ไฟล์ที่แนบมาด้วย

Download Report

Transcript ไฟล์ที่แนบมาด้วย

หลักการใช้ยาแผนไทย
ในบัญชียาหลักแห่งชาติ
นำเสนอโดย : นำงสำวอัมริดตำ โคตรบุญมี
แพทย์ แผนไทยประยุกต์
โรงพยำบำลกุดชุม
หลักเภสั ช 4
1. เภสัชวัตถุ (ตัว
ยำ)
4.เภสั ชกรรมไทย
(การปรุงยา)
3. คณำเภสัช (พิกัด
ยำ)
2. สรรพคุณเภสัช
(สรรพคุณยำ)
สรรพคุณเภสั ช
ยารสประธาน
– รสร้ อน
– รสเย็น
– รสสุ ขมุ
รสของตัวยา
– รสยา 4 รส
– รสยา 6 รส
– รสยา 8 รส
รสยำ 9 รส
•
•
•
•
•
•
•
รสฝำด
รสหวำน
รสเมำเบื่อ
รสขม
รสเผ็ดร้ อน
รสมัน
รสหอม
เย็น
• รสเค็ม
• รสเปรี ย้ ว
คณาเภสั ช
1.จุลพิกัด
2.พิกัดยำ
3.มหำพิกัด
เภสั ชกรรมไทย
วิธีปรุ งยำ
ยำสำมัญประจำบ้ ำน
สมุนไพร
สาธารณสุ ขมูลฐาน
บัญชียำหลัก
แห่ งชำติ
กำรใช้ ยำอันตรำย
กำรชั่งตัวยำ
การเก็บตัวยา
นำ้ กระสำย
ยำ
หลักการใช้ ยาแผนไทย
หรือยาแผนโบราณ
******หลักการวิเคราะห์ โรค
ด้ านการแพทย์ แผนไทย ประกอบด้ วย 5 วิธี
1.วิเคราะห์ โรคจากสมุฏฐาน 3 (ตรีธาตุ)
1.1 ปิ ตตะสมุฏฐาน
1.2 วาตะสมุฏฐาน
1.3 เสมหะสมุฏฐาน
2.วิเคราะห์ โรคจากสมุฏฐาน 4 ประกอบด้ วย
1. ปถวีธาตุ
2. อาโปธาตุ
3. วาโยธาตุ
4. เตโชธาตุ
3.วิเคราะห์ โรคตามพระคัมภีร์แพทย์ เช่ นโลหิตปกติโทษ กษัย เป็ นต้ น
4.วิเคราะห์ โรค เช่ น จากสั ญญาณ 5 (ทางหัตถเวชกรรม)
5.วิเคราะห์ โรคจากสมุฏฐานเบญจอินทรีย์
คือ จักขุโรโค โสตโรโค ฆานโรโค ชิวหาโรโค
กายโรโค (พหิทธโรโค – อันตโรโค)
*****รสของยาสมุนไพรประกอบด้ วย
5.1 ยารสประธาน
5.2 รสยา 9 รส
บัญชียาจากสมุนไพร
พ.ศ. 2554
(List of Herbal Medicinnal Products A.D 2011)
ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ
50 รายการ
1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ ลม)
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
1
ยาหอมทิพโอสถ
แก้ ลมวิงเวียน
รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม ละลายนา้ กระสาย
ยา เมือ่ มีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง
ไม่ ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
2
ยาหอมเทพจิตร
แก้ อาการหน้ ามืด ตาลาย
สวิงสวาย ใจสั่ น
รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม ละลายนา้ สุ ก
เมือ่ มีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง
ไม่ ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
3
ยาหอมนวโกฐ
แก้ ลมวิงเวียน คลืน่ เหียน
อาเจียน ภาวะอาเจียน
เบือ่ อาหาร ท้ องอืด
อ่ อนเพลีย หลังฟื้ นไข้
รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม
ละลายนา้ กระสายยา
เมือ่ มีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง
ไม่ ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
1.1 ยารักษา
กลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ ลม)
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
