หญิงตั้งครรภ์

Download Report

Transcript หญิงตั้งครรภ์

การใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์
โดย
ภญ.ฐิตาภรณ์ จาปาเงิน
สตรีมีครรภ์ กับ ข้ อควรระวังในการใช้ ยา
• การใช้ยาในสตรี มีครรภ์เป็ นเรื่ องที่ตอ้ งระมัดระวังอย่างยิง่
• เพราะยาบางชนิดสามารถผ่านรกไปถึงทารกในครรภ์ได้
• โดยเฉพาะในระยะตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก ซึ่งเป็ นช่วงที่ทารกกาลังมีการ
พัฒนารู ปร่ างอวัยวะต่าง ๆ
• ยาบางชนิดอาจมีผลให้ทารก มีความพิการทางรู ปร่ าง เช่น แขนขากุด
ปากแหว่ง เพดานโหว่
• โดยปกติสตรี มีครรภ์ไม่ควรใช้ยาเองเลย หากแต่เมื่อมีความ จาเป็ นต้อง
ใช้ยา ควรใช้ยาตามคาแนะนาและการดูแลของแพทย์หรื อเภสัชกรอย่าง
ใกล้ชิด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อสตรี มีครรภ์และทารกในครรภ์มาก
ที่สุด
Teratogenic drug
• Teratogenic drug หมายถึง ยาที่ไปทาให้เกิดความผิดปกติแก่การ
เจริ ญเติบโตของ Embryo หรื อ เด็กในครรภ์โดยที่แม่ได้รับยาเข้าไปขณะ
ตั้งครรภ์
• ยา Thalidomide เคยใช้เป็ นยาแก้คลื่นไส้อาเจียนในหญิงตั้งครรภ์
- การทดลองในสัตว์ทดลองที่ต้ งั ครรภ์ เช่น หนู กระต่าย ไม่พบความ
พิการแต่กาเนิดในสัตว์ทดลอง จึงนามาใช้กบั คนเป็ นเวลา 10 ปี
- การใช้ยาในสตรี ที่อายุครรภ์ระหว่าง 30-50 วัน อาจทาให้เกิดความ
ผิดปกติของเด็กในครรภ์ แขน ขากุด (Phocomelia) ร้อยละ 25
ปัจจัยที่มีผลทาให้ เด็กในครรภ์ ไวต่ อยาในการเกิดความ
พิการแต่ กาเนิด
1. ปริมาณยาที่ได้ รับ เภสั ชวิทยาของยา และความสามารถในการผ่ านรก
ไปยังเด็ก
2. ระยะและอายุของ Embryo ขณะได้ รับยา
3. ความไวของเด็กในครรภ์ เกีย่ วกับพันธุกรรม
4. สภาวะทั่วไปของแม่
เภสั ชจลนพลศาสตร์ ของยาในร่ างกายสตรีมีครรภ์
1. การดูดซึมยา
(ทางเดินอาหาร. ทางเดินหายใจ, ทางผิวหนัง)
2. การกระจายยา
(ในร่ างกาย, ในไขมัน, การไหลเวียนโลหิ ต)
3. การย่ อยสลายยา (เมตาบอลิซึม)
(ตับ)
4. การขับถ่ ายยา
(ไต, รก)
• ยาเกือบทุกชนิดมีผลต่อทารกในครรภ์ เนื่องจากสามารถผ่านทางรกได้
• ระดับยาในทารกมีค่าประมาณร้อยละ 50-100 ของระดับยาในมารดา
• โดยยาจะผ่านรกเข้าสู่กระแสเลือดทารกทางเส้นเลือดดาและทางสาย
สะดือ จากนั้นยาร้อยละ 40-60 จะผ่านตับของทารก ซึ่งจะช่วย
metabolite ยาบางส่ วนก่อนที่จะไปสู่อวัยวะอื่นๆของร่ างกาย
• ผลข้ างเคียงและผลของยาต่ อทารกในครรภ์ จะพบรุนแรงกว่ าในผู้ใหญ่
เนื่องจากทารกมียาในรู ปอิสระในกระแสเลือดมากกว่า เพราะโปรตีนใน
พลาสมาของทารกมีนอ้ ยกว่า การกระจายยามีมากกว่า การซึมผ่านของยา
เข้าสู่เนื้อเยือ่ ต่างๆ ทาได้ดีกว่า การทางานของตับไม่สมบูรณ์ การขับถ่าย
ทางไตไม่สมบูรณ์ และต้องอาศัยรกเป็ นตัวกาจัดยา
อายุครรภ์ ของมารดาขณะสั มผัสยา
1. Preimplantation period คือระยะตั้งแต่ปฏิสนธิ (fertilization) ถึงก่อน
การฝังตัวของ blastocyst ในโพรงมดลูก 2 สัปดาห์หลังปฏิสนธิ การ
สัมผัสยาในช่วงนี้มีผลต่อเซลล์ตวั อ่อนในแบบ all or none response คือ
