
ทางหนี ไฟ, โถงบันได โดยไม่ให้ควันไฟลามเข้าไปในส่ วนดังกล่าว เพิ่มระยะเวลา
การหนีออกจากอาคาร และมีการดูดควันออกจากตัวอาคารด้วย
1.4 อุปกรณ์ ช่วยชีวติ อืน่ ๆ เช่ น
– ท่อผ้าหนีไฟฉุ กเฉิ น (Chute)
– เบาะลมช่วยชีวติ (Air Cushion)
– รอกหนีไฟ (Fire Escape Device)
– หน้ากากหนีไฟ (Emergency Smoke Mask)
– หน้ากากกันควันพิษแบบมีถงั อัดอากาศ (S.C.B.A. Self Contained
Breathing Apparatus)
– บันไดลิง (Emergency Ladder) ฯลฯ
1.5 ป้ ายเตือนเพือ่ ความปลอดภัยต่ าง ๆ (Safety Sign)
– ป้ ายทางออก - ทางเข้า (Exit – Entrance) ใช้เข้า-ออกปกติ
– ป้ ายทางออกฉุกเฉิ น (Emergency Exit) ใช้เฉพาะเหตุฉุกเฉิ น เช่น หน้าต่าง,
ทางลับ, บันไดลิง
– ป้ ายทางหนีไฟ (Fire Exit) ใช้เฉพาะเวลาหนีไฟ
– ป้ ายแสดงจุดติดตั้ง
• เครื่ องดับเพลิง
• สายฉี ดน้ าดับเพลิง
• สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
• ฯลฯ
• ป้ ายบอกห้องหรื อช่องทางทั้งหมดที่มี รวมทั้งบอกทางตันด้วย
• ป้ ายแสดงพื้นที่ หรื อวัตถุอนั ตราย
 ป้ ายแสดงสิ่ งอานวยความสะดวกต่ างๆ
ได้แก่ ป้ ายบอกตาแหน่งอุปกรณ์ดบั เพลิง, ป้ ายบอกตาแหน่งชั้น และ ทางหนี ไฟ พร้อมไฟ
ฉุ กเฉิ นตั้งติดตั้งทุกชั้นของอาคารโดยเฉพาะอาคารสาธารณะที่มีความสู งตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้น
ไป หรื ออาคารที่มีพ้นื ที่รวมมากกว่า 2000 ตารางเมตร
สรุป สิ่ งจาเป็ นเกีย่ วกับระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
1.ระบบสั ญญาณเตือนเพลิงไหม้
ควรติดตั้งในอาคารสาธารณะที่มีพ้นื ที่มากกว่า
2000 ตารางเมตร ต้องติดตั้งในทุกชั้นของอาคาร
2.ส่ วนประกอบของระบบสั ญญาณเตือนเพลิงไหม้
ระบบเตือนเพลิงไหม้ประกอบด้วยอุปกรณ์ 2 ตัว คือ Detectorซึ่ งมีท้งั
แบบระบบแจ้งเหตุอตั โนมัติ และระบบแจ้งเหตุที่ใช้มือเพื่อให้กริ่ งสัญญาณ
เตือนเพลิงไหม้ทางาน ส่ วนอุปกรณ์อีกตัวหนึ่งคือเครื่ องส่ งสัญญาณเตือน
เพลิงไหม้ที่สามารถส่ งเสี ยงหรื อส่ งสัญญาณให้คนที่อยูใ่ นอาคารได้ยนิ เมื่อ
เกิดเพลิงไหม้
สรุป สิ่ งจาเป็ นเกีย่ วกับระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
3.การติดตั้งถังดับเพลิงแบบมือถือ
อาคารสาธารณะตั้งติ ด ตั้ง อย่างน้อ ย 1 เครื่ อ งทุ ก ๆ 1000
ตารางเมตร ซึ่ งแต่ละเครื่ องตั้งติดตั้งห่ างกันอย่างน้อย 45 เมตร
และต้องอยูใ่ นตาแหน่งที่มองเห็นง่าย สะดวกต่อการดูแลรักษา
4.ป้ายบอกชั้นและทางหนีไฟ
ป้ ายบอกต าแหน่ ง ชั้น ทางหนี ไ ฟพร้ อ มไฟ
ฉุ ก เฉิ น ต้อ งติ ด ตั้ง ทุ ก ชั้น ของอาคาร โดยเฉพาะ
อาคารสาธารณะที่มีความสู งตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไป ที่มี
พื้นที่มากกว่า 2000 ตารางเมตร
สรุป สิ่งจาเป็ นเกีย่ วกับระบบป้ องกันและระงับอัคคีภัย
5.ระบบจ่ ายพลังงานไฟฟ้าสารอง
อาคารสาธารณะที่มีคนอาศัยอยู่เป็ นจานวน
มาก จ าเป็ นอย่างยิ่งที่ จ ะต้อ งมี ระบบไฟฟ้ าสารอง