แก้ลมวิงเวียน
อ่อนเพลีย นอนไม่
หลับ
รับประทานเมือ่ มีอาการครั้งละ 600
มิลลิกรัม – 1 กรัม ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ ควร
เกินวันละ 3 ครั้ง
4
ยาหอมแก้ลม
วิงเวียน
5
ยาหอมอินทจักร์ แก้คลืน่ เหียน อาเจียน รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ละลายนา้
แก้ ลมจุกเสี ยด
กระสาย
เมือ่ มีอาการ ทุก 3-4 ชั่วโมง ไม่ ควรเกิน
วันละ 3 ครั้ง
อาการ
ยาหอมเทพจิตร ยาทิพโอสถ
เกสร 5 ,โกศ 9,
ผิวส้ ม 8, เทียน 9,
บัว 3
ยาอินทจักร์
เกสร 7, โกศ 9, เบญจกูล, ดีววั
เทียน 9
โกศ 7, เทียน 5
ลมจุกเสียด
/
ลมวิงเวียน
/
ลมกองละเอียด
/
หน้ ามืด
/
ยานวโกฐ
ยาหอมแก้ ลมวิงเวียน
โกศ 9, เบญจกูล, รากชะเอมเทศ, แก่นจันทน์ ,
เทียน 9, เกสร 5 ดอกกานพลู โกศต่ างๆ
/
/
/
อ่อนเพลีย
/
นอนไม่ หลับ
/
คลืน่ ไส้ /เบื่ออาหาร
/
ใจสั่น (สวิงสวาย)
/
อาเจียน
(ลมแน่ น)
ลมบาดทะจิตร
/
/
/
/
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้ องอืด ท้ องเฟ้อ
ลาดับ ชื่อยา
1
ยาธาตุบรรจบ
2
ยาธาตุอบเชย
3
ยาเบญจกูล
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
บรรเทาอาการท้ องอืด ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ท้ องเฟ้ อ
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 กรัม
ละลายนา้ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เมื่อมี
อาการ
ขับลม บรรเทาอาการ รับประทานครั้งละ 15-30 มิลลิลติ ร
ท้ องอืด ท้ องเฟ้ อ
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
บรรเทาอาการท้ องอืด รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม
ท้ องเฟ้ อ
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้ องอืด ท้ องเฟ้อ
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
เด็กอายุ 1-3 เดือน รับประทานครั้งละ
100-200 มก.
อายุ 4-6 เดือนครั้งละ 200-300 มก.
อายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 400-600 มก.
วันละ 2 ครั้ง เช้ า-เย็น
4
ยาประสะกะเพรา
บรรเทาอาการท้ องอืด
ท้ องเฟ้ อ จุกเสี ยด
5
ยาประสะกานพลู
บรรเทาอาการปวดท้ อง จุก รับประทานครั้งละ 1กรัม ละลายนา้ กระสาย
เสี ยด แน่ นเฟ้ อจากอาหาร วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เมือ่ มีอาการ
ไม่ ย่อย เนื่องจากธาตุไม่
ปกติ
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้ องอืด ท้ องเฟ้อ
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายนา้ สุ ก
วันละ 2 ครั้ง เช้ าและเย็นก่อนอาหาร
6
ยาประสะ
เจตพังคี
แก้ กษัยจุกเสี ยด
ขับผายลม
7
ยามันทธาตุ
บรรเทาอาการท้ องอืด ใช้ รับประทาน ผู้ใหญ่ ครั้งละ 1 กรัม
ท้ องฟ้อ แก้ ธาตุไม่ ปกติ เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มิลลิกรัม
ละลายนา้ สุ ก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้ องอืด ท้ องเฟ้อ
