บทที่ 3 - ระบบ LMS

Download Report

Transcript บทที่ 3 - ระบบ LMS

Slide 1

บทที่ 3 ระบบประสาท
Nervous system


Slide 2

Nervous system
นักศึกษาจะได้ เรียนรู้ เกีย่ วกับ ลักษณะของเซลล์ ประสาท ที่
แตกต่ างจากเซลล์ ในส่ วนอืน่ ของร่ างกาย การทางานของเซลล์
ประสาท การแบ่ งประเภทของเซลล์ ประสาท ระบบประสาท
ประเภทต่ างๆ ในร่ างกาย เส้ นประสาทสมอง และเส้ นประสาท
ไขสั นหลัง ความแตกต่ างของการทางานของระบบประสาท
ชนิดต่ างๆ ในร่ างกาย


Slide 3

ระบบประสาท
ระบบประสาทเป็ นระบบของร่ างกายทาหน้ าที่ : ควบคุม
การทางานของอวัยวะต่ างๆ โดยทางานร่ วมกับต่ อมไร้ ท่อ
เพือ่ ให้ ร่างกายทางานได้ อย่ างปกติ เมื่อได้ รับการกระตุ้นจาก
สิ่ งเร้ าทั้งภายในและภายนอกร่ างกาย
ระบบประสาทประกอบด้ วยเนือ้ เยือ่ ประสาทที่มีเซลล์
ประสาทและเส้ นประสาทเป็ นส่ วนประกอบ


Slide 4

ระบบประสาท
เซลล์ ประสาท (neuron หรือ nerve cell) ประกอบด้ วย
- ตัวเซลล์ (cell body) มีนิวเคลียส
- ใยประสาท (cell process)
เซลล์ ประสาททาหน้ าที่ : รับ และส่ งกระแสประสาท (impulse)
โดยมีศูนย์ ควบคุมทีส่ มองและไขสั นหลัง


Slide 5

ลักษณะของเซลล์ประสาท
Node of ranvier
axon terminal
axon hillock
axon

dendrite

Myleinated neuron
cell body


Slide 6

ใยประสาท
ใยประสาท คือ แขนงของไซโตพลาสซึม มี 2 ชนิด
- เด็นไดรน์ (Dendrite) แตกแขนงออกมาจากตัวเซลล์
ลักษณะคล้ ายกิง่ ไม้ อาจมีมากกว่ า 1 แขนง
: มีหน้ าที่ นากระแสประสาทเข้ าสู่ เซลล์
- เอ๊ กซอน (Axon) เป็ นใยประสาททีย่ นื่ ออกมาจากตัวเซลล์
มีเอ๊ กซอนเพียง 1 แขนง เท่ านั้นทีแ่ ตกออกจากตัวเซลล์
: มีหน้ าที่ ส่ งกระแสประสาทออกจากเซลล์


Slide 7

ประเภทของเซลล์ประสาทแบ่งตามชนิดของ Axon
 เซลล์ ประสาทที่ส่วน axon มีเยือ่ ไขมัน (myelin sheath)หุ้ม

เรียกว่ า myelinated neuron
 เซลล์ ประสาทที่ส่วน axon ไม่ มีเยือ่ ไขมัน (myelin sheath)หุ้ม
เรียกว่ า non myelinated neuron
เนือ้ เยือ่ ไขมันมีหน้ าที่เป็ น: ฉนวนไฟฟ้า เป็ นอาหาร และป้องกัน
อันตรายให้ แก่ ใยประสาท


Slide 8

myelinated neuron
 Schwann cell เป็ นเซลล์ ประสาทพีเ่ ลีย้ งที่สร้ างเยือ่ ไขมันหุ้ม

axon ที่พบในระบบประสาทส่ วนปลาย
 เยือ่ ไขมันทีห
่ ้ ุมเอ๊ กซอนจะมีลกั ษณะเป็ นปล้ องๆ ระหว่ างปล้ อง
จะเห็นส่ วนของเอ๊ กซอนเรียกว่ า node of ranvier
 เซลล์ ประสาทที่มีเยือ่ ไขมันจะส่ งกระแสประสาทได้ ดีกว่ า
เซลล์ ทไี่ ม่ มีเยือ่ ไขมันหุ้ม