เช่ น แบตเตอรี่ หรื อ เครื่ อ งกาเนิ ด ไฟฟ้ าไว้สาหรั บ
กรณี ฉุกเฉิ นเมื่ อระบบไฟฟ้ าปกติ ขดั ข้อง และต้อง
สามารถจ่ า ยไฟในกรณี ฉุ ก เฉิ น ได้ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 2
ชั่ว โมง โดยเฉพาะในจุ ด ที่ มี เ ครื่ อ งหมายทางออก
ฉุ กเฉิ น บันไดหนี ไฟ ทางเดิ น และระบบสัญญาณ
เตือนเพลิงไหม้
ประเภทของไฟ Classification of Fire
 ไฟมี 4 ประเภท คือ A B C D ซึ่ งเป็ นข้อกาหนดมาตรฐานสากล
ไฟประเภท เอ มีสญ
ั ลักษณ์เป็ น รู ปตัว A สี ขาวหรื อดา อยูใ่ น
สามเหลี่ยมสี เขียว
ไฟประเภท A คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่มีลกั ษณะเป็ นของแข็ง
เชื้อเพลิงธรรมดา เช่น ฟื น ฟาง ยาง ไม้ ผ้า กระดาษ พลาสติก
หนังสติ๊ก หนังสัตว์ ปอ นุ่น ด้าย รวมทั้งตัวเราเอง
วิธีดบั ไฟประเภท A ที่ดีที่สุด คือ การลดความร้อน (Cooling)
โดยใช้น้ า
ประเภทของไฟ Classification of Fire
ไฟประเภท บี มีสัญลักษณ์เป็ นรู ปตัว B สี ขาวหรื อดา
อยูใ่ นรู ปสี่ เหลี่ยม สี แดง
ไฟประเภท B คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่มีลกั ษณะเป็ น
ของเหลวและก๊าซ เช่น น้ ามันทุกชนิด แอลกอฮอล์
ทินเนอร์ ยางมะตอย จารบีและก๊าซติดไฟทุกชนิด เป็ นต้น
วิธีดบั ไฟประเภท B ที่ดีที่สุด คือ กาจัดออกซิ เจน ทาให้อบั
อากาศโดยคลุมดับ ใช้ผงเคมีแห้ง ใช้ฟองโฟมคลุม
ประเภทของไฟ Classification of Fire
ไฟประเภท ซี มีสัญลักษณ์เป็ นรู ป C สี ขาวหรื อดา อยูใ่ น
วงกลมสี ฟ้า
ไฟประเภท C คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่มีลกั ษณะเป็ น
ของแข็งที่มีกระแสไฟฟ้ าไหลอยูเ่ ช่น อุปกรณ์ไฟฟ้ าทุก
ชนิด การอาร์ค การสปาร์ค
วิธีดบั ไฟประเภท C ที่ดีที่สุด คือ ตัดกระแสไฟฟ้ า แล้วจึงใช้
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรื อน้ ายาเหลวระเหยที่ไม่มี CFC
ไล่ออกซิเจนออกไป
ประเภทของไฟ Classification of Fire
ไฟประเภท ดี มีสัญลักษณ์เป็ นรู ปตัว D สี ขาวหรื อดา
อยูใ่ นดาว 5 แฉก สี เหลือง
ไฟประเภท D คือไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่มีลกั ษณะเป็ น
โลหะและสารเคมีติดไฟ เช่นวัตถุระเบิด,ปุ๋ ยยูเรี ย
(แอมโมเนียมไนเตรต), ผงแมกนีเซี ยม ฯลฯ
วิธีดบั ไฟประเภท D ที่ดีที่สุด คือ การทาให้อบั
อากาศ หรื อใช้สารเคมีเฉพาะ
(ห้ ามใช้ นา้ เป็ นอันขาด) ซึ่ งต้ องศึกษาหาข้ อมูล
แต่ ละชนิดของสาร เคมีหรื อโลหะนั้นๆ
เครื่องดับเพลิงแบบมือ Portable Fire Extinguishers
• เครื่ องดับเพลิงแบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher) หรื ออาจ
เรี ยกว่าแบบยกหิ้ ว มีประโยชน์ในการระงับไฟเบื้องต้น ไม่ควรฉี ดถ้าไม่เห็นแสงไฟ
เครื่ องดับเพลิงมีมากกว่า 20 ชนิด แต่ควรรู ้เป็ นหลัก 6 ชนิด คือ
เครื่องดับเพลิงแบบมือ Portable Fire Extinguishers
1. เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ ง
( Dry Chemical Powder )
ใช้ ดบั ไฟได้ ดคี อื