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
8
ยามหาจักรใหญ่
แก้ ลมซาง
บรรเทาอาการท้ องอืด
ท้ องเฟ้ อ
เด็กอายุ 1-5 ขวบ
รับประทานครั้งละ 500 มก.-15 กรัม
เด็กอายุ 6-12 เดือนครั้งละ 1.5 กรัม ละลายนา้ สุ ก
วันละ 2 ครั้ง เช้ าและเย็น ก่ อนอาหาร
9
ยาวิสัมพยาใหญ่
บรรเทาอาการท้ องอืด
ท้ องเฟ้ อ จุกเสี ยด
รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายนา้ สุ ก
หรือผสมนา้ ผึง้ ปั้นเป็ นลูกกลอน ทุก 4 ชั่วโมง
10
ยาอภัยสาลี
บรรเทาอาการจุกเสี ยด
แน่ น
รับประทานครั้งละ 1.5-2 กรัม
วันละ 2 ครั้ง เช้ าและเย็น ก่ อนอาหาร
อาการ
ประสะ ธาตุ ประสะ ประสะ มันทธาตุ มหา วิสัมพยา
กะเพรา บรรจบ กานพลู เจตพังคี
จักรใหญ่ ใหญ่
กะเพรา
ท้องอืด/ท้องเฟ้อ
/
จุกเสี ยด
/
ขับลม
/
ธาตุไม่ ปกติ
อาหารไม่ ย่อย
เนือ้ สมอ
ไทย โกฐ
ก้านพร้ าว
/
กานพลู
/
เจตพังคี, ข่ า ขิง,
เบญกานี
/
บาบัดโรคลม
/ลมซาง
/
/
เบญจกูล
อภัยสาลี
เปลือก
อบเชยเทศ,
เปลือก
สมุลแว้ ง, ลูก
กระวาน,
ดอกกานพลู
ดอกดีปลี,
รากช้ าพลู, เถา
สะค้ าน, ราก
เจตมูลเพลิง
แดง, เหง้ าขิง
แห้ ง
หัสคุณเทศ,
พริกไทยล่อน,
เทียน และโกฐ
,เนือ้ ลูกสมอเทศ
,เนือ้ ลูกสมอไทย
/
/
/
/
/
/
/
/อุจจาระ
ธาตุ
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
ระบาย
กษัยจุกเสี ยด
/
กระพังโหม, ดีปลี, ลูก
ยาดา
จันทน์ ,
ดอกจันทน์ ,
ผักชี
ยาธาตุ
อบเชย
/
/
/
/
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้ องผูก
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
ใช้ บรรเทาอาการท้ องผูก
ในผู้ทที่ ้ องผูกมาก หรือ
เรื้อรัง ทีใ่ ช้ ยาอื่นแล้ วไม่
ได้ ผล
รับประทานครั้งละ 1 กรัม
วันละ 1 ครั้ง ก่ อนนอน
ถ้ าไม่ ถ่าย วันต่ อไป รับประทานเพิม่
เป็ น 1.5 กรัม แต่ ไม่ เกิน 2.5 กรัม/วัน
(ตามธาตุหนักธาตุเบา)
1
ยาถ่ ายดีเกลือฝรั่ง
2
ยาธรณีสันฑะฆาต แก้ เถาดาน ท้ องผูก
ชนิดผง ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน และชนิด
แคปซูล รับประทานครั้งละ 500 มก.-1 กรัม
วันละ 1 ครั้ง
ก่ อนอาหารเช้ าหรือก่ อนนอน
อาการ
แก้เถาดาน, ท้ องผูก
แก้ท้องผูก, ผูกมาก เรื้อรัง
ธรณีสันฑฆาต
ยาถ่ าย, ดีเกลือฝรั่ง
พริ กไทยล่อน, ยาดา
ดีเกลือฝรั่ง, ยาดา
/
/
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.3 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้ องเสี ย
ลาดับ ชื่อยา
1
2
ยาธาตุบรรจบ
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
บรรเทาอาการอุจจาระ ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ธาตุไม่ ปกติ ท้ องเสี ยชนิด เด็กอายุ 6-12 ปี
ไม่ ติดเชื้อ ไม่ มไี ข้
ครั้งละ 500 มก. วันละ 3 ครั้ง
ก่ อนอาหาร เมือ่ มีอาการ
ยาเหลืองปิ ดสมุทร บรรเทาอาการท้ องเสี ย ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ชนิดทีไ่ ม่ ติดเชื้อ
เด็กอายุ 3-5 เดือน ครั้งละ 200 มก.
