การขับถ่าย

Download Report

Transcript การขับถ่าย

มะเร็งลำไส้
(Carcinoma of
Colon)
สำเหตุ
 อายุมากกว่า 50 ปี
 การรับประทานอาหารไขมันสูง
 ผูป
้ ่ วยทีเ่ ป็ นโรคลาไส้อกั เสบบ่อย ๆ
(Ulcerative colitis)
 ผูป
้ ่ วยทีม่ ีประวัติครอบครัวเป็ นมะเร็ง
 ผูท้ ีม
่ ี polyps ในลาไส้ใหญ่
อำกำรและอำกำรแสดง
 น้ าหนักลด อ่อนเพลีย เบือ่ อาหาร มีเลือดออกทาง
ทวารหนัก ท้องผูก สลับกับท้องเดิน ลักษณะอุจจาระ
เล็กกว่าปกติคล้ายแท่งดินสอซึ่งเกิดจากมีการอุดตัน
บางส่วน
 อาการของลาไส้ใหญ่อุดตันคือ ท้องอืด แน่นท้อง
ตลอดเวลา ปวดท้อง คลืน่ ไส้ อาเจี ยน รูส้ ึกปวดเบ่ง
ตลอดเวลา หรือรูส้ ึกว่าถ่ายอุจจาระไม่สุด
กำรวินิจฉัย

ประวัติส่วนตัวและประวัติครอบครัว และการตรวจร่างกาย
 การใช้นิ้วตรวจทางทวารหนัก เพือ่ ตรวจดูว่ามีกอ้ นเนื้ อหรือไม่
 การส่องกล้องตรวจทีเ่ รียกว่า proctosigmoidoscopy หรือ
colonoscopy/sigmoidoscope
 การสวนแบเรียม (barium enema)
 การตัดชิ้ นเนื้ อไปตรวจ (biopsy)
 การถ่ายภาพรังสีคอมพิวเตอร์ (CT scan)
 carcino embryonic antigen (CEA)
 การตรวจหาเลือดในอุจจาระ
กำรสวนแบเรียม (barium enema)
กำรแบ่งระยะของโรค
 Stage
0 มะเร็งในระยะเริม่ ต้น มะเร็งอยู่เฉพาะผิวของลาไส้
 Stage 1 มะเร็งอยู่เฉพาะผนังลาไส้ ยังไม่แพร่ออกนอกลาไส้
 Stage 2 มะเร็งแพร่ออกนอกลาไส้แต่ยงั แพร่ไม่ถงึ ต่อม
น้ าเหลือง
 Stage 3 มะเร็งไปต่อมน้ าเหลืองใกล้เคียง แต่ยงั ไม่แพร่ไปยัง
อวัยวะอื่น
 Stage 4 มะเร็งแพร่ไปอวัยวะอื่นโดยมากไปยังตับและปอด
 Recurrent
เป็ นมะเร็งซ้ าหลังจากได้รบั การรักษาแล้ว
กำรรักษำ
 การผ่าตัด
 Colostomy
 การให้เคมีบาบัด
 การให้รงั สีรกั ษา
 Biological therapy
กำรพยำบำล
 ลดความเจ็ บปวดและความไม่สุขสบาย
 ป้องกันการขาดสารน้ า สารอาหาร และ
Electrolyte
 ป้องกันการติดเชื้ อ
 ลดความกลัวและความวิตกกังวล
 ผูป
้ ่ วยทีต่ อ้ งได้รบั การผ่าตัด
ริดสีดวงทวำร
(hemorrhoid)
อำกำร
เริ่มด้ วยอาการคันบริเวณทวาร ปวดเวลา
ถ่ายอุจจาระ บางครั้งอาจถ่ายอุจจาระมี
เลือดปน หากมีการอักเสบของริดสีดวงจะ
ทาให้ มีอาการปวดตลอดเวลา
กำรวินิจฉัย
จากการตรวจทางทวารหนัก จะพบ
ก้อนริดสีดวงหากเป็ นริดสีดวงใน
ทวารอาจต้องคลา หรือส่องกล้อง
ตรวจ (progtoscope)
ระยะของริดสีดวงทวำรหนักชนิดภำยใน
 ระยะที่ 1
ผูป้ ่ วยมักมีอาการเลือดสด ๆ ออกมา
ภายหลังการถ่ายอุจจาระ แต่ไม่มีกอ้ นเนื้ อยืน่ ออกมา
เวลาถ่ายอุจจาระ จะเห็นหัวริดสีดวงได้โดยการส่อง
กล้องเข้าไปดูภายในทวารหนักเท่านั้น