ไฟประเภท B ผงเคมีไม่เป็ นสื่ อไฟฟ้ า
ถั ง ดั บ เพลิ ง ชนิ ด ผงเคมี แ ห้ ง บรรจุ ถั ง สี แ ดง ภายใน ไฟประเภท C ดับไฟได้(แต่อุปกรณ์ไฟฟ้ าอาจเสียหาย)
บรรจุผงเคมีแห้ งและก๊ าซไนโตรเจน ลักษณะน้ายาที่ฉีด ไฟประเภท A ต้องมีความชานาญและควรใช้น้ าดับถ่าน
ออกมาเป็ นฝุ่ นละอองสามารถดับเพลิงไหม้ ทุกชนิดได้
อย่ างรวดเร็ ว และมีประสิ ทธิ ภาพสู ง เช่ น เพลิงไหม้ ที่
เกิ ด จากไม้ กระดาษ สิ่ ง ทอ ยาง น้ า มั น แก๊ ส และ
เครื่องใช้ ไฟฟ้ าต่ างๆ ไม่ เป็ นอันตรายต่ อมนุษย์ และ
สิ่ งมีชีวติ ทุกประเภท
เหมาะสาหรับ ใช้ ในทีโ่ ล่ งแจ้ ง บ้ าน อาคารขนาดใหญ่
โรงงานอุตสาหกรรมโรงเรียน
2. ถังดับเพลิงชนิด BF 2000
• บรรจุ ถงั สี เขี ยว น้ ายาเป็ นสารเหลวระเหยชนิ ด
BF 2000 (FE 36) ได้รับการยอมรับว่าไม่ส่งผล
กระทบต่อสิ่ งแวดล้อม สามารถใช้ได้กบั ไฟชนิด
A B และ C , BF 2000 (FE 36) ไม่แสดงปฎิกิริยา
กับ วัส ดุ ก่ อ สร้ า งโดยทั่ว ไป เช่ น อลู มิ นั่ม สตี ล
ทองแดง ในระดับอุณหภูมิปกติ เครื่ องดับเพลิง
ชนิ ด BF 2000 ลักษณะการฉี ดออกเป็ นแก๊ส
เหลวระเหย น้ ายาชนิ ดนี้ ไม่ทิ้งคราบสกปรก ไม่
ท าลายสิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ หลัง การดับ เพลิ ง และ
สามารถใช้ได้หลายครั้ง
• เหมาะสาหรั บ ที่ ใช้อุ ปกรณ์ คอมพิ วเตอร์ และ
อุปกรณ์สื่อสาร ในอุตสาหกรรม อิเลคโทรนิ กส์
เรื อ เครื่ องบิน และรถถัง
เครื่องดับเพลิงแบบมือ Portable Fire Extinguishers
3. เครื่องดับเพลิงชนิดฟองโฟม ( Foam )
• ( นิยมบรรจุในถังอลูมิเนียมสี ครี มหรื อถังสแตน
เลส มีหวั ฉี ดเป็ นหัวฝักบัว )บรรจุอยูใ่ นถังที่มีน้ ายา
โฟมผสมกับน้ าแล้วอัดแรงดันเข้าไว้
( นิยมใช้โฟม AFFF )
• เวลาใช้ ถอดสลักและบีบคันบีบแรงดันจะดันน้ า
ผสมกับโฟมผ่านหัวฉี ดฝักบัว พ่นออกมาเป็ นฟอง
กระจายไปปกคลุมบริ เวณที่เกิดไฟไหม้ ทาให้อบั
อากาศขาดออกซิ เจน และลดความร้อน
ใช้ดบั ไฟประเภท A และB
เครื่องดับเพลิงแบบมือ Portable Fire Extinguishers
4. เครื่องดับเพลิงชนิดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ หรือ CO2 (Carbondioxide)
•บรรจุ ถ ัง สี แดง น้ ายาดั บ เพลิ ง เป็ นน้ าแข็ ง แห้ ง
ที่บรรจุไว้ในถัง ที่ทนแรงดันสู ง ประมาณ 1800 PSI
ต่ อ ตารางนิ้ ว ที่ ป ลายสายฉี ด จะมี ล ั ก ษณะเป็ น
กระบอกหรื อกรวย เวลาฉี ด ลักษณะน้ ายาที่ ออกมา
จะเป็ นหมอกหิ ม ะ ที่ ไ ล่ ค วามร้ อ น และออกซิ เ จน
สามารถใช้กบั ไฟชนิ ด B C
•เหมาะส าหรั บ ใช้ภายในอาคาร ไฟที่ เกิ ด จากแก๊ ส
น้ ามัน และไฟฟ้ า เครื่ องดับเพลิ งชนิ ด CO2 มี หลาย
ขนาดให้ท่านเลือกใช้ ได้ตามความต้องการ ตั้งแต่ 5
ปอนด์ 10 ปอนด์ และ 15 ปอนด์
ใช้ดบั ไฟประเภท B และ C
เครื่องดับเพลิงแบบมือ Portable Fire Extinguishers
5. ถังดับเพลิงชนิดนา้ ยาเหลวระเหย บีซีเอฟ ฮาลอน1211
•บรรจุ ถั ง สี เหลื อง ใช้ ดั บ เพลิ งได้ ดี โด ย
คุณสมบัติของสารเคมีคือ มีความเย็นจัด และมี