อายุ 6-12 เดือน ครั้งละ 300-400 มก.
อายุ 1-5 ขวบ ครั้งละ 500-700 มก.
อายุ 6-12 ปี ครั้งละ 800 มก.-1 กรัม
ละลายนา้ ทุก 3-5 ชั่วโมง และเมือ่ มีอาการ
อาการ
ธาตุบรรจบ
เหลืองปิ ดสมุทร
เนือ้ ลูกสมอไทย (รู้ ถ่ายรู้ เหง้ าขมิน้ ชัน, เปลือกสี เสี ยด
ปิ ด), โกฐก้านพร้ าว,โกศสอ ไทย/เทศ, เปลือกเพกา, ราก
กล้วยตีบ
, โกศเชียง เทียนต่ างๆ,
ลูกผักชีลา
อุจาระธาตุพกิ าร
/
/
ท้ องเสี ยไม่ ติดเชื้อ
(อุจจาระไม่ เป็ นมูก/มีเลือดปน)
/
/
ท้ องเสี ยชนิดทีไ่ ม่ มีไข้
/
/
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสี ดวงทวารหนัก
ลาดับ
ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
1
ยาผสม
เพชรสั งฆาต
รับประทานครั้งละ 1.2 กรัม
บรรเทาอาการ
ริดสี ดวงทวารหนัก วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร ทันที
2
ยาริดสี ดวง
มหากาฬ
รับประทานครั้งละ 800 มก.-1 กรัม
บรรเทาอาการ
ริดสี ดวงทวารหนัก วันละ 3 ครั้งก่อนอาหาร
อาการ
บรรเทาอาการ
ริดสี ดวงทวารหนัก
ยาผสม
เพชรสั งฆาต
ยาริดสี ดวง
มหากาฬ
เพชรสังฆาต
มดยอบคัว่ , ขอบชะ
นางทั้งสอง, โกฐชนิด
ต่างๆ, เทียน 5
/
/
1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสู ตศิ าสตร์ -นรีเวชวิทยา
ลาดับ ชื่อยา
1
ยาประสะไพล
2
ยาปลูกไฟธาตุ
3
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
ระดูมาไม่ ปกติ มาน้ อย รับประทานครั้งละ 1 กรัม
บรรเทาอาการปวดท้ อง ละลายนา้ สุ ก
ปวดประจาเดือน ขับ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
นา้ คาวปลา
กระตุ้นนา้ นม
กระจายเลือดลมหลัง
คลอด
ยาไฟประลัยกัลป์ ขับนา้ คาวปลา ช่ วยให้
มดลูกเข้ าอู่
รับประทานครั้งละ 500 มก.-1.5 กรัม
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ละลายนา้ สุ ก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสู ตศิ าสตร์ -นรีเวชวิทยา
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
4
ยาไฟห้ ากอง
ขับนา้ คาวปลา ช่ วยให้
มดลูกเข้ าอู่
รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม
ละลายนา้ สุ ก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
5
ยาเลือดงาม
รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม
ละลายนา้ สุ ก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
6
ยาสตรีหลัง
คลอด
บรรเทาอาการปวด
ประจาเดือน
ช่ วยให้ ประจาเดือนปกติ
ขับนา้ คาวปลา บารุ งเลือด
ช่ วยให้ มดลูกเข้ าอู่เร็วใน
หญิงหลังคลอด
รับประทานครั้งละ 500 มล.