Slide 9

การแบ่ งเซลล์ ประสาทตามโครงร่ าง
การแบ่ งเซลล์ ประสาทตามโครงร่ างหรือใยประสาทที่ยนื่ ออกจาก
ตัวเซลล์ แบ่ งได้ 3 ชนิด คือ
 เซลล์ ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron)
 เซลล์ ประสาทสองเดียว (bipolar neuron)
 เซลล์ ประสาทหลายเดียว (multipolar neuron)


Slide 10

ลักษณะของเซลล์ ประสาทแบ่ งตามโครงร่ าง
แบ่ งออกเป็ น 3 ชนิด
Unipolar neuron
dendrite

Bipolar neuron

axon

Multipolar neuron


Slide 11

การแบ่ งเซลล์ ประสาทตามหน้ าที่
 เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก (Sensory neuron) รับความรู้ สึก

และนากระแสประสาทไปที่สมองและไขสั นหลัง ปลายเด็น
ไดรน์ จะเปลีย่ นเป็ นส่ วนรับความรู้ สึก พบทีผ่ วิ หนัง
 เซลล์ ประสาทสั่ งการ (Motor neuron) มีเอ๊ กซอนยาวนาคาสั่ ง
ออกจากสมองและไขสั นหลัง ไปสั่ งการอวัยวะต่ างๆและต่ อม
ไร้ ท่อ


Slide 12

การแบ่ งเซลล์ ประสาทตามหน้ าที่
 เซลล์ ประสาทประสานงาน (Association neuron) รับกระแส

ส่ งไปให้ อกี เซลล์ หนึ่ง พบในสมองและไขสั นหลังเท่ านั้น
 เซลล์ ประสาทพีเ่ ลีย้ ง (Supporting neuron)พบมากในระบบ
ประสาทส่ วนกลาง หน้ าที่เป็ นโครงสร้ างระบบประสาท เป็ น
อาหาร ช่ วยคา้ จุนเซลล์ เป็ นทางผ่ านของอาหาร อิเล็คโตรไลท์
ทาลายเชื้อโรคและสิ่ งแปลกปลอม microglia , schwann cell


Slide 13

ปมประสาทและนิวเคลียส
 ปมประสาท (Ganglia) คือ บริเวณที่ตวั เซลล์ ประสาทมา

รวมกันอยู่เป็ นกลุ่มนอกระบบประสาทส่ วนกลาง
 นิวเคลียส (Nucleus) หมายถึง กลุ่มของเซลล์ ประสาทที่
รวมตัวกันอยู่ในระบบประสาทส่ วนกลาง พบได้ ท้งั ใน
sensory nucleus และ motor nucleus


Slide 14

Nerve tract
 Nerve tract หมายถึง กลุ่มของใยประสาททีร่ วมตัวกันอยู่ใน

ระบบประสาทส่ วนกลาง ส่ วนเนือ้ ประสาทสี ขาว ทาหน้ าที่
นากระแสประสาทเข้ าและออก เพือ่ ติดต่ อระหว่ าง lower และ
upper nerve tract


Slide 15

การทางานของเซลล์ ประสาท
มีลกั ษณะการทางานแบ่ งเป็ น 2 ชนิด
1. การเคลือ่ นทีข่ องกระแสประสาทในเซลล์ ประสาท เป็ นการ
เคลือ่ นทีโ่ ดยปฏิกริ ิยาเคมีไฟฟ้า (electrochemical reaction) เกิด
จากการเปลีย่ นแปลงความต่ างศักย์ ที่ผนังเซลล์ เนื่องจากมีการ
เคลือ่ นทีข่ อง Na , K อิออน จนกระทัง่ มีการสร้ างกระแส
ประสาทจาก axon hillock ไปที่ axon terminal