ประสิ ทธิ ภาพ ทาลายออกซิ เจนที่ ทาให้ ติดไฟ
น้ ายาชนิ ด นี้ ไม่ ทิ้ ง คราบสกปรก หลัง การ
ดับเพลิงและสามารถใช้ได้หลายครั้ง
•เหมาะส าหรั บ ใช้ กับ สถานที่ ที่ ใ ช้อุ ป กรณ์
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ สื่ อ ส า ร ใ น
อุ ต สาหกรรม อิ เ ลคโทรนิ ก ส์ เรื อ เครื่ อ งบิ น
และรถถัง ข้อเสี ยของน้ ายาดับเพลิงชนิ ดนี้ คือ มี
สาร CFC ที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
เครื่องดับเพลิงแบบมือ Portable Fire Extinguishers
6. เครื่องดับเพลิงชนิดนา้ ยาเหลวระเหย
ฮาโลตรอน ( Halotron )
• เป็ นสารดับ เพลิ ง ที่ ใ ช้ท ดแทนสารฮาลอน 1211 ไม่
ทาลายชั้นโอโซนและเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม สามารถ
ใช้กบั ไฟชนิ ด A B และ C ลักษณะการฉี ดออกเป็ น
แก๊สเหลวระเหย น้ ายาชนิ ดนี้ ไม่ทิ้งคราบสกปรก ไม่
ทาลายสิ่ งของเครื่ องใช้ หลังการดับเพลิงและสามารถ
ใช้ได้หลายครั้ง
• เหมาะสาหรับใช้กบั สถานที่ ที่ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ สื่อสาร ในอุตสาหกรรม อิ เลคโทรนิ ก ส์
เรื อ เครื่ องบิน และรถถัง
ใช้ดบั ไฟประเภท C และ B
ไฟประเภท A ต้องมีความชานาญ
สามารถฉี ดใช้ได้ไกลกว่าก๊าซco2
คือระยะ 3-4 เมตร
การตรวจสอบแรงดันในถังดับเพลิง
•ดูแลแรงดัน ตรวจสอบความดันของถังดับเพลิงว่ ายังอยู่ในช่ วงที่กาหนด
โดยดูจาก Gauge วัด โดยถ้ าเข็มยังคงอยู่ในช่ วงแถบสี เขียว แสดงว่ า ถัง
ดับเพลิงนั้นยังอยู่ในสภาพใช้ การได้
การตรวจสอบแรงดันในถังดับเพลิง
• ดูแลรักษาจากภายนอก ตรวจสอบสภาพของสายฉีด ไม่ แตก หัก
หรือรั่ว และตัวถังไม่ ผุกร่ อนขึน้ สนิม
• ดูแลรักษานา้ ยาในถัง โดยหมั่นพลิกถังดับเพลิง กลับหัวลง เพื่อ
ตรวจสอบว่ า นา้ ยาดับเพลิงในถังยังคงสภาพเดิม (เป็ นของเหลว)
ไม่ จับตัวเป็ นก้ อนแข็ง
• ตรวจสอบทุกเดือน หรือ 3 เดือน/1 ครัง้
• ระดับการแขวนถังดับเพลิง 1.30-1.50 เมตร
• บริเวณถังดับเพลิง ตู้ดบั เพลิง ไม่ มีส่ ิงกีดขวาง
หมายเหตุ
• เครื่ องดับเพลิงแบบสะสมแรงดัน จะมีประสิ ทธิภาพในการดับไฟสู ง ใน 10 วินาที
แรกเท่านั้น (ระยะเวลารวมใน 1 ถังส่ วนใหญ่ประมาณ 20 วินาที) ก่อนฉี ดใช้จึงควร
มัน่ ใจว่า จะฉี ดได้ถกู เป้ าหมาย
• ก่อนนาเครื่ องดับเพลิงไปใช้ ต้องมัน่ ใจว่าเครื่ องดับเพลิงนั้นใช้ได้ และใช้ให้ตรง
กับประเภทของไฟ
• ยืนอยูเ่ หนือลม
• ควรฉี ดใช้เมื่อเห็นแสงไฟเท่านั้น
• ระวังอันตรายจากแก๊สพิษ ควันไฟ และการขาดอากาศหายใจ
• ไม่ควรเข้าดับไฟคนเดียว
• ไม่มนั่ ใจ อย่าเสี่ ยง !
ขั้นตอนทั้ง 4 เมื่อมีไฟไหม้
(ACTIONS TO BE CONSIDERED ON
DISCOVERING A FIRE)
ขั้นตอนทั้ง 4 เมื่อมีไฟไหม้
1. พบเหตุ FIRE
In the event of fire. Remove
people from immediate danger
area.เมื่อพบเหตุเพลิงไหม้ ให้แจ้งเหตุพร้อม
ช่วยคนที่อยูใ่ นอันตราย
2. แจ้งเหตุ ALARM
Raise the alarm and follow your
emergency procedures.
