infection_control[1]

Download Report

Transcript infection_control[1]

Infection Control in
Anesthesia
: Breathing system filters
Nakkanan Sangdee, M.D.
Department of Anesthesiology
Faculty of Medicine
Ramathibodi Hospital
การแพร่ กระจายเชื้อจากผู้ป่วยรายหนึ่งไปยังอีกรายหนึ่ง
(cross infection)
การแพร่ กระจายเชื้อทางก๊าซ (gas-borne route)
• ละอองอากาศ (aerosol) ของเสมหะ (sputum droplets)
•
droplets ที่สามารถแพร่ กระจายได้ จะต้ องมีขนาด 1- 5 มคม.
• วัณโรค และ ไข้ หวัดใหญ่
2. การแพร่ กระจายเชื้อทางของเหลว (liquid-borne route)
• การปนเปื้ อนของเลือดในเสมหะ
• ไวรัสตับอักเสบชนิดบี และซี ไวรัสโรคเอดส์ และโรควัวบ้ า
1.
การใช้ อปุ กรณ์ กรองเชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจ
(breathing system filters)
•
•
•
สามารถช่ วยลดการปนเปื้ อนได้ 2 ทาง คือ
1. ลดการปนเปื้ อนทางก๊าซ (Reducing gas–borne
contamination)
2. ลดการปนเปื้ อนทางของเหลว (Reducing liquid borne contamination)
การลดการปนเปื้ อนทางก๊าซ
• ประสิ ทธิภาพ (effectiveness) ของการกรอง
ขึน้ กับขนาดของอนุภาค
• ขนาดอนุภาคทีส่ ามารถกรองผ่ านวัสดุทใี่ ช้ กรองทุกชนิด
ได้ ง่าย เรียกว่ า “the most penetrating
particle size” โดยมีเส้ นผ่ าศูนย์ กลางเท่ ากับ
0.05-0.5 มคม.
การลดการปนเปื้ อนทางของเหลว
ใช้ การกรองโดยชั้นทีไ่ ม่ ยอมให้ นา้ ผ่าน
(hydrophobic layer) ของอุปกรณ์ กรองเชื้อโรค
ชนิดของอุปกรณ์ กรองเชื้อโรค
•
•
•
อุปกรณ์ กรองเชื้อโรคชนิด pleated hydrophobic
อุปกรณ์ กรองเชื้อโรคชนิด electrostatic
อุปกรณ์ กรองเชื้อโรคชนิด combined filters and
heat and moisture exchangers
อุปกรณ์ ชนิด pleated hydrophobic
• แผ่นของเส้นใย resin–bonded
ceramic
• การอัดแผ่นวัสดุที่ใช้กรองให้เป็ นกลีบ (pleated)
ซึ่ งเป็ นการเพิ่มพื้นที่ผวิ จะทาให้แรงต้านนี้ลดลง
• แผ่นวัสดุที่ใช้กรองชนิดนี้เป็ นชนิด
hydrophobic ซึ่ งจะไม่ดูดซับน้ า
pleated hydrophobic
อุปกรณ์ ชนิด electrostatic
• แผ่นของ polypropylene ซึ่ งทาให้เกิดไฟฟ้ าสถิต
ถาวร
• ความหนาแน่นของเส้นใยมีนอ้ ยกว่าชนิด resin bonded ceramic ทาให้การกรองชนิด
direct interception น้อยกว่า
• การกรองเกิดจากกลไกที่ใช้กระแสไฟฟ้ าสถิตเป็ นหลัก
• วัสดุที่ใช้กรองส่ วนใหญ่จะมีเพียงชั้นเดียว
electrostatic
อุปกรณ์ กรองเชื้อโรคชนิด
combined filters and HME
• HME ประกอบด้ วยชั้นของโฟม หรือ กระดาษที่เคลือบด้ วยเกลือทีด่ ูด