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
หรือ ดืม่ แทนนา้
อาการ
ประสะ ไฟประลัย ไฟห้ ากอง ปลูกไฟธาตุ ยาเลือดงาม ยาสตรี
ไพล
กัลป์
(ร้ อนสุ ขุม) หลังคลอด
ไพล
ผิวมะกรู ด, การบูร,
ราก
เจตมูลเพลิงแดง,
สารส้ มสะตุ, แก่น
แสมทะเล
รากเจมูลเพลิงแดง,
ฝักส้ มป่ อย, เหง้ าขิง,
พริกไทยล่อน,
สารส้ มสะตุ
พริกไทยล่อน
เหง้ าขิง, ตะไคร้ บ้าน, แก่นแกแล, แก่ นขนุน,
เหง้ ากระชาย, เหง้ า ว่ านชั กมดลุก, ฝางเสน,
กะทือ, โกศ
รากเจตมูลเพลิงแดง,
จุฬาลัมพา, ลูกจันทน์ ดอกดีปลี, กาแพงเจ็ดชั้น
ระดูมาไม่ สม่าเสมอ/มาน้ อยกว่ า
ปกติ
บรรเทาอาการปวดประจาเดือน
/
/
/
/
ขับนา้ คาวปลาในหญิงหลังคลอด
/
ช่ วยให้ มดลูกเข้ าอู่
/
/
/
/
/
/
กระตุ้นนา้ นม
/
กระจายเลือดลมในหญิงหลังคลอด
/
บารุ งเลือด
/
/
1.4 ยาแก้ ไข้
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
1
ยาเขียวหอม
2
ยาจันทน์ ลลี า
3
ยาประสะจันทน์ แดง บรรเทาอาการไข้ ตัวร้ อน
(ไข้ พษิ )
แก้ ร้อนในกระหายนา้
ขนาดและวิธีใช้
ผู้ใหญ่ รับประทานอาหาร ครั้งละ 1 กรัม
บรรเทาอาการไข้ ร้ อนใน
กระหายนา้ แก้ พษิ หัด พิษสุ กใส เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.
ละลายนา้ กระสายยา ทุก 4-6 ชั่วโมง
เมือ่ มีอาการ
บรรเทาอาการไข้ ตัวร้ อน
ผู้ใหญ่ รับประทานอาหาร ครั้งละ 1-2 กรัม
ไข้ เปลีย่ นฤดู
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.-1 กรัม
ทุก 3-4 ชั่วโมง เมือ่ มีอาการ
ผู้ใหญ่ รับประทานอาหาร ครั้งละ 1-2 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500
ละลายนา้ กระสายยา ทุก 3-4 ชั่วโมง
1.4 ยาแก้ ไข้
ลาดับ ชื่อยา
4
5
6
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
ยาประสะเปราะใหญ่ ถอนพิษไข้ ตานซางสาหรับเด็ก เด็กอายุ 1-5 ปี
รับประทานครั้งละ 500 มก.-1 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ทุก 3-4 ชั่วโมง
ยามหานิลแท่ งทอง บรรเทาอาการไข้ จาก ไข้ กาฬ ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1.5-2 กรัม
หัด
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.- 1 กรัม
และสุ กใส แก้ ร้อนในกระหาย ละลายนา้ สุ กวันละ 2 ครั้ง เช้ าและเย็น
นา้
ก่ อนอาหาร
ยาห้ าราก
บรรเทาอาการไข้
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก.- 1 กรัม
ละลายนา้ สุ กวัน วันละ 3 ครั้ง ก่ อนอาหาร
อาการ
จันท ประสะ เขียว
ลีลา จันทน์ แดง หอม
บรรเทาอาการไข้
ตัวร้ อน
แก้ร้อนใน
กระหายนา้
พิษหัด, สุ กใส
/
ไข้ เปลีย่ นฤดู
/
ถอนพิษไข้ ตาน
ซางสาหรับเด็ก
/ไข้ พษิ
/
/
/
มหานิล ประสะ ห้ า
แท่ งทอง เปราะใหญ่ ราก
/
/
/
/
/
1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ
1.5.1 ยาบรรเทาอาการไอ
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
1
ยาแก้ ไอผสม
กานพลู
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ อมครั้งละ 200-300 มก.