อาจทาให้เซลล์ถูกทาลายทั้งหมดแล้วแท้งออกมา หรื อไม่ถูกทาลายแล้ว
สามารถตั้งครรภ์ได้ต่อไป โดยไม่มีความพิการเกิดขึ้นที่ทารก
2. Embryonic period คือ ระยะตั้งแต่สัปดาห์ที่ 2-8 หลังปฏิสนธิ เป็ น
ระยะเวลาที่สาคัญที่สุด เนื่องจากเป็ นระยะที่มีการแบ่งตัวของเซลล์ และ
พัฒนาไปเป็ นอวัยวะสาคัญต่างๆ (orgenogenesis) ผลของยาอาจรุ นแรง
จนทาให้ตวั อ่อนตาย หรื ออาจเกิดความพิการของอวัยวะต่างๆได้
อายุครรภ์ ของมารดาขณะสั มผัสยา (ต่ อ)
3. Fetal period คือ ระยะตั้งแต่อายุครรภ์ 9 สัปดาห์หลังปฏิสนธิจนถึงทารก
คลอดครบกาหนด เป็ นระยะที่ทารกสร้างอวัยวะสาคัญต่างๆเกือบเสร็ จ
สมบูรณ์แล้ว และทารกในครรภ์กาลังเจริ ญเติบโต ผลของยาจึงอาจเป็ น
เพียง minor malformation เข้าไปหยุดการเจริ ญเติบโตทาให้เกิด
ภาวการณ์เติบโตช้าในครรภ์ สมองเสื่ อม ทารกน้ าหนักน้อย หรื อการ
ทางานของอวัยวะบางอย่างบกพร่ องเท่านั้น
รู ปร่ างหน้าตา(d13-60) ประสาท (d15-25) หัวใจ (d20-40) ตา (d24-30) แขนขา (d24-26)
ความไวของเด็กในครรภ์ เกีย่ วกับพันธุกรรม
• Embryo จะมีปฏิกิริยาต่อสารจากภายนอกมากน้อยเท่าใดขึ้นอยูก่ บั ภาวะ
ทางพันธุกรรม
• ชนิดของสัตว์ ต่างเผ่าพันธุ์ สายพันธุ์เดียวกัน
• Thalidomide ทาให้กาเนิดเด็กพิการร้อยละ 25
สภาวะทั่วไปของแม่
• ปัจจัยด้านสรี ระวิทยา
–
–
–
–
–
อายุ
อาหาร
สภาวะของมดลูก
ความสมดุลของฮอร์โมนในร่ างกาย
ภาวะแวดล้อมทัว่ ไป
• ปัจจัยด้านพยาธิวิทยา
– โรคอ้วน
– ความดันเลือดสูง
– ความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ เช่น
เบาหวาน
– การทางานของตับผิดปกติ
การแบ่ งชนิดของยาที่ใช้ ในขณะตั้งครรภ์
• แบ่ งตามผลทีอ่ าจเกิดขึน้ กับทารกในครรภ์ แบ่ งเป็ น 5 กลุ่ม
– Pregnancy Category A
– Pregnancy Category B
– Pregnancy Category C
– Pregnancy Category D
– Pregnancy Category X
PREGNANCY CATEGORY
1. Categories A : ยาที่ไม่ พบว่ามีความเสี่ยงต่ อทารกในครรภ์ เลย จากการศึกษาแบบควบคุมในมนุษย์ ได้ แก่ วิตามิน
รวมชนิดต่ างๆ (Multivitamins)
2. Categories B : การศึกษาในสัตว์ทดลองไม่ พบว่ายาทาอันตรายต่อตัวอ่อนหรือทาให้ ตวั อ่อนพิการ แต่ ไม่ มีการศึกษา
ในคน หรือ แม้ ว่าการศึกษาในสัตว์ทดลองจะพบอันตรายต่ อตัวอ่อนในครรภ์ แต่ การศึกษาที่เชื่อถือได้ ในคนกลับไม่ พบ
อันตรายใด ๆ
3. Categories C : การศึกษาในสัตว์ทดลองพบว่ามีอนั ตรายต่ อตัวอ่อนหรือทาให้ ตวั อ่อนพิการ แต่ ไม่ มีการศึกษาในคน
หรือ ไม่ มีการศึกษาทั้งในสัตว์ทดลองและคน
PREGNANCY CATEGORY (ต่ อ)
4. Categories D : มีหลักฐานว่ายาทาให้ เกิดอันตรายต่ อทารกในครรภ์ มารดาได้ แต่ ในสถานการณ์ ที่จาเป็ น เช่ นผู้ป่วย
อาการรุนแรงและไม่ มียาที่ปลอดภัยกว่าหรือมีแต่ ใช้ ไม่ ได้ ผล อาจพิจารณาให้ ใช้ ยาได้ แม้ จะเสี่ยงก็ตาม
5. Category X ยาที่มขี ้ อห้ ามการใช้ ในระหว่ างการตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการศึกษาที่
แน่ นอนทั้งในมนุษย์ และสั ตว์ ทดลองว่ าทาให้ เกิดความเสี่ ยงหรืออันตรายต่ อทารกใน