ระยะที่ 2 หัวริดสีดวงทวารหนักจะโผล่ออกมา
เวลาเบ่งถ่ายอุจจาระ และจะหดกลับเข้าไปเอง
ภายหลังการถ่ายอุจจาระแล้ว ผูป้ ่ วยอาจมีอาการคัน
บริเวณทวารหนัก หรือมีมูกแฉะบริเวณทวารหนักร่วม
ด้วย
ระยะของริดสีดวงทวำรหนักชนิดภำยใน
 ระยะที่ 3
จะมีหวั ริดสีดวงทวารหนักโผล่ออกมาเวลา
เบ่งถ่ายอุจจาระ ไอ จาม ยกของหนักหรือออกกาลัง
กาย แล้วไม่กลับเข้าไปเอง ต้องใช้นวมื
ิ้ อดันกลับเข้า
ไป ผูป้ ่ วยมักมีอุจจาระปนเปื้ อนติดอยู่บริเวณทวาร
หนักตลอดเวลา

ระยะที่ 4 มีหวั ริดสีดวงโผล่ออกมาตลอดเวลา
ไม่สามารถดันกลับเข้าไปได้ ผูป้ ่ วยจะเจ็ บปวดมาก หัว
ริดสีดวงทวารหนักจะบวม อักเสบ บางครั้งมีแผลจาก
การเสียดสีกบั เสื้ อผ้า
กำรรักษำ
 ให้รบ
ั ประทานอาหารอ่อน รสไม่จดั และมีกากอาหารน้อย
 แช่กน้ ด้วยน้ าอุ่น (hot sitz bath)
 ทายาแก้ปวดเฉพาะที่ (benzocine of steroid)
 การรักษาโดยไม่ผ่าตัด คือ การให้ยา การฉีดยาทีห
่ วั ริดสีดวง
และการยิงยางรัดหัวริดสีดวง
 ถ้าเป็ นมากต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
(hemorrhoidectomy)
กำรดูแลบุคคลที่มรี ทู วำรเทียม
(Colostomy)
ควำมหมำย
รูทวารเทียม (Colostomy) หมายถึง การผ่าตัด
เปิ ดลาไส้ ใหญ่ออกมาทางหน้ าท้ อง เพื่อเป็ นทางออกของ
อุจจาระและเปลี่ยนทิศทางของกากอาหารที่ถูกขับออกจาก
ร่างกาย บริเวณรูเปิ ดลาไส้ ส่วนที่โผล่ออกมาจากหน้ าท้ อง
เรียกว่า “Stoma” จะมีขนาดเล็ก กลม สีชมพูและเรียบ
คาดด้ วย mucous membrane คล้ ายกับในช่องปาก
ไม่มีกล้ ามเนื้อที่อยู่ในอานาจจิตใจซึ่งควบคุมการขับถ่าย
และไม่มีประสาทสัมผัสส่วนปลายที่รับความรู้สกึ เจ็บปวด
Stoma
ข้อบ่งชี้ในกำรทำ Colostomy
 ลาไส้ส่วนล่างมีการอุดตัน
 ลาไส้มีความผิดปกติต้ งั แต่กาเนิด เช่น imperforated
anus, constrictive anus
 ลาไส้ได้รบ
ั อันตราย เช่น จากการถูกยิง ถูกแทง ฯลฯ
 ลาไส้มีการทะลุหรือมีการติดเชื้ อ เช่น ulcerative
colitis ฯลฯ
 มะเร็งของลาไส้ เช่น carcinoma of rectum หรือ
sigmoid colon
ชนิดของ Colostomy
ชนิดชัว่ คราว (temporary
colostomy)
ชนิดถาวร (permanent
colostomy)
ตำแหน่งของกำรทำ colostomy
ตำแหน่งของกำรทำ colostomy
ascending
colostomy
ตำแหน่งของกำรทำ colostomy
 transverse
colostomy
ตำแหน่งของกำรทำ colostomy
descending
colostomy
หรือ sigmoid
colostomy
ชนิดของรูเปิ ดลำไส้
 double barreled colostomy
double barreled colostomy
ชนิดของรูเปิ ดลำไส้

loop colostomy
ชนิดของรูเปิ ดลำไส้
 Single barreled colostomy
การทาแผล Colostomy
การเตรียมเครือ่ งใช้