เมือ่ อาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
2
ยาแก้ ไอผสม
มะขามป้ อม
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ จิบ เมือ่ มีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
3
ยาแก้ ไอผสม
มะนาวดอง
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รับประทานครั้งละ 200-300 มก.
เมือ่ มีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ
1.5.1 ยาบรรเทาอาการไอ
ลาดับ
ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
4
ยาแก้ ไอ
พืน้ บ้ านอีสาน
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ จิบ เมือ่ มีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
5
ยาตรีผลา
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ชงนา้ ร้ อน ประมาณ
120-200 มล. ทิง้ ไว้ 3-5 นาที ดืม่ ในขณะยังอุ่น
6
ยาประสะมะแว้ ง บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทา ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1-1.4 กรัม
ให้ ชุ่ มคอ ช่ วยขับเสมะหะ
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 200-400 มก.
เมือ่ มีอาการ ละลายนา้ มะนาวแทรกเกลือ
7
ยาอามฤควาที
บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม
เด็กอายุ 6-12 ปี ครั้งละ 500 มก. ละลายนา้ กระสาย
ยาเมือ่ มีอาการ
อาการ
บรรเทาอาการไอ
อามฤควาที
ประสะมะแว้ ง
รากชะเอมเทศ
มะแว้ งต้ น, มะแว้ งเครือ
/
/
มีเสมหะ
/
ทาให้ ช่ ุ มคอ
/
ขับเสมหะ
/
/
1.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินหายใจ
1.5.2 ยาบรรเทาอาการหวัด
ลาดับ ชื่อยา
1
ยาปราบ
ชมพูทวีป
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
บรรเทาอาการหวัด รับประทานครั้งละ 750 มก.-1.5 กรัม
ระยะแรก และอาการ วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร
เนื่องจากการแพ้
อากาศ
1.6 ยาบารุงโลหิต
ลาดับ ชื่อยา
1
ยาบารุ ง
โลหิต
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
บารุ งโลหิต
รับประทานครั้งละ 1กรัม
ละลายนา้ กระสายยา
วันละ 2 ครั้ง เช้ าและเย็น
ก่อนอาหาร
อาการ
ยาบารุงโลหิต
แก่นฝาง, ดอกคาไทย,
ครั่ง, เบญจกูล
บารุงโลหิต
/
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ ามเนือ้ และกระดูก
1.) ยาสาหรับรับประทาน
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
1
ยากษัยเส้ น
บรรเทาอาการปวดหลัง ปวด รับประทานครั้งละ 1กรัม ละลายนา้ กระสายยา
เอว ปวดเมือ่ ยตามร่ างกาย วันละ 2 ครั้ง เช้ าและเย็น ก่ อนอาหาร
2
ยาแก้ ลมอัมพฤกษ์
3
ยาธรณีสันฑะฆาต
บรรเทาอาการปวดตามเส้ น
เอ็น
กล้ ามเนือ้ มือ เท้ า ตึงหรือชา
แก้ กษัยเส้ น แก้ อาการปวด
เมือ่ ย
รับประทานครั้งละ 1กรัม ชงนา้ ร้ อนดืม่
ประมาณ 120-200 มล. วันละ 3 ครั้ง ก่ อนอาหาร
ชนิดผง รับประทานครั้งละ 500 มล.-1 กรัม
ละลายนา้ สุ กหรือผสมนา้ ผึง้ ปั้นเป็ นลูกกลอน
วันละ 1 ครั้ง ก่ อนอาหารเช้ าหรือก่ อนนอน
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ ามเนือ้ และกระดูก
1.) ยาสาหรับรับประทาน
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
4
ยาผสมโคคลาน
บรรเทาอาการปวดเมือ่ ย
ตามร่ างกาย
ชนิดชง รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ชงนา้ ร้ อนประมาณ 120-200 มล.