ครรภ์ หรือมีรายงานการเกิดอันตรายต่ อทารกในครรภ์ ของมนุษย์ ทชี่ ัดเจนมากกว่ า
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการใช้ ยาเพือ่ การรักษา
Pregnancy Category ต่ างๆแบ่ งเป็ น ....(ต่ อ)
Pregnancy
Category
การทดลองในมนุษย์ การทดลอง
ในสั ตว์
A
+
+
+ คือมีการทาการทดลอง
แล้วและพบว่า ยามีความ
ปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์
B
0
+
0 คือยังไม่มีการทาการ
C
0
-
ทดลอง
- คือมีการทาการทดลอง
แล้วและพบว่า ยาไม่
ปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์
D
-
0
X
-
0
15
ยาที่ห้ามใช้ ในสตรีมีครรภ์ มี 4 ประเภท ได้ แก่
•
•
•
•
ยาทีท่ าให้ ทารกในครรภ์ พกิ าร
ยาทีอ่ าจทาให้ เด็กในครรภ์ พกิ าร
ยาทีม่ ีพษิ ต่ อเด็กในครรภ์
ยาทีท่ าให้ เกิดอันตรายต่ อสตรีมีครรภ์
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์
•
ยาทีอ่ าจทาให้ ทารกในครรภ์ พกิ าร ซึ่งไม่ ควรใช้ ในหญิงตั้งครรภ์
ที่พบบ่ อย เช่ น
- ฮอร์ โมนเพศหญิง : เอสโตรเจน
- สารปรอท
- ยารักษาโรคลมชัก-เฟนิโทอิน มีชื่อทางการค้ า เช่ น ไดแลนทิน
- แอลกอฮอล์ (เหล้า เบียร์ )
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์
•
ยาทีอ่ าจมีพษิ หรือผลข้ างเคียงต่ อทารกในครรภ์
ซึ่งไม่ ควรใช้ ในหญิงทีต่ ้งั ครรภ์ หรือควรใช้ ด้วยความระมัดระวัง
เช่ น
- แอสไพริน : ถ้ ากินในระยะใกล้คลอด อาจทาให้ ทารกทีเ่ กิด
มามีเลือดออกง่ าย
- ยาต้ านอักเสบที่ไม่ ใช่ สเตียรอยด์ เช่ น อินโดเมทาซิน , เฟนิลบิวตาโซน
อาจทาให้ ทารกเลือดออกง่ าย
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์
- เตตราไซคลีน ถ้าใช้ในหญิงตั้งครรภ์ระยะไตรมาสที่ 2 และ 3 อาจทา
ให้ทารกฟันเหลืองดา กระดูกเจริ ญเติบโตผิดปกติ (สมองพิการ
ปัญญาเสื่ อม
- ยาประเภทซัลฟา ถ้าใช้ในหญิงระยะใกล้คลอด อาจทาให้ทารกเกิด
อาการดีซ่านและสมองพิการได้
- คลอแรมเฟนิคอล อาจทาให้ทารกแรกเกิดมีอาการตัวเขียว เนื้อตัวอ่อน
ปวกเปี ยก ตัวเย็น หมดสติดงั ที่เรี ยกว่า เกรย์ซินโดรม
- สเตรปโตไมซิน คาน่ าไมซิน , เจนตาไมซิน ถ้าใช้นาน ๆ อาจทาให้
ทารกหูพิการได้
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์
- ยาเสพติด (เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน) ถ้าใช้ในระยะใกล้คลอด อาจทา
ให้กดศูนย์ควบคุมการหายใจของทารก( ทาให้ทารกเกิดมาหยุด
หายใจ) หรื อมีอาการขาดยา ทาให้ทารกชักได้
- ฟี โนบาร์ บิทาล ถ้าใช้ในระยะใกล้คลอด อาจกดศูนย์ควบคุมการ
หายใจของทารก (ทาให้ทารกเกิดมาหยุดหายใจ) หรื อมี
เลือดออกได้
- ยาแก้ชัก เช่น ไดแลนทิน อาจทาให้ทารกเลือดออกง่าย
- ยานอนหลับ เช่น เมโพรบาเมต อาจทาให้ทารกเจริ ญเติบโตช้า
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์
- ยารักษาคอพอกเป็ นพิษ ได้แก่ เมทิมาโซล อาจทาให้ทารกเกิดโรค
ต่อมไทรอยด์ทางานน้อย ตัวเตี้ยแคระและปัญญาอ่อน
- ยารักษาเบาหวานชนิดกิน เช่น คลอร์โพรพาไมด์ อาจทาให้เกิด