Slide 16

การส่ งกระแสประสาทระหว่ างเซลล์
2. การเคลือ่ นที่ของกระแสประสาทจากเซลล์ หนึ่งไปอีกเซลล์
หนึ่ง เกิดขึน้ ระหว่ างเยือ่ หุ้มเซลล์ ทปี่ ลายเอ๊ กซอนของเซลล์
หนึ่ง(non myelinated neuron) กับเยือ่ หุ้มเซลล์ ของเด็น
ไดรน์ ของอีกเซลล์ หนึ่ง (myelinated neuron)
บริเวณทีเ่ กิดจุดสั มผัสเรียกว่ า จุดประสาน(synapse) ที่เป็ น
บริเวณทีอ่ ยู่ใกล้ ชิดกันมากทีส่ ุ ดระหว่ างเยือ่ หุ้มเซลล์ ท้งั สอง
ผิวสั มผัสเรียกว่ า synaptic membrane


Slide 17

การส่ งกระแสประสาทระหว่ างเซลล์
 ปลายเอ๊ กซอนจะโป่ งออกเรียกว่ า synaptic knob
 ภายในมีถุงใส่ สารเคมีเรียกว่ า synaptic vessicles

ที่มีสารเคมี
คือ neurotransmitter เช่ น acetylcholine และ dopamine ซึ่ง
เป็ นสารทีจ่ ะกระตุ้นให้ กระแสประสาทผ่ านจุดประสานได้


Slide 18

ประเภทของการส่ งกระแสประสาท
 การส่ งกระแสประสาทโดยใช้ สารเคมี : chemical synapse
 การส่ งกระแสประสาทโดยกระแสไฟฟ้า: electrical synapse

เนื่องจากที่ปลายเด็นไดรน์ ไม่ มีการสร้ างกระแสประสาท ทิศทาง
ของกระแสประสาทจึงเป็ นทางเดียวจากเด็นไดรน์ ผ่ านตัว
เซลล์ ไปหาเอ็กซอน


Slide 19

แสดงการส่ งกระแสประสาทระหว่ างเซลล์
Impulse

Synaptic Knob Synaptic knob

Synaptic Vesicle

Synaptic vessicles

Synaptic membrane

Neurotransmitter

dendrite


Slide 20

ระบบประสาท
มี 3 ประเภท คือ
1. ระบบประสาทส่ วนกลาง (Central nervous system)
ประกอบด้ วย สมอง (brain) และไขสั นหลัง (spinal cord)
สมองและไขสั นหลัง มีเนือ้ เยือ่ 2 ส่ วน คือ ส่ วนใน และส่ วนนอก
เนือ้ สมอง ส่ วนนอกมีสีเทา ส่ วนในมีสีขาว
เนือ้ ของไขสั นหลัง ส่ วนนอกมีสีขาว ส่ วนในมีสีเทา และมีรูป
คล้ ายผีเสื้อ


Slide 21

ระบบประสาทส่ วนกลาง
 ทั้งสมองและไขสั นหลังมีเยือ่ หุ้มเพือ่ ป้องกันอันตราย มี 3 ชั้น

คือ dura matter เป็ นชั้นนอกสุ ด , arachnoids matter และ
pia matter เป็ นชั้นในสุ ดติดเนือ้ สมอง
 ระหว่ างชั้นที่ 2 และ 3 (subarachnoid space)มีของเหลวอยู่
เรียกว่ า cerebrospinal fluid, (CSF) สร้ างจากเซลล์ เยือ่ บุ
ช่ องว่ างในสมอง ของเหลวสามารถไหลผ่ านจากสมองไปไข
สั นหลังได้