แจ้งให้ผอู้ ยูใ่ กล้ที่เกิดเหตุรู้ และไปกดสัญญาณแจ้ง
เหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm) และดับไฟ
ขั้นตอนทั้ง 4 เมื่อมีไฟไหม้
3. ระงับเหตุ EXTINGUISH
Attempt to extinguish the fire only if
you are trained and it is safe to do
so.ผู้ที่ร้ ู ว่ามีเหตุเพลิงไหม้ ต้ องเข้ าช่ว ยกันดับไฟ ( ควร
ฝึ กใช้ เครื่ องดับเพลิงให้ เป็ นทุกคน ) และปฏิบตั ิตามแผน
ฉุกเฉิน
4. หนีเหตุ ESCAPE
Decide on meeting place outside
where everyone will gather after
they escape. Crawl low under smoke.
ผู้ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับการดับไฟ ให้ รีบหนีทางช่องหนี
ไฟที่ปลอดภัยซึ่งต้ องเตรี ยมไว้ อย่างน้ อย 2 ทาง ให้ หนี
ลง อย่ า หนี ขึ น้ หากมี ก ลุ่ ม ควัน ให้ ค ลานต่ า แล้ ว ไป
รวมตัวที่จดุ รวมพล เพื่อตรวจสอบจานวนคนว่าออกมา
ครบ หรื อติดค้ างในอาคาร
“เดินชิดขวา” ทิศทางคนไทยเดินอย่ างปลอดภัย
เป็ นกฎสากลในเรื่ องทิศทางการเดินอย่างปลอดภัย คือ ให้ เดินสวนทิศรถยนต์
วิ่ง ประเทศไทยเรา รถวิ่งชิดซ้ าย คนจึงเดินชิดขวา เพื่อจะได้ แลเห็นกันทังรถทั
้ งคน
้
อีกทังในกรณี
้
ฉกุ เฉิน ที่มีฝงู ชนจานวนมาก การหนีภยั จะได้ รับความปลอดภัยมากขึ ้น
ไม่สบั สนและไม่เกิดการชนหรื อกีดขวางทางกัน คนไทยทุกคน จึงควรสานึกและปฏิบตั ิ
ไปในแนวทางเดียวกันนี ้ คือ
“รถวิ่งชิดซ้ าย คนเดินชิดขวา” (เวลาสวนกัน)
ยามวิ กฤติ จาเป็ นต้องเคลื อ่ นย้ายผูค้ นจานวนมาก ในสถานทีค่ บั แคบให้ใช้คาวา
“เดิ นชิ ดขวา – แถวเรี ยงเดีย่ ว – ห้ามดึง – ห้ามดัน – ห้ามผลัก – ห้ามแซง –
ก้มตัวต่า”
(ใน
กรณี มีควัน)
จุดนัดพบ/จุดรวมพลทีเ่ หมาะสมควรมีลกั ษณะดังนี้
1. ใกล้และสะดวกต่อการอพยพมากที่สุด
2. กว้างขวางเพียงพอรับผูอ้ พยพ พร้อมหน่วยช่วยเหลือและทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายมา
3. หลีกเลี่ยงการข้ามถนนหรื อเข้าไปวุน่ วายในถนนจนอาจเกิดอันตราย
4. จะต้องปลอดภัยจากควันไฟ เปลวไฟ แรงระเบิด
บัญญัติ 10 ประการในอาคารสู ง
Ten tips in high rise building
( ข้ อควรปฏิบัตเิ มือ่ พักอาศัยในอาคารสู ง )
Tentips in High rise building
1).สารวจตรวจตรา Prepare
2).หาทางหนี Familiar
3).มีการซ้ อม Practice
4).พร้ อมแจ้ งภัย Alarm
5).ให้ รีบเผ่น Escape
6).เน้ นปิ ดอับClose the door
7).อย่าสั บสน Stay calm
8).หาคนช่ วย Think safe
9).ช่ วยตนเอง Crawl low
10).เฮง หรือ ซวย Plan best
1).สารวจตรวจตรา Prepare
• พึงระลึกเสมอว่า “แม้เพียงย่างก้าวเข้าอาคารสู ง ชีวติ หายไปแล้วครึ่ งหนึ่งที่เหลืออีก
ครึ่ งหนึ่งท่านจะนาออกมาเองหรื อจะให้มูลนิธิร่วมกตัญญู นาออกมา”ดังนั้น เมื่อเข้า
อาศัยในอาคารใดก็ตาม พึงสารวจดังต่อไปนี้
1. อุปกรณ์เตือนภัย อาทิ เครื่ องดักจับควัน(Smoke Detectors)