ภาวะน้ าตาลในเลือดต่าในเด็กแรกเกิดได้
- ยารักษา มาเลเรีย คลอโรควีน อาจทาให้มีพิษต่อหูของเด็ก
- ยาควินิน ถ้าให้จานวนมาก อาจทาให้แท้งบุตร หรื อมีพิษต่อหูของ
เด็กได้
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์
- ยาความดัน รีเซอร์ พนี ถ้าใช้ในระยะใกล้คลอด อาจทาให้ทารก
แรกเกิดมีอาการคัดจมูก ตัวเย็น หัวใจเต้นช้า ตัวอ่อนปวกเปี ยก
- ยาพวกโพรพราโนลอล อาจทาให้ทารกในครรภ์เจริ ญเติบโตช้า
ทารกแรกเกิดมีชีพจรเต้นช้า หรื อเกิดภาวะน้ าตาลในเลือดต่า
- บุหรี่ ถ้าสูบมากอาจทาให้ทารกตายในครรภ์ แท้ง หรื อคลอดก่อน
กาหนด หรื อทารกอาจเกิดมาน้ าหนักน้อยกว่าปกติ
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์
•
ยาทีอ่ าจมีอนั ตรายต่ อหญิงทีต่ ้งั ครรภ์ ยาทีอ่ าจมีโทษหรืออันตราย
ต่ อหญิงตั้งครรภ์ โดยตรง
เช่ น
- แอสไพริน และยาต้ านอักเสบทีไ่ ม่ ใช่ สเตียรอยด์ อาจทาให้ คลอด
เกินกาหนด และคลอดยาก
- เตตราไซคลีน อาจมีพษิ ต่ อตับอย่ างรุนแรง จนเป็ นอันตรายได้
- ไนโตรฟูแรนโทอิน อาจทาให้ ตับอักเสบ โลหิตจาง
ยาสิ ว
• ปัจจุบันมีการใช้ ยารักษาสิ วด้ วยกรดวิตามินเอกันอย่ างแพร่ หลาย
• ชื่อสามัญ “ไอโซเตติโนอิน” (Isotretinoin) ผู้ทมี่ ีสิทธิ์สั่งยาต้ องเป็ นแพทย์
ทีไ่ ด้ รับวุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญด้ านผิวหนัง หรือผ่ านการอบรมทางผิวหนัง 2 ปี
• เป็ นยาควบคุมพิเศษ จะให้ ในกรณีทมี่ ีข้อบ่ งชี้ เช่ น สิ วขั้นรุนแรงทีอ่ กั เสบ
เป็ นหนอง เป็ นซีส หรือสิ วทีเ่ ป็ นแล้วส่ งผลทางจิตใจผู้ทเี่ ป็ นอย่ างมาก
• ยามีผลข้ างเคียงมาก โดยเฉพาะผลในสตรีทมี่ ีครรภ์
ยาสิ ว (ต่ อ)
• การใช้ ยาอย่ างพร่าเพรื่อ เนื่องจากยาตัวนีไ้ ด้ หมดลิขสิ ทธิ์จากบริษัทเดิม
แล้วทาให้ มีการผลิตโดยบริษทั อืน่ ทั้งในและต่ างประเทศ จนเป็ นเหตุให้
ควบคุมการใช้ ไม่ ได้
• ประชาชนสามารถหาซื้อเองได้ ตามร้ านขายยา หรือบางครั้งร้ านเสริม
สวย หรือเพือ่ นฝากซื้อ
• อย. : การลักลอบจาหน่ วยยารักษาสิ วชนิดกรดวิตามินเอโดยไม่ มีใบสั่ ง
แพทย์ ในร้ านขายยา ร้ านเสริมสวย ร้ านค้ าทัว่ ไป หรือช่ องทางอืน่ ๆที่
ไม่ ใช่ สถานพยาบาล ถือเป็ นความผิดข้ อหาขายยาโดยไม่ ได้ รับอนุญาต
โทษจาคุกไม่ เกิน 5 ปี และปรับไม่ เกิน 10,000 บาท
ผลข้ างเคียงของยารักษาสิ วกลุ่มกรดวิตามินเอ
• ผลต่ อทารกในครรภ์ (teratogenicity)
- ผู้ทไี่ ด้ ยานีข้ ณะตั้งครรภ์ พบ มีการแท้ ง (3-20%), ทารกพิการแต่ กาเนิด
(กระดูกใบหน้ าและศีรษะ ระบบประสาท ระบบหลอดเลือด ต่ อมไธมัส ,
18-47%),
- ก่อนใช้ ยาต้ องแน่ ใจว่ าไม่ มกี ารตั้งครรภ์ มีการคุมกาเนิดที่มี
ประสิ ทธิภาพระหว่ างได้ รับยาและหลังหยุดยาไปแล้วอย่ างน้ อย 1 เดือน
ไม่ ให้ ยาในระหว่ างให้ นมบุตรเพราะยาผ่ านทางนา้ นมได้
ผลข้ างเคียงของยารักษาสิ วกลุ่มกรดวิตามินเอ (ต่ อ)
• ผลต่ อเยือ่ บุและผิวหนัง : ปากแห้ง แตก ผิวหนังแห้ง แดง เป็ นผืน่ แดง ลอก คัน เลือด
กาเดาไหล ตาแห้ง โดยเฉพาะผูท้ ี่ใส่ คอนแท็คเล็นส์ (ผลข้างเคียงขึ้นกับปริ มาณยาที่ได้รับ)