ชุดทาแผลที่มีถว้ ยใส่ แอลกอฮอล์ 70% และ N.S.S.
ถุงมือ 1 คู่ ใช้สาหรับผูป้ ่ วยที่มีอุจจาระเหลวออกมามาก
colostomy bag
Zinc paste หรือ Zinc oxide paste เช่น
Stomahesive ชนิดแผ่น ป้องกันผิวหนังมิให้สมั ผัสกับอุจจาระ
โดยตรง ทาให้ผิวหนังเกิดการระคายเคืองหรือเป็ นแผลเล็กน้อยลง
Tr. Benzion ในกรณีที่ใช้ colostomy bag ชนิดที่ใช้แล้ว
ทิ้ ง เพือ่ ให้พลาสเตอร์ติดได้ดีขึ้น
ชามรูปไตหรือถุงกระดาษสาหรับใส่ผา้ ก๊อซและสาลีที่ใช้แล้ว
colostomy bag
Stomahesive ชนิดแผ่น
Stomahesive ชนิดครีม
ขั้นตอนกำรทำแผล







แจ้งให้ผูป้ ่ วยทราบ อธิบายให้ผูป้ ่ วยเข้าใจ เพือ่ ลดความวิตกกังวล
และร่วมมือดีขึ้น
เตรียมเครื่องใช้มาที่เตียง
กั้นม่าน
จัดให้ผูป้ ่ วยอยู่ในท่าทีที่สบาย ในระยะแรกหลังผ่าตัดควรจัดให้อยู่ใน
ท่านอนก่อน ต่อไปถ้าผูป้ ่ วยแข็งแรงขึ้ นก็ให้อยู่ในท่านัง่ ควรเปิ ดเผย
เฉพาะบริเวณที่ตอ้ งการทาความสะอาดเท่านั้น
ล้างมือให้สะอาด
วางถุงกระดาษหรือชามรูปไตไว้ใกล้ตวั
เปิ ดชุดทาแผล
ขั้นตอนกำรทำแผล
ดึง colostomy bag ออกทิ้ งในชามรูปไตหรือถุงกระดาษที่
เตรียมไว้
 ใส่ถุงมือ เพือ่ ความสะดวกในการทาแผลและป้องกันการแพร่กระจาย
ของเชื้ อโรค
 ใช้ผา้ ก๊อซหรือกระดาษทิชชูเช็ดอุจจาระที่อยู่บริเวณรูเปิ ดลาไส้หรือ
รอบ ๆ เปิ ดลาไส้ออกให้หมด
 ใช้คีมคีบ 1 ตัวในชุดทาแผล หยิบสาลีชุบน้ าเกลือล้างแผลโดยเช็ด
บริเวณรูเปิ ดลาไส้จนสะอาด ขณะทาความสะอาดแผล สังเกตสีของรู
เปิ ดลาไส้ดว้ ย ปกติควรจะมีสีชมพู กลมและเรียบ โผล่ขึ้นมาเหนือ

𝟏
𝟐
ผิวหนังประมาณ - 1 นิ้ ว หากพบว่ามีสีม่วงคล้ าหรือดา แสดงว่า
ขาดเลือดไปเลี้ ยงหรือมีสีซีด ควรรายงานให้แพทย์ทราบ
ขั้นตอนกำรทำแผล

ใช้คีมคีบสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70% เช็ดผิวหนังรอบ ๆ รูเปิ ดลาไส้จน
สะอาดโดยเช็ดจากด้านในออกสู่ดา้ นนอก ไม่เช็ดกลับมาในกรณีที่
ผิวหนังบริเวณนั้นมีรอยถลอกหรือเป็ นแผลให้ใช้สาลีชุบน้ าเกลือล้าง
แผลทาความสะอาดผิวหนังแทนแอลกอฮอล์
 ทาบริเวณผิวหนังรอบ ๆ รูเปิ ดลาไส้ดว้ ย stomahesive
cream หรือ zinc oxide หรือ zinc paste
 ในกรณีที่ใช้ colostomy bag ชนิดที่ติดพลาสเตอร์ให้ทาบริเวณ
ผิวหนังที่จะติดพลาสเตอร์ดว้ ย Tr.Benzoin ทิ้ งไว้สกั ครู่ให้น้ ายา
แห้ง หรือในกรณีที่ใช้ skin barrier ให้ตดั ช่องบนแผ่นให้มี
ขนาดใกล้เคียงกับรูเปิ ดลาไส้และติดแผ่นให้แนบสนิทกับผิวหนังรอบ
รูเปิ ดลาไส้
ขั้นตอนกำรทำแผล