เครื่ องดักจับความร้อน (Heat Detectors) ฯลฯ
2. อุปกรณ์ดบั เพลิงอัตโนมัติ (Sprinkler)
3. อุปกรณ์แจ้งเหตุฉุกเฉิ น (Fire / Emergency Alarm)
4.เครื่ องดับเพลิง (Fire Extinguisher) สารวจว่าเป็ นแบบไหน
ทางานอย่ างไร อยู่ท่ ใี ด จานวนเท่ าไร และใช้ อย่ างไร
2).หาทางหนี Familiar
• ตรวจสอบทางออก(อย่ างน้ อย 2 ทาง) บันไดหลัก บันไดหนีไฟ หน้ าต่างระบบและ
อุปกรณ์ในการหนีไฟอื่น ๆว่าเป็ นแบบใด อยูท่ ี่ใด จานวน เท่าไรและใช้ อย่างไร
3).มีการซ้ อม Practice
เมื่อเข้าพักอาศัย หรื อทางานในอาคารสูง ควรฝึ กซ้ อม การหนีไฟด้วยตนเอง โดยให้หลับตา
หรื อขณะที่มืดสนิททาการซ้อมหนีออกจากอาคาร จดจาตาแหน่งของกุญแจห้อง (นากุญแจห้องพักติด
ตัวไปด้วยทุกครั้งที่ออกจากห้อง)ไฟฉาย หน้ากากกันควันอยูไ่ หน ประตูเปิ ดอย่างไร ซ้อมให้ชานาญ
ถ้าเป็ นอาคารที่ท่านอยูอ่ าศัยถาวร ควรจัดให้มีการซ้อมอพยพทุก 6 เดือน และกาหนดจุดนัดพบ (จุดรวม
พล) ถาวรเอาไว้ดว้ ย
บัญญัติ 10 ประการในอาคารสูง
4.พร้ อมแจ้ งไฟ Alarm
เมื่อพบเหตุไฟไหม้ ให้ แจ้ งเหตุ โดยตะโกนบอกให้ คนมาช่วย
ท่านต้ องทราบว่าจะโทรศัพท์ไปแจ้ งที่ไหนในอาคาร กดปุ่ ม
สัญญาณเตือนภัยที่ไหน อย่างไร ก่ อนที่จะเข้ าทาการระงับ
เหตุ (ถ้ าสามารถทาได้ )
5.ให้ รีบเผ่ น
หนีให้ เร็ว อย่างปลอดภัย อย่าห่วงทรัพย์สิน..
ห่วงชีวิต เดินชิดขวาเอาไว้
แล้ วไปที่จดุ นัดพบ (จุดรวมพล)
บัญญัติ 10 ประการในอาคารสูง
6.เน้ นปิ ดอับ
ปิ ดประตู้หน้ าต่างห้ องที่เกิดเพลิงไหม้ ให้ สนิทที่สดุ ถ้ าทาได้
(ต้ องแน่ใจว่าไม่มีใครติดอยู่ข้างใน)เพื่อป้องกันการลุกลาม
7.อย่ าสับสน
ควบคุมสติให้ ดี อย่าตื่นเต้ นจนทาอะไรไม่ถกู
พิจารณาหาทางออกอย่างปลอดภัย ใช้ หลังมือสารวจความ
ร้ อนของห้ องที่จะออกไป และสังเกตว่ามีไฟไหม้ อยู่หรื อเปล่า
ถ้ ามีความร้ อนอย่ าเปิ ดประตู ให้ เปิ ด หน้ าต่าง หาทางส่ง
สัญญาณให้ คนมาช่วย
บัญญัติ 10 ประการในอาคารสูง
8.หาคนช่ วย
พยายามทาให้ ห้องของเราปลอดภัยที่สดุ และทาให้ คนข้ างนอกรู้
ว่า เราติดอยู่ในอาคาร ถ้ าไฟลามมาถึงห้ องเราแล้ วออกไปไม่ได้
..ให้ ใช้ ผ้าชุบน ้า อุดใต้ ประตูหรือช่ องโหว่ ไม่ ให้ ควันเข้ า
ก่อนส่งสัญญาณทางหน้ าต่างด้ วยการโบกผ้ าและตะโกน
9.ช่ วยตนเอง
โอกาสสุดท้ าย หาทางออกโดยการใช้ หน้ ากากฉุกเฉิน ,
ถุงพลาสติกใสใหญ่ ,ตักอากาศบริ สทุ ธิ์ครอบหัว ,ผ้ าชุบน ้าปิ ด
จมูกพร้ อมผ้ าห่มชุบน ้าชุ่ม ๆฝ่ าความร้ อนโดยวิ่งต่าหรื อหมอบ
คลาน ถ้ าอยู่ในอาคารสูง ใช้ รอกหนีไฟ หรื อสายฉีดน ้า
ดับเพลิง หรื อเชือก หรื อฉีกผ้ าปูที่นอนต่อเป็ นเชือกลงทาง
หน้ าต่าง
บัญญัติ 10 ประการในอาคารสูง
10.เจ๋ ง หรือ จ๋ อย
อย่าใช้ ลิฟต์เวลาเกิดเพลิงไหม้ ทาใจเสียเถอะ
ว่า..แล้ วแต่บญ
ุ แต่กรรม แล้ วแต่วาสนาทีต่ ้ อง