Slide 22

หน้ าทีข่ องสมอง
 ควบคุมการทางานของอวัยวะ
 ทีร่ วมความรู้ สึกในร่ างกาย
 ศู นย์ กลางการแสดงพฤติกรรม
 เป็ นแหล่ งความจา ความคิด
 เป็ นที่ต้งั ของอารมณ์


Slide 23

สมอง
บรรจุอยู่ในกะโหลกศรีษะ ประกอบด้ วย
 สมองส่ วนหน้ า (Cerebrum) มีขนาดใหญ่ ทส
ี่ ุ ด หน้ าทีอ่ อก
คาสั่ ง และการตีความ เป็ นศูนย์ กลางความรู้ สึกและความจา
ควบคุมการเคลือ่ นไหวของร่ างกายทางานภายใต้ อานาจจิตใจ
 มีร่องลึก(fissure)และร่ องตืน
้ (sulcus) มีร่องตืน้ มากแสดงว่ า
เป็ นสั ตว์ ช้ันสู ง


Slide 24

สมองส่ วนหน้ า
 มีร่องลึกทางยาวเรียกว่ า longitudinal fissure

ทาหน้ าที่แบ่ ง
สมองส่ วนหน้ าออกเป็ นสองส่ วนซ้ ายและขวาเท่ าๆกัน เรี ยกว่ า
cerebral hemisphere
 ในสมองมีเซลล์ ประสาทหลายขั้วอยู่มากมาย


Slide 25

สมองส่ วนหลัง
 สมองส่ วนหลัง (Cerebellum) มีขนาดเล็กกว่ าสมองส่ วนหน้ า

มีลกั ษณะเป็ นก้ อน อยู่บริเวณท้ ายทอย
 มีหน้ าที่เกีย่ วกับการทรงตัว การเคลือ่ นไหว และการรักษา
สมดุลของร่ างกาย


Slide 26

ก้ านสมอง (Brain stem)
ก้ านสมอง (Brain stem) ต่ อจากสมองส่ วนหลังมี 4 ส่ วน .
 Diencephalons เป็ นทีต
่ ้งั ของไฮโปธาลามัส (hypothalamus)
และธาลามัส (thalamus) เป็ นศูนย์ ของ ANS ควบคุมอุณหภูมิ
อารมณ์ และต่ อมไร้ ท่อ
 Mid brain มีเนือ้ สมองเป็ นแท่ งสั้ นๆ สี ขาว มีท้งั เซลล์
ประสาทสั่ งการ และเซลล์ รับความรู้ สึก ประสานงานการนั่ง
ยืน เดิน นอน


Slide 27

ก้านสมอง
 Pons

เป็ นเนือ้ สมองทีเ่ ชื่อมสมองส่ วนหน้ าทั้งซ้ ายและขวา
ตอนล่ างมีกลุ่มเซลล์ ประสาททีเ่ ป็ นศูนย์ ควบคุมการหายใจ
และการได้ ยนิ
 Medulla oblongata ติดกับไขสั นหลังที่ส่วน foramen
magnum เกีย่ วกับการควบคุม reflex action การทรงตัว
ด้ านข้ างของก้ านสมองมีเส้ นประสาทสมอง (cranial nerves)


Slide 28

ไขสั นหลัง (Spinal cord)
 มีรูปร่ างเป็ นแท่ ง ตรงปลายเป็ นรู ปกรวย อยู่ในช่ องของ

กระดูกสั นหลัง (vertebral canal) ด้ านหน้ าติดกับ medulla
oblongata
 ส่ วนปลายจะเรียวเล็กเรียกว่ า cones medullaris
 ส่ วนท้ ายของร่ างกายไม่ มีไขสั นหลังแต่ มี spinal ganglia