วันละ 3 ครั้ง ชนิดต้ ม
ดืม่ ครั้งละ 120-200 มล. วันละ 3 ครั้ง ก่ อนอาหาร
5
ยาผสม
เถาวัลย์ เปรียง
บรรเทาอาการปวดเมือ่ ย
ตามร่ างกาย
รับประทานครั้งละ 900 มก.-1.5 กรัม
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที
6
ยาสหัสธารา
ขับลมในเส้ น แก้ อาการปวด รับประทานครั้งละ 1-1.5 กรัม
เมือ่ ยตามร่ างกาย
วันละ 3 ครั้ง ก่ อนอาหาร
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ ามเนือ้ และกระดูก
2.) ยาสาหรับใช้ ภายนอก
ลาดับ ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
1
ยาขีผ้ งึ้ ไพล
บรรเทาอาการ ปวดเมือ่ ย ทาและถูเบาๆ บริเวณทีม่ อี าการ
วันละ 2-3 ครั้ง
2
ยาประคบ
ใช้ ประคบบริเวณร่ างกาย ขณะยังอุ่น
ประคบเพือ่ ลดอาการ
วันละ 1-2 ครั้ง
ปวด และช่ วยคลาย
กล้ามเนือ้ เอ็น และข้ อ
กระตุ้นการไหลเวียนของ
โลหิต
1.8 ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ
ลาดับ
ชื่อยา
ข้ อบ่ งใช้
ขนาดและวิธีใช้
1
ยาตรีเกสรมาศ แก้ อ่อนเพลีย ปรับธาตุใน รับประทานครั้งละ 1 กรัม
ชงนา้ ร้ อนประมาณ 120-200 มล.
ผู้ป่วย ฟื้ นจากการ
เจ็บป่ วย เช่ น ไข้ ท้ องเสี ย ดืม่ ขณะยายังอุ่น วันละ 4 ครั้ง ก่ อนอาหาร
2
ยาตรีพกิ ดั
ปรับสมดุลธาตุภายใน
ร่ างกาย
รับประทานครั้งละ 250-500 มก.
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
3
ยาเบญจกูล
บารุ งธาตุ ปรับธาตุใน
ร่ างกายให้ สมดุล
รับประทานครั้งละ 1.5 – 2 กรัม
วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
4
ยาปลูกไฟธาตุ ปลูกไฟธาตุให้ บริบูรณ์
ปรับระบบการย่อย
อาหารให้ ดขี นึ้
รับประทานครั้งละ 500 มก. – 1.5 กรัม
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
อาการ
ยาตรี
เกสรมาศ
ยาตรีพกิ ดั
ยาเบญจกูล
ยาปลูก
ไฟธาตุ
เปลือกฝิ่ นต้ น, (เนือ้ ลูก) สมอไทย, ดอกดีปลี, รากช้ าพลู, พริกไทย
ล่ อน
เกสรบัวหลวง,
สมอพิเภก,
เถาสะค้ าน, ราก
ลูกมะตูมอ่ อน
มะขามป้ อม
เจตมูลเพลิงแดง, เหง้ า
ขิงแห้ ง
ปรับสมดุลธาตุ
/
บารุงธาตุ
/
/
/
ปลูกไฟธาตุให้ บริบูรณ์
/
ปรับระบบการย่ อยให้ ดขี ึน้
/
แก้ อ่อนเพลีย/ปรับธาตุหลัง
ฟื้ นจากไข้ /ท้ องเสี ย
/
ภาคผนวก
ยาสามัญประจาบ้ าน 27 ขนาน
(แบ่ งตามกลุ่มอาการ)
ยาสามัญประจาบ้ านแผนโบราณ 27 ขนาน
แก้ลม
บารุ งหัวใจ
ยาหอมเทพจิตร
ยาหอมทิพโอสถ
ยาหอมอินทจักร์
ระบาย
พิษไข้
แก้ไข้
ยาจันทน์ทลีลา
ยามหานิลแท่งทอง
ยาหอมนวโกศ