• ผลต่ อไขมันและตับ : ระดับไขมันสูงขึ้น
TG (25-44%), CH (30%) แต่ลด HDL (20-
25%)
• กระดูกและกล้ามเนือ้ : อาจพบการหนาตัวของกระดูกและมีแคลเซียมมาเกาะที่เอ็น (คน
อายุมาก ยาขนาดสูง ใช้ยานาน) กระดูกปิ ดก่อนกาหนด(ระวังใช้ในคนอายุ<18ปี )
• ระบบประสาท : ความดันในศีรษะเพิ่มขึ้น ปวดหัว ตามัว
• ระบบเลือด : พบเม็ดเลือดขาด และเกล็ดเลือดต่าได้แต่นอ้ ยมาก
หลักการใช้ ยา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ใช้ ยาเฉพาะทีจ่ าเป็ นและมีข้อบ่ งชี้ชัดเท่ านั้น หลีกเลีย่ งการใช้ ยาในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
ใช้ จานวนยาทีน่ ้ อยทีส่ ุ ด และหยุดยาโดยเร็วทีส่ ุ ด และควรหลีกเลีย่ งการใช้ ยาหลายชนิดพร้ อมกัน
หรือการใช้ ยาสู ตรผสมในการรักษาโรคหรืออาการต่ างๆ
ใช้ ยาทีท่ ดสอบได้ ผลแน่ นอนและเป็ นทีร่ ับรองแล้ วว่ าไม่ มผี ลต่ อเด็กในครรภ์ และไม่ ควรนายาใหม่ ๆ
มาทดลองกับหญิงมีครรภ์
หลีกเลีย่ งการใช้ ยาในสั ปดาห์ สุดท้ ายของการตั้งครรภ์ และถ้ าหลีกเลีย่ งไม่ ได้ ควรแจ้ งให้ กุมารแพทย์
ทราบโดยเร็วเพือ่ แก้ ไขในเด็กแรกเกิด
สตรีมคี รรภ์ ควรใช้ ยาในขนาดทีต่ ่าทีส่ ุ ดทีใ่ ห้ ผลในการรักษาในระหว่ างการตั้งครรภ์ และใช้ ใน
ระยะเวลาสั้ นทีส่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะเป็ นไปได้
ในการใช้ ยาในหญิงตั้งครรภ์ ควรพิจารณาเลือกใช้ ยาภายนอกก่ อนในโรคทีส่ ามารถรักษาด้ วยยา
ภายนอกได้ เช่ น ยาทาแก้ เชื้อรา ยาเหน็บช่ องคลอด เป็ นต้ น
การใช้ ยาในหญิงให้ นมบุตร
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงให้ นมบุตร(เพิม่ เติม)
•
ยาทีค่ วรหลีกเลีย่ งในระยะให้ นมบุตร
มารดาทีเ่ ลีย้ งบุตรด้ วยนมตัวเอง ควรหลีกเลีย่ งการใช้ ยาที่
สามารถปนอยู่ในนา้ นม ซึ่งอาจมีโทษต่ อทารกได้ เช่ น
- เตตราไซคลีน อาจทาให้ ฟันเหลืองดาและกระดูกเจริญ
ผิดปกติ
- ซัลฟา อาจทาให้ ทารกมีอาการดีซ่าน และสมองพิการ
- ซัลฟา ไนโตรฟูแรนโทอิน อาจทาให้ ทารกเกิดโลหิตจางจาก
เม็ดเลือดแดงแตก ถ้ ามีภาวะพร่ องเอนไซม์ จี-6-พีดี
ข้ อระวังการใช้ ยาในหญิงให้ นมบุตร(เพิม่ เติม)
- คลอแรมเฟนิคอล อาจทาให้ เกิดโรคโลหิตจางจากไขกระดูกฝ่ อ
- อะม็อกซีซิลลิน อาจทาให้ เด็กท้ องเดิน
- เมโทรไนดาโซล อาจทาให้ เด็กเบื่ออาหาร อาเจียน
- แอสไพริน อาจทาให้ เกิดผืน่ ในทารก
- แอลกอฮอล์ บาร์ บิทูเรต อาจทาให้ เด็กง่ วงซึมได้ และถ้ าแม่ ดื่มสุ รามาก
อาจมีผลต่ อการเจริญเติบโตสมองเด็ก
- ฮอร์ โมนเพศ เช่ น เอสโตรเจน โพรเจสเตอโรน แอนโดรเจน
อาจทาให้ นา้ นมลดน้ อยลง หรือหยุดไหล
- ยารักษาเบาหวานชนิดกิน ทาให้ เกิดภาวะนา้ ตาลในเลือดต่าในทารก
- รีเซอร์ พนี ทาให้ เด็กคัดจมูก มีเสมหะมาก
หลักการใช้ ยาในระยะให้ นมบุตร
• ถ้ ามีโอกาสเลือกใช้ ยาได้ หลายชนิด ให้ เลือกยาทีถ่ ูกขับออกมาในนา้ นมแม่
ได้ น้อยทีส่ ุ ด หรือ เลือกยาทีท่ ราบว่ ามีอนั ตรายต่ อทารกน้อยทีส่ ุ ด
• ถ้ าเป็ นยาทีท่ ราบว่ าอาจมีอนั ตรายต่ อทารก แต่ มีความจาเป็ นต้ องให้ แม่