Slide 29

ไขสั นหลัง
มีลกั ษณะเป็ นปล้ องๆ แต่ ละปล้ องจะแยกออกเป็ น 2 แถวคือ
1. ventral root เป็ นส่ วนทีส
่ ่ งความรู้ สึก
2. dorsal root เป็ นส่ วนทีร่ ับความรู้ สึก
ผ่ าไขสั นหลังจะเห็นชั้นนอกมีสีขาว และชั้นในมีสีเทารู ปคล้ าผีเสื้อ
มี 3 ส่ วน ventral gray horn, dorsal gray horn และ lateral
gray hornตรงกลางชั้นสี เทามีรูเรียกว่ า central canal



Slide 30

ช่ องว่ างในสมอง
ช่ องว่ างในสมองหรือโพรงสมอง (ventricle ) เป็ นส่ วนที่เจริญมา
จาก neural canal มี 3 แห่ ง คือ
- Lateral ventricle
- Third ventricle
- Fourth ventricle
ช่ องว่ างในสมองมี CSF อยู่


Slide 31

เส้ นประสาทสมอง (Cranial nerve)
คือ เส้ นประสาททีอ่ อกจากก้ านสมอง และบางส่ วนของสมอง
ส่ วนหลัง ในสั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนม
- มีเส้ นประสาทสมองทั้งสิ้น 12 คู่
- เกีย่ วข้ องกับระบบประสาทส่ วนปลาย(PNS)


Slide 32

ระบบประสาทส่ วนปลาย
ประกอบด้ วย เส้ นประสาทสมอง (cranial nerve)
เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve) และปมประสาท
(ganglion)
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 1 (Olfactory nerve) เกีย่ วกับการดม
กลิน่ ปลายประสาทรับความรู้ สึกอยู่ทชี่ ่ องจมูก
เส้ นประสาทสมองคู่ที 2 (Optic nerve) เกีย่ วกับการมองเห็น
ปลายประสาทอยู่ทเี่ รติน่าของลูกตา


Slide 33

ระบบประสาทส่ วนปลาย(2)
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 3 (Occulomotor nerve) เกีย่ วกับการ
ทางานของกล้ ามเนือ้ ตา ทาให้ ลูกตากลอกไปมาได้
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 4 (Trochlear nerve) เกีย่ วกับการควบคุม
กล้ ามเนือ้ ตา (oblique muscle)
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 5 (Rigiminal nerve) หน้ าที่สั่งการที่
กล้ ามเนือ้ ตา และกล้ ามเนือ้ รอบปาก


Slide 34

ระบบประสาทส่ วนปลาย (3)
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 6 (Abducents nerve) หน้ าที่สั่งการไป
ยังกล้ ามเนือ้ ตา เกีย่ วกับการกลอกลูกตา
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 7 (Facial nerve) ทาหน้ าที่ควบคุม
กล้ ามเนือ้ หน้ าและผิวหนังทีห่ น้ า รับความรู้ สึกทีห่ ูและลิน้
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 8 (Vestibulo cocheal nerve) หน้ าที่รับ
ความรู้ สึกเกีย่ วกับการได้ ยนิ และรักษาสมดุลของร่ างกาย


Slide 35

ระบบประสาทส่ วนปลาย (4)
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 9 (Gloss pharyngeal nerve) หน้ าที่
รับกลิน่ กลืนอาหาร มีผลให้ กล้ ามเนือ้ hyoid muscle ทางาน
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 10 (Vagus nerve) หน้ าทีค่ วบคุมการ
ทางานของอวัยวะภายในและหัวใจ
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 11 (Spinal accessory nerve) เกีย่ วกับ
การเคลือ่ นไหวของ hyoid bone และ hyoid muscle รวมทั้ง
กล้ ามเนือ้ ทีไ่ หล่ และคอ