อยูใ่ นที่ๆมีภยั ควรเลือกที่อยู่ ที่ทางาน ที่
ปฏิบตั ิตามกฎหมาย มีอปุ กรณ์และมาตรการ
ในความปลอดภัยอย่างมีมาตรฐาน
"เจ๋ ง หรื อ จ๋ อยก็ต้องคอยระวังเอง"
ตัวอย่างเหตุการณ์ : อัคคีภยั ในบ้านพักอาศัย
1. ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควันอัตโนมัติบริ เวณภายใน
ห้องนอน และทางเดินเข้าห้องนอน อย่างน้อง 1 ชุด
2. จัดเตรี ยมถังดับเพลิงมือถือขนาดที่สามารถใช้ได้สะดวก
อย่างน้อง 1 ชุด จัดเตรี ยมให้มีช่องทางออกจากอาคาร
ที่สามารถใช้ได้ทุกเวลา
อัคคีภยั ในบ้านพักอาศัย
3. หน้ าต่ างที่ตดิ เหล็กดัด ต้ องมี
ช่ องทางที่เปิ ดได้ อย่ างน้ อย 1
ช่ อง
4. อย่ าเก็บวัสดุไวไฟ นา้ มันก๊ าด ทิน
เนอร์ ไว้ ในบ้ านเป็ นจานวนมาก
อัคคีภยั ในบ้านพักอาศัย
5. หมั่นตรวจสอบสภาพพืน้ ที่ท่ ีมี
ความเสี่ยง ได้ แก่ ห้ องครั ว ห้ อง
บูชาพระ ห้ องเก็บของ
6. ไม้ ขีดไฟ ไฟแช็ค ให้ เก็บไว้ ในที่
มิดชิด ระวังเด็กนาไปเล่ น
อัคคีภยั ในบ้านพักอาศัย
7. หลี ก เลี่ ยงการท างานพร้ อมกั น
หลายๆ อย่ าง เช่ น พูดโทรศัพท์
ขณะคุยโทรศัพท์
8. อย่ าสูบบุหรี่ บนเตียงนอน และ
ก่ อนเข้ านอนให้ ตรวจสอบและ
ปิ ดอุปกรณ์ ไฟฟ้า เตาแก๊ ส เป็ น
ต้ น
ตัวอย่างเหตุการณ์ : อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
1. ก่อนเข้าพักอาคารควร
ศึกษาตาแหน่งบันไดหนีไฟ
เส้นทางหนีไฟ
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
2. ขณะอยู่อาคาร ควรหา
ทางออกฉุ กเฉิ น 1-2 ทาง
ใ ก ล้ ห้ อ ง พั ก ค ว ร
ตรวจสอบดู ว่ า ปิ ดล็ อ ก
หรื อมีสิ่งกีดขวางหรื อไม่
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
3. ก่อนเข้านอน ควรวางกุญแจ
ห้องพัก ไฟฉายฉุกเฉิ น ไว้ใกล้
ตัว
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
4. เมื่อต้องประสบเหตุเพลิงไหม้
-ถ้าเพลิงนั้นสามารถดับได้ควรดับ
ทันที
-ถ้าดับไม่ได้ให้หาตาแหน่ง
สัญญาณเตือน
-จากนั้นหนีตามทางหนีไฟ
โทรแจ้งหน่วยดับเพลิง
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
5. เมื่ อได้ยินสัญญาณเตื อนเพลิ ง
ไหม้ ให้ รี บ หาทางหนี อ อกจาก
อาคารตามทางหนี ไฟที่ใกล้ที่ สุด
ทันที
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
6. ถ้า เพลิ ง ไหม้ ใ นห้ อ ง ภายใน
อาคาร ให้หนี ออกมาจากห้องและ
ปิ ดประตู ทัน ที และรี บ แจ้ง ผู้ดู แ ล
อาคาร
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
7. ถ้าเพลิงไหม้นอกห้อง ภายใน
อาคาร ก่อนจะหนีออกมาให้วางมือ
บนประตู หากประตูมีความเย็นอยู่
ค่อยๆ เปิ ดประตูแล้วหนีไปยังทาง
หนีไฟฉุกเฉิ นที
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
8. ถ้าเพลิงไหม้อยูบ่ ริ เวณใกล้ๆ
-ประตูจะมีความร้อน ห้ามเปิ ด
ประตูเด็ดขาด
-แจ้งหน่วยดับเพลิงและตาแหน่ง
ที่ท่านอยู่