ในช่ วงระยะเวลาสั้ นให้ หยุดนมแม่ ชั่วคราว เมื่อเลิกใช้ ยาแล้ว และคาดว่ า
ปริมาณยาทีถ่ ูกขับออกมาในนา้ นมหมดไปแล้ว ก็ให้ เริ่มเลีย้ งลูกด้ วยนม
แม่ ต่อไปได้ ยาทีค่ วรหลีกเลีย่ งในระยะทีใ่ ห้ นมบุตร
การใช้ ยาในทารกและเด็กเล็ก
ข้ อระวังการใช้ ยาในทารกและเด็กเล็ก(เพิม่ เติม)
•
ยาทีอ่ าจเป็ นอันตรายต่ อทารก และเด็กเล็ก เช่ น
- แอสไพริน ไม่ ควรใช้ ในเด็กอายุต่ากว่ า 1 ขวบ อาจทาให้ มีเลือดออกได้
- ยาแก้แพ้ ไม่ ควรใช้ ในทารกอายุต่ากว่ า 2 สั ปดาห์ อาจทาให้ ซึม นอนไม่
หลับ หรือชักได้
- เตตราไซคลีน ห้ ามใช้ ในเด็กอายุต่ากว่ า 8 ปี อาจทาให้ ฟันเหลืองดาอย่ าง
ถาวร และกระดูกเจริญไม่ ดี
ข้ อระวังการใช้ ยาในทารกและเด็กเล็ก(เพิม่ เติม)
•
ยาทีอ่ าจเป็ นอันตรายต่ อทารก และเด็กเล็ก เช่ น
- คลอแรมเฟนิคอล ห้ ามใช้ ในทารกอายุต่ากว่ า 4 เดือน อาจทาให้ เด็กตัว
เขียว เนือ้ ตัวอ่อนปวกเปี ยกหมดสติ ดังทีเ่ รียกว่ า เกรย์ ชินโดรม
- ซัลฟา ห้ ามใช้ ในทารกอายุต่ากว่ า 2 เดือน อาจทาให้ เกิดอาการดีซ่านและ
สมองพิการได้
- ยาแก้ท้องเดินประเภทลดการเคลือ่ นไหวของลาไส้ เช่ น ทิงเจอร์ ฝิ่น
การะบูน, โลโมทิล ไม่ ควรใช้ ในเด็กอายุต่ากว่ า 2 ปี อาจกดศูนย์ การ
หายใจ เป็ นอันตรายได้
HIV : กรณีหญิงตั้งครรภ์ ไม่ ได้ มาฝากครรภ์
• หญิงตั้งครรภ์ ไม่ ได้ รับยาต้ านไวรัสมีโอกาสแพร่ เชื้อให้ ทารกสู งมากถึง
ร้ อยละ 25-40
• จาเป็ นทีจ่ ะต้ องให้ ยาในหญิงตั้งครรภ์ โดยเร็วทีส่ ุ ด เพือ่ หวังผลไปเตรียม
ระดับยาในตัวทารกให้ สูงเพียงพอในขณะคลอด
• รีบให้ ยาในทารกให้ เร็วทีส่ ุ ดหลังคลอดด้ วย
• หากการเจ็บครรภ์ คลอดไม่ ได้ ดาเนินไปอย่ างรวดเร็ว การผ่ าท้ องคลอด
หลังได้ รับยาต่ างๆไป 2 ชม.แล้วอาจจะช่ วยละโอกาสที่ทารกจะติดเชื้อลง
ได้
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข, 28 ตค 2553
ยาเม็ดไอโอดีนให้ หญิงตั้งครรภ์
สธ.มอบยาเม็ดไอโอดีนให้ หญิง
ตั้งครรภ์ ทุกคนเสริมไอคิวให้ เด็กไทย
• นโยบายให้ หญิงตั้งครรภ์ ได้ รับ Iodine ของกระทรวงสาธารณสุ ข เพือ่
แก้ไขปัญหา “เด็กไทยไอคิวต่า”
• เนื่องจากผลการสารวจสภาวะสุ ขภาพคนไทย โดยสถาบันวิจัยระบบ
สาธารณสุ ข ปี 2552 พบว่ าไอคิวเด็กไทยเฉลีย่ 91 จุด ในขณะที่
มาตรฐานสากลอยู่ที่ 90-110 จุด ซึ่งไอคิวเด็กไทยอยู่ในมาตรฐานขั้น
ต่าสุ ด
• ในส่ วนของหญิงตั้งครรภ์ พบว่ าร้ อยละ 60 มีระดับไอโอดีนในปัสสาวะ
ต่ากว่ า 150 microgram/litre โดยตัวเลขรวมสู งกว่ าเกณฑ์ ทอี่ งค์ การ
อนามัยโลกกาหนดคือไม่ เกินร้ อยละ 50
• การขาดไอโอดีนจะทาให้ ทารกที่คลอดมาเสี่ ยงพิการและเสี่ ยงปัญญาอ่อน
หากขาดรุนแรง
• ผลการสารวจพัฒนาการเด็กสมวัยโดยกรมอนามัยพบว่ าพัฒนาการของ
เด็กมี แนวโน้ มต่าลง ในปี 2542 มีเด็กที่พฒ
ั นาการสมวัยร้ อยละ 71 ส่ วน
ปี 2550 ลงลงเหลือร้ อยละ 67
• สาเหตุท้งั หมด องค์ การอนามัยโลก องค์ กรยูนิเซฟ และกระทรวง
สาธารณสุ ข มีความเห็นสอดคล้องเช่ นเดียวกับคณะกรรมการควบคุม