Slide 36

ระบบประสาทส่ วนปลาย (5)
เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 12 (Hypoglossal nerve) ควบคุมการ
ทางานของลิน้ และกล้ ามเนือ้ ทีค่ วบคุมลิน้
เส้ นประสาทไขสั นหลัง(spinal nerves) มีอยู่เป็ นคู่
เช่ นเดียวกับเส้ นประสาทสมอง สั ตว์ เลีย้ งแต่ ละชนิดมีจานวน
เส้ นประสาทไขสั นหลังไม่ เท่ ากัน
หน้ าที่:รับความรู้ สึก และสั่ งการไปตามส่ วนต่ างๆ ของร่ างกาย
โดยทางานภายใต้ อานาจจิตใจ


Slide 37

ประเภทของเส้ นประสาทไขสั นหลัง
- เส้ นประสาทส่ วนคอ (cervical spinal nerve)
- เส้ นประสาทส่ วนอก (thoracic spinal nerve)
- เส้ นประสาทส่ วนเอว (lumbar spinal nerve)
- เส้ นประสาทส่ วนสะโพก (sacral spinal nerve)
- เส้ นประสาทส่ วนหาง (coccygeal spinal nerve)


Slide 38

ระบบประสาทอัตโนมัติ
เรียกว่ า Autonomic nervous system (ANS) เป็ นระบบ
ประสาททีไ่ ม่ อยู่ภายใต้ อานาจจิตใจ(involuntary nervous
system) หน้ าที่ ควบคุมการทางานของอวัยวะภายในและ
หัวใจ
ระบบนีจ้ ะทางานได้ ต้องใช้ เซลล์ ประสาทสั่ งการ 2 ตัว เพือ่ นา
คาสั่ งจากศูนย์ กลางไปทีอ่ วัยวะ เซลล์ ตวั ทีห่ นึ่งอยู่ในสมอง
หรือไขสั นหลัง เซลล์ อกี ตัวอยู่ในปมประสาท


Slide 39

ระบบประสาทอัตโนมัติ
แบ่ งออกเป็ น 2 ระบบ คือ
- Sympathetic nervous system ใช้ noradrenalin
- Parasympathetic nervous system ใช้ acetylcholine
ทั้งสองระบบควบคุมการทางานของอวัยวะภายใน และหัวใจ
โดยทางานในทางตรงข้ ามกัน


Slide 40

ระบบประสาทอัตโนมัติ
 ระบบประสาทอัตโนมัตม
ิ ีศูนย์ ควบคุมอยู่ที่

- สมองส่ วนไฮโปธาลามัส medulla oblongata และไขสั นหลัง
 การทางานของ ANS ส่ วนใหญ่ เป็ นการตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ า
โดยทันทีทนั ใด เรียกว่ า reflex actionเป็ นการตอบสนองโดย
ใช้ เซลล์ ประสาทอย่ างน้ อย 2 ตัว คือ sensory nerve และ
motor nerve


Slide 41

รีเฟล็กซ์ (Reflex action)
หมายถึง ปฏิกริ ิยาการตอบสนองของอวัยวะต่ อสิ่ งเร้ าอย่ าง
กะทันหันเป็ นการตอบสนองทีอ่ ยู่นอกอานาจจิตใจ สามารถ
เกิดกับกล้ ามเนือ้ ลายก็ได้ เช่ น stretch reflex
Reflex action อย่ างง่ ายๆเรียกว่ า reflex arc มีศูนย์ กลางทีไ่ ขสั น
หลังเท่ านั้น


Slide 42

Reflex arc
สิ่ งเร้ า

ตัวรับความรู้ สึก

ประสาทรับความรู้ สึก

Pregangionic neuron

การตอบสนอง

หน่ วยปฏิบัติการ

Postgangionic neuron


Slide 43

รีเฟล็กซ์ (Reflex action)
สามารถแบ่ ง reflex action เป็ น 2 ชนิด
1. Inborn reflex มีมาแต่ กาเนิด เช่ น การหาอาหาร
2. Condition reflex เกิดจากการเรียนรู้ เช่ น การหลัง่ นา้ นม
ของแม่ โคเมื่อเห็นลูกโค หรือเห็นอาหารข้ น