ปิ ด Colostomy bag ลงไปให้พอดีกบั ขนาดรูเปิ ดลาไส้ ระวังอย่าให้มี
การกดทับรูเปิ ดลาไส้ เนือ่ งจากจะทาให้เนื้ อเยือ่ บริเวณรูเปิ ดลาไส้เกิดการ
ระคายเคืองได้ ถ้าใช้ skin barrier ด้วยก็ให้วางช่องของถุง
colostomy ให้ตรงกับกรอบวงกลมของ skin barrier นั้น แล้วใช้
นิ้ วค่อย ๆ กดให้ลงร่องพอดี จากนั้นลองกระตุกถุงลงด้านล่าง เพือ่ ให้
แน่ใจว่าถุงติดแน่นแล้ว
หลังจากทาความสะอาดแผล ควรดูแลความสะอาดของเตียงนอนผูป้ ่ วย
ด้วย และเก็บเครือ่ งใช้ทาความสะอาดให้เรียบร้อย
ล้างมือให้สะอาด
บันทึกผลการทาความสะอาดแผล colostomy ลงใน nurse’s
note เกีย่ วกับวันและเวลาทีท่ าความสะอาด จานวน สี ลักษณะของ
อุจจาระ ลักษณะของรูเปิ ดลาไส้ และผิวหนัง รอบ ๆ รูเปิ ดลาไส้
กำรปิ ด Colostomy bag
กำรสวนล้ำงลำไส้ (colostomy irrigation)
มี 2 ชนิด
 การสวนล้างลาไส้โดยใช้ Syringe (irrigation
by syringe or bulb syringe)
 การสวนล้างลาไส้โดยการสวน (irrigation by
enema)
กำรเตรียมเครื่องใช้
irrigating set (หรือหม้อสวนขนาด 2 ลิตร พร้อมสายยาง)
 สายยางสาหรับสวนล้างลาไส้ โดยปกติใช้สายยางสาหรับสวน
ปั สสาวะเบอร์ 16-26 Fr. หรือ irrigating tip ซึ่งจะใช้ขนาด
ใดนั้นขึ้ นอยู่กบั ขนาดของรูเปิ ดลาไส้
 น้ ายาสาหรับสวนล้างลาไส้จานวน 1000 - 2000 ซี .ซี . อาจใช้
น้ าเกลือปราศจากเชื้ อ น้ าสบู่หรือน้ าประปาที่อุณหภู มิประมาณ 100
- 105*F (41 * C) แต่การใช้น้ าประปาอาจจะมีการดูดซึมของน้ า
ผ่านเยือ่ บุลาไส้ทาให้เกิดความไม่สมดุลของน้ าในร่างกายได้ และการ
ใช้น้ าเย็นอาจทาให้ผูป้ ่ วยเกิดอาการปวดท้องแบบบีบ ๆ คล้ายเป็ น
ตะคริวได้

กำรเตรียมเครื่องใช้











น้ ายาทีใ่ ช้หล่อลืน่ เช่น K - Y jelly
ชามรูปไตทีส่ ะอาด 1 ใบ
ถุงกระดาษ 1 ใบ สาหรับใส่ผา้ ก๊อซและสาลีทีใ่ ช้แล้ว
ผ้ายางขวางเตียง 1 ผืน
ถาดสีเ่ หลีย่ มสาหรับใส่เครือ่ งใช้ 1 ถาด
หม้อนอน 1 ใบ
ชุดทาแผล 1 ชุด หรือรถทาแผลทีม่ ีเครือ่ งใช้และน้ ายาครบตามต้องการ
ถุงมือ 1 คู่
Colostomy bag
เสาแขวนน้ าเกลือ 1 