โรคขาดสารไอโอดีนแห่ งชาติ ว่ าสาเหตุสาคัญประการหนึ่งเกิดมาจาก
การขาดสารไอโอดีน
• ค่ าไอโอดีนในปัสสาวะ (median urinary iodine concentration) ค่ าปกติคอื
150-249 ไมโครกรัมต่ อลิตร
• ปริมาณ Iodine, Iron, folic acid ที่หญิงตั้งครรภ์ ต้องการต่ อวันคือ 0.2 (บาง
แหล่งระบุ 0.22 mg สาหรับหญิงมีครรภ์ และ 0.29 mg สาหรับสตรีให้ นม
บุตร), 60 และ 0.6 (บางแหล่งข้ อมูลระบุ 0.4) มิลลิกรัมตามลาดับ
• หญิงตั้งครรภ์มีความจาเป็ นต้องได้รับไอโอดีนเสริ ม เนื่องจากร่ างกายต้อง
ผลิต Thyroxine (T4) เพิ่มขึ้นเพื่อรักษาระดับฮอร์โมนไธรอยด์ให้อยูใ่ นช่วง
ปกติ และส่ งไธรอยด์ฮอร์โมนไปยังทารก ทารกต้องการไอโอดีนในการ
ผลิตไธรอยด์ฮอร์โมน โดยเฉพาะในระยะท้ายของการตั้งครรภ์ และหญิง
ตั้งครรภ์มีการกาจัดไอโอดีนทางไตเพิ่มขึ้น
• ช่ วงไตรมาสแรก เป็ น ช่ วงที่ทารกกาลังสร้ างอวัยวะ สมองเป็ นอวัยวะ
หนึ่งทีเ่ จริญมากในช่ วงนี้ และจาเป็ นต้ องใช้ ไอโอดีนในการเสริมสร้ าง
สมอง ซึ่งได้ รับจากมารดาผ่ านสายรก และทารกในช่ วงนีย้ งั ไม่ สามารถ
สร้ างฮอร์ โมนไธรอยด์ เองได้ จึงจาเป็ นต้ องได้ รับจากมารดาด้ วย
• ในช่ วงไตรมาส 2-3 ยังจาเป็ นต้ องได้ รับไอโอดีนจากมารดาผ่านสายรก
แต่ ฮอร์ โมนไธรอยด์ ทจี่ ะได้ รับจากแม่ น้ันจะน้ อยลง เนื่องจากสามารถ
สร้ างฮอร์ โมนไธรอยด์ บางส่ วนได้
• การขาดไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ จะมีผลเสี ยต่ อระบบประสาทและสมอง
ของทารก
• เนื่องจากฮอร์ โมนของต่ อมไธรอยด์ มคี วามจาเป็ นต่ อการเสริมสร้ าง
ระบบประสาทในระหว่ างอยู่ ในครรภ์ และหลังคลอด
• การขาดฮอร์ โมนไธรอยด์ ในช่ วงดังกล่าวจะทาให้ ทารกมีพฒ
ั นาการทาง
สมองช้ าและระบบประสาทมีความผิดปกติ ทั้งนีอ้ ยู่กบั เวลาและความ
รุนแรงของการขาดฮอร์ โมนของต่ อมไธรอยด์
• ภาวะขาดไอโอดีนรุนแรงในเด็กจะเรียกว่ า Cretinism เด็กจะมีลกั ษณะ
หน้ า เอ๋อ ลิน้ คับปาก ตัวบวม สมองช้ า
ยาเสริมไอโอดีนทีผ่ ลิตโดยองค์ การเภสั ชกรรม
มี 2 สู ตร
• Iodine GPO (Iodine เดี่ยว ขนาด 0.15 mg) สาหรับหญิงตั้งครรภ์ที่เป็ น
Thalassemia ซึ่ งมีขอ้ จากัดเรื่ องการได้รับธาตุเหล็ก กินวันละ 1 เม็ด
• TRIFERDINE (ยาเม็ดผสมประกอบด้วย Iodine 0.15 mg+Ferrous fumarate 60.81
elemental iron+Folic acid 0.4 mg) กินวันละ 1 เม็ด ตลอดการตั้งครรภ์และขณะ
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
อาการข้ างเคียงของยา
• อาการข้ างเคียงของยา Iodine : ผืน่ แดง ปวดท้อง อาเจียน หายใจไม่
สะดวก (ควรหยุดยา) และปรึ กษาแพทย์ ผูท้ ี่มีความผิดปกติของต่อมไธ
รอยด์ ปรึ กษาแพทย์ก่อนใช้ยานี้
• อาการข้ างเคียงของยา Triferdine : ผืน่ แดง ปวดท้อง อาเจียน หายใจ
ไม่สะดวก (ควรหยุดยา) และปรึ กษาแพทย์ อาจทาให้ทอ้ งผูก ท้องเสี ย
อุจจาระสี ดา และจุกแน่น
ในการให้ ยา Triferdine
ไม่ ควรให้ เกิน 1 เม็ดต่ อวัน
• เนื่องจากถ้าให้มากไปอาจทาให้ได้รับปริ มาณ iodine มากเกินความจาเป็ นส่ งผลให้
เกิดปั ญหาความผิดปกติของไธรอยด์ฮอร์โมนได้