-หาผ้าเช็ดตัวชุบน้ าให้เปี ยกคลุม
ตัว
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
9. เมื่อต้องเผชิญกับควันไฟ
ที่ปกคลุม ใช้วิธีคลานต่าหนี
ไฟไปยังทางออกฉุกเฉิ น
อัคคีภยั ในโรงแรม/อาคารสูง
10. อย่ า ใช้ ลิ ฟ ท์ ข ณะเกิ ด ไฟ
ไหม้อย่างเด็ดขาด เพราะลิ ฟท์
จะหยุดการทางานเนื่ องจากไม่
มีกระแสไฟฟ้ า ให้ใช้บนั ไดหนี
ไฟภายนอกอาคารเท่านั้น
ใช้ ก๊าซหุงต้ มให้ ปลอดภัย 10 วิธี
LPG Safety
ใช้ ก๊าซหุงต้ มให้ ปลอดภัย 10 วิธี LPG Safety
1)ตรวจสอบถังก๊ าซและอุปกรณ์ ประกอบ ก่ อนนาเข้ าบ้ าน
2) กลิน่ ก๊ าซรุ นแรงผิดปกติ ให้ ปิดวาล์ วทันที
3) เปิ ดประตู หน้ าต่ าง ระบายอากาศ ให้ ก๊าซเจือจาง
4) อย่าทาให้ เกิดประกายไฟใดๆทั้งสิ้น (ห้ ามเปิ ด หรือปิ ดเครื่องไฟฟ้า)
5) ใช้ ไม้ กวาด กวาดก๊าซออกนอกบ้ าน
ใช้ ก๊าซหุงต้ มให้ ปลอดภัย 10 วิธี LPG Safety
6) ตรวจหารอยรั่ว และแก้ไขทันทีในทีโ่ ล่งแจ้ ง
7) สายส่ งก๊ าซ และอุปกรณ์ ต้ องมีมาตรฐาน
8) อย่าให้ สายและถัง อยู่ใกล้ ไฟจนเกิดความร้ อน
9) ห้ องนา้ ที่ใช้ เครื่องทานา้ ร้ อนก๊ าซ ต้ องมีช่องระบายอากาศ
10) ไฟลุกไหม้ จากก๊ าซ ให้ เข้ าระงับเหตุปิดวาล์ ว ถ้ าทาได้ โดยไม่ เสี่ ยง
“4 หลักต้ องป้ องกันไฟ” กฎระเบียบทีใ่ ช้ ในชุ มชน
“4 หลักต้ องป้ องกันไฟ” กฎระเบียบทีใ่ ช้ ในชุมชน
1.
2.
ต้ องจัดให้ เรียบร้ อย จัดบ้ านเรือน สถานทีท่ างาน ทีอ่ ยู่อาศัยให้ เรียบร้ อยอย่าให้
รกรุ งรัง ระวังเรื่องการเดินสายไฟฟ้า การเก็บเชื้อเพลิง และการใช้ ความร้ อน
ควรคานึงถึงทางหนีเมือ่ เกิดเหตุฉุกเฉินด้ วย ซึ่งอย่ างน้ อยต้ องมี 2 ทาง และไม่ มี
สิ่ งกีดขวาง
ต้ องคอยซ่ อมบารุ ง ดูแลเอาใจใส่ อุปกรณ์ ไฟฟ้า เครื่องจักรกล เครื่องมือหรือ
อุปกรณ์ ทกี่ ่ อให้ เกิดความร้ อนให้ อยู่ในสภาพสมบูรณ์ และปลอดภัยเสมอ
“4 หลักต้ องป้ องกันไฟ”กฎระเบียบทีใ่ ช้ ในชุมชน
3. ต้ องมุ่งทาตามกฎ ต้ องศึกษาและทาความเข้ าใจกฎแห่ งความปลอดภัยแล้วปฏิบัติ
ตาม อาทิ ไม่ ปล่อยให้ เด็กเล่นไฟ จุดธูปเทียนบูชาพระ โดยไม่ ดูแล สู บบุหรี่ในที่
ห้ ามสู บ เผาขยะมูลฝอยโดยไม่ ควบคุม ฯลฯ
4. ต้ องลดความขัดแย้ ง ความขัดแย้ง ความไม่ รัก ไม่ สามัคคีกนั ในชุ มชน คือ ภัยอัน
มหันต์ ควรสร้ างความกลมเกลียวให้ เกิดขึน้ ทั้งเพือ่ นบ้ านและหน่ วยราชการที่
เกีย่ วข้ อง
เหตุการณ์ ตวั อย่ าง….GOODBYE SANTIKA
http://www.youtube.com/watch?v=otGDc0PFzgs&feature=related
ตัวอย่างเหตุการณ์
• http://www.youtube.com/watch?v=hST8cLGm4
nY
• http://www.youtube.com/watch?v=UbIGR7A8c
gU
แบบทดสอบ
1.
2.
3.
4.
จงบอกองค์ประกอบการเกิดไฟ
ไฟมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ยกตัวอย่างถังดับเพลิง 1 ประเภท พร้อมอธิบาย
จงอธิบาย 4 ขั้นตอนการปฏิบตั ิเมื่อเกิดไฟไหม้