ความชื้น (hygroscopic salt) เช่ น แคลเซียมคลอไรด์
• ใน circle system อาจต้ องใช้ เวลาอย่ างน้ อย 1 ชั่วโมง จึงจะทาให้
เกิดความชื้นสู งสุ ด
• อุปกรณ์ ชนิด electrostatic รักษาความชื้นได้ ต่ามาก
• อุปกรณ์ ชนิด pleated hydrophobic ให้ ความชื้นได้ บ้างจากการ
ระเหยของนา้ จากตัวกรองทีอ่ ดั เป็ นกลีบ
การวัดประสิ ทธิภาพของการกรอง
(Filtration performance)
1. Gas–borne
ประสิ ทธิภาพของการกรองสามารถวัดได้ 2 วิธี คือ
–
–
penetration คือ จานวนของอนุภาคที่สามารถผ่านการ
กรองไปได้ โดยเทียบเป็ นร้อยละของจานวนอนุภาคที่ใส่ เข้า
ไปทดสอบ
efficiency คือ [100 – penetration]
2. Liquid-borne
ขนาดของจุลชีพที่ทาให้เกิดโรคเปรี ยบเทียบกับ
ขนาดของจุลชีพที่ใช้ทดสอบ
จุลชีพ
ขนาด (ไมโครเมตร)
แบคทีเรีย
ความกว้างxความยาว
- Bacillus subtilis var. nigra (test
microbe)
- Pseudomonas aeruginosa
- Tubercle bacilli
- Staphylococci
- Streptococcus pneumoniae
0.6 x 1.1
ไวรัส
- MS-2 (test microbe)
- Hepatitis B
- Hepatitis C
- HIV
เส้ นผ่าศูนย์ กลาง (naked)
0.6 x 2
0.4 x 3
1x1
0.5 x 1
0.023
0.042
0.045
0.09
ค่าการกรอง (penetration)
• ชนิด pleated hydrophobic มีประสิ ทธิภาพในการ
ลดการแพร่ กระจายของเชื้อผ่านทางก๊าซ ได้ดีกว่าชนิด
electrostatic
• ในการทดสอบทางห้องทดลอง (in vitro) อุปกรณ์กรองเชื้อ
โรคชนิด pleated hydrophobic ส่ วนใหญ่สามารถ
กรองแบคทีเรี ยได้ท้ งั หมด
• โดยประสิ ทธิภาพการกรองจะเพิม่ ขึ้น ถ้าความหนาแน่นของเส้น
ใยและความหนาของวัสดุที่ใช้กรองเพิ่มขึ้น (แต่จะทาให้แรงต้าน
ต่อการไหลของก๊าซเพิ่มขึ้นด้วย)
Liquid-borne
• อุปกรณ์ชนิด pleated hydrophobic แรงที่
สามารถผลักดันให้ของเหลวกรองผ่านได้จะต้องมีคา่
มากกว่า 8.04 kPa
• ของเหลวจะถูกผลักดันให้ผา่ นอุปกรณ์ชนิด
electrostatic ได้ ถ้ามีความแตกต่างของความดัน
มากกว่า 1.18 kPa ในอุปกรณ์ที่ใช้กบั ผูใ้ หญ่ และ
มากกว่า 0.98 kPa ในอุปกรณ์ที่ใช้กบั เด็ก
การใช้ อุปกรณ์ กรองเชื้อโรคในทางคลินิก
•
•
•
•
Intensive care
การเกิด ventilator–associated pneumonia มักเกิดจากเชื้อ
โรคทีม่ ีอยู่ในตัวผู้ป่วยเอง
อุปกรณ์กรองเชื้อโรคจึงไม่สามารถช่วยป้ องกัน ventilator–
associated pneumonia ถึงแม้จะสามารถป้ องกันการปนเปื้ อน
ของ breathing system ได้
สามารถใช้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและปลอดภัย ถึงแม้จะเปลี่ยนทุก 57 วัน
การใช้ อุปกรณ์ กรองเชื้อโรคในทางคลินิก
• Anesthesia
• การใช้ อปุ กรณ์ นีส้ ามารถป้องกันการปนเปื้ อนภายในท่อของ