ยำตรีหอม
ยาประสะจันทน์แดง
ยำแสงหมึก
ยาประสะเปราะใหญ่
ขับลม
บารุ งธาตุ
แก้ไข้
ขับเสมหะ
ยาประสะกะเพรา ยาประสะมะแว้ ง
ยาหอมอินทจักร์
ยาอามฤควาที
ยาวิสมั พยาใหญ่
ยาธาตุบรรจบ
ยาประสะกานพลู
ยามันทธาตุ
ยาประสะเจตพังคี
ยามหาจักรใหญ่
ถ่ ายกษัย
ปวดเมื่อย
ยาธรณีสนั ฑะฆาต
ยาถ่าย
บารุ งเลือด
ขับ
นา้ คาวปลา
ท้องเสี ย
ยาประสะไพล
ยาเหลืองปิ ดสมุทร
ยาไฟประลัยกัลป์
ยาไฟห้ ากอง
ยาบารุงโลหิต
ยาตรีหอม
วัตถุส่วนประกอบ เนือ้ ลูกสมอเทศ เนือ้ ลูกสมอพิเภก เนือ้ ลูกมะขามป้ อม ลูกผักชีลา หนักสิ่ ง
ละ 4 ส่ วน รากไคร้ เครือ โกศสอ ชะเอมเทศ ลูกซัดคัว่ หนักสิ่ ง
ละ 1 ส่ วน เนือ้ ลูกสมอไทย โกฐนา้ เต้ าใหญ่ นึ่งสุ ก หนักสิ่ งละ 22 ส่ วน
บดเป็ นผง ทาเป็ นเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ
แก้ เด็กท้ องผูก ระบายพิษไข้
รับประทานก่อนอาหารเช้ า
ขนาดรับประทาน
เด็กอายุ 1-2 เดือน ครั้งละ 2-3 เม็ด
เด็กอายุ 3-5 เดือน ครั้งละ 4-5 เม็ด
เด็กอายุ 6-12 เดือน ครั้งละ 6-8 เม็ด
วิธีทา
ยาแสงหมึก
หมึกหอม จันทน์ ชะมด ลูกกระวาน จันทน์ เทศ ใบพิมเสน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์
วัตถุส่วนประกอบ
กานพลู ใบสั นพร้ าหอม หัวหอม ใบกะเพรา หนักสิ่ งละ 4 ส่ วน พิมเสน
หนัก 1 ส่ วน
วิธีทา
บดเป็ นผง ทาเป็ นเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ
แก้ ตัวร้ อน ละลายนา้ ดอกไม้ เทศ
แก้ ท้องขึน้ ปวดท้ อง ละลายนา้ ใบกะเพราต้ ม
แก้ ไอ ขับเสมหะ ละลายนา้ ลูกมะแว้ งเครือ หรือลูกมะแว้ งต้ น กวาดคอ แก้ ปาก
เป็ นแผล แก้ ละออง ละลายนา้ ลูกเบญกานีฝนทาปาก
ขนาดรับประทาน ใช้ กวาดคอวันละ 1 ครั้ง หลังจากนั้น (รับประทานทุก 3 ชั่วโมง)
เด็กอายุ 1-6 เดือน ครั้งละ 2 เม็ด
เด็กอายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 3 เม็ด
คุณจะเลือกอยูใ่ นสังคมแบบ
ไหน ?
เหนื่อย – ท้ อ ให้ พงึ นึกถึง…
อ้ างอิง
1.แนวทางการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทยประยุกต์
สมศักดิ์ นวลแก้ว และคณะ2555.
2.ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ : มุมมองจากทฤษฎีการแพทย์แผน
ไทยและข้อมูลเอกสารทางวิชาการคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์ 2554
3.บัญชียาแผนไทยสาหรับธรงพยาบาลและหน่วยบริ การสาธารณสุ ขกรม
พัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุ ข
พ.ศ.2553
ขอบพระคุณคะ