• การให้ยา Triferdine ควบคู่กบั ยาเสริ มธาตุเหล็กอื่น ๆ เช่น FBC หรื อ Obimin AZ
จึงควรต้องพิจารณาปริ มาณ Iodine ที่ผปู ้ ่ วยจะได้รับทุกครั้งว่าเกินกว่าปริ มาณที่
แนะนาหรื อไม่
• ในเบื้องต้น หากให้คู่กบั FBC ไม่น่ามีปัญหา แต่ถา้ ให้พร้อม Obimin AZ ซึ่ งใน
Obimin AZ 1 เม็ดจะมี Iodine 0.2 mg จึงอาจต้องพิจารณาเป็ นกรณี ไป) การให้
Iodine เสริ มตามที่ RDA กาหนดย่อมเป็ นผลดีต่อผูป้ ่ วย การตัดสิ นว่า Iodine มาก
เกินไปหรื อไม่จาเป็ นต้องดู upper limit ที่หญิงมีครรภ์สามารถบริ โภคได้ต่อวันว่า
อยูท่ ี่ระดับใด
14–18 years
RDA for Pregnancy (Iodine)
220 mcg/day of iodine
19–30 years
220 mcg/day of iodine
31–50 years
220 mcg/day of iodine
14–18 years
UL of Iodine for Pregnancy
900 mcg/day of iodine
19–50 years
1,100 mcg/day of iodine
14–18 years
UL of Iodine for Lactation
900 mcg/day of iodine
19–50 years
1,100 mcg/day of iodine
คาถาม
• อาการแสดงหากได้รับไอโอดีนเกินขนาด
@ ใจสัน่ มือสัน่ น้ าหนักลดลงมาก อ่อนเพลีย
หอบเหนื่อย ปวดเจ็บบริ เวณต่อมน้ าลาย
@ พิจารณาส่ งพบแพทย์
คาถามเพิ่มเติม
• หากแพทย์เห็นว่าสตรี มีครรภ์มีภาวะซีด สามารถเพิ่ม Ferrous ในรู ปแบบใดได้บา้ ง จากการ
สื บค้นบางแหล่งข้อมูลพบ ว่าในกรณี ซีดนั้น ต้องการธาตุเหล็กที่ 60-100 mg elemental iron วัน
ละ 2 ครั้ง สูงสุ ดคือ 60 mg elemental iron วันละ 4 ครั้ง
• ดังนั้น หากเห็นว่าหญิงมีครรภ์ดูซีด หรื อจาง ย่อมสามารถ เพิ่ม FBC ได้อีก(ใน FBC มี Fe
Fumarate 200 mg = elemental iron 66 mg) ได้จาก Triferdine แล้ว 60.81 mg elemental iron หาก
เพิม่ FBC อีก 1 tab จะได้ elemental iron = 126.81 mg elemental iron และหากเพิม่ FBC อีก 2
เม็ด จะได้ fe = 192.81 mg ที่สาคัญเวลา add FBC จะไม่มีปัญหาได้ Vitamin A หรื อ Vitamin E
เกิน เพราะ FBC ไม่มี Vit A/Vit E เป็ นส่ วนประกอบ
• fe จะอยูใ่ นรู ปเกลือชนิดไหนก็ตาม (เหล็กที่ให้อาจอยูใ่ นรู ป : FeSO4, FeFumarate, Fe Gluconate
แต่ส่วนใหญ่เมื่อกินแล้วจะดูดซึมได้ประมาณ 10% โดย Fe Fumarate ดูดซึมได้ดีที่สุด) ควรกิน
ก่อนอาหาร (ดูดซึมดี) แต่ถา้ มีคลื่นไส้อาเจียน ให้หลังอาหารได้ (จะดีถา้ เป็ นหลังอาหาร 2 hr) ถ้า
กิน Antacid, Tetracyclin เว้นช่วงอย่างน้อย 2 ชัว่ โมงค่อยกินยา หรื อกินยานี้ก่อนยาดังกล่าว
ยาปฏิชีวนะทีส่ ามารถใช้ ได้ ในหญิงตั้งครรภ์ อย่ างปลอดภัย
1. ยากลุ่ม penicillins (Preg Cat B) สามารถใช้ได้ตลอดระยะเวลาการ
ตั้งครรภ์ รวมทั้งยาที่มี Broad-spectrum activity เช่น Piperacillin และ
Mezlocillin รวมทั้งการใช้ร่วมกับ β-lactamase inhibitors ได้แก่ clavulanic
acid, sulbactam และ tazobactam
2. Erythromycin sterate (Preg Cat B)
3. Azithromyin (Preg Cat B)
4. Cephalosporins (Preg Cat B)
5. Metronidazole (Preg Cat B) สามารถใช้ได้เฉพาะ third-trimaster
Drug in pregnancy
จบแล้วกับ๊
เมีย้ ว...เมีย้ ว