breathing system ได้
• แต่ ไม่ มีหลักฐานแสดงว่ าสามารถลดอุบัติการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาล
(nosocomial infection) ได้
วัณโรค
• อุปกรณ์ส่วนใหญ่สามารถกรองเชื้อวัณโรคได้มากกว่าร้อยละ 99
• เมื่อเชื้อผ่านเข้าไปใน breathing circuit แล้ว
• เกือบร้อยละ 100 สามารถผ่าน soda lime กลับออกมาได้ถา้ มี FGF
ผ่านตลอดเวลา
• เมื่อหยุด FGF < 1 ชัว่ โมง พบเชื้อกลับออกมาได้มากกว่าร้อยละ 50
• เมื่อหยุด FGF > 1 ชัว่ โมง จะไม่พบเชื้อออกมาจาก soda lime เลย
• การใช้เครื่ องดมยาสลบโดยเว้นระยะเวลาห่างกันไม่นาน อาจทาให้มี
โอกาสแพร่ กระจายเชื้อวัณโรคได้
อันตรายและภาวะแทรกซ้ อนจากการใช้ อุปกรณ์ กรองเชื้อโรค
• ผูป้ ่ วยต้องใช้แรงในการหายใจ (work of breathing) เพิ่มขึ้น
• อาจทาให้การกระตุน้ (trigger) เครื่ องช่วยหายใจทาได้ยากขึ้น
• ทาให้ dead space เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงต้องเพิ่มปริ มาตรของการ
ช่วยหายใจ (tidal volume) ซึ่งส่ งผลให้ peak alveolar
pressure สูงขึ้นด้วย
• เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจจากน้ าที่ได้จาก heated
humidifier สารคัดหลัง่ ยาที่ให้ทางการสูดดม หรื อ จากการผลิต
เครื่ องมือที่ไม่ได้มาตรฐาน
ข้ อแนะนาในการใช้ อปุ กรณ์ กรองเชื้อโรค
• American society of anesthesiologist
• แนะนาให้ใช้อุปกรณ์กรองเชื้อโรคเฉพาะผูป้ ่ วยที่เป็ น หรื อ สงสัยว่าเป็ น
วัณโรค
• ควรใส่ อุปกรณ์กรองเชื้อโรคระหว่าง Y-connector และ
mask หรื อ ท่อหายใจ เพื่อลดการปนเปื้ อนของ breathing
circuit เครื่ องให้ยาระงับความรู ้สึก (anesthetic
machine) scavenging system และอากาศภายใน
ห้องผ่าตัด
สรุป
• การใช้อุปกรณ์กรองเชื้อโรค คือ ลดการปนเปื้ อนของ breathing circuit
ลดการทิ้ง disposable breathing systems
• มีการศึกษาที่แสดงว่าการใช้อุปกรณ์น้ ี สามารถลดการปนเปื้ อนของ
breathing circuit ได้ แต่ไม่มีหลักฐานว่าสามารถลดอุบตั ิการณ์ของการ
ติดเชื้อในโรงพยาบาล (nosocomial infection) ได้
• ไม่มีความจาเป็ นที่จะใช้อุปกรณ์น้ ี เป็ นประจา (routine) ในผูป้ ่ วยทุกราย
• แนะนาให้ใช้ในผูป้ ่ วยที่เป็ น หรื อ สงสัยว่าเป็ นวัณโรค เนื่องจากในปัจจุบนั มีปัญหา
การดื้อยารักษาวัณโรคค่อนข้างสู ง และในผูป้ ่ วยโรค SARS ซึ่ งเป็ นโรคที่
รุ นแรงถึงชีวติ โดยควรต่ออุปกรณ์กรองเชื้อโรคระหว่างท่อหายใจกับ Yconnector ของ breathing circuit และเปลี่ยนทุกครั้งหลังการใช้
กับผูป้ ่ วยแต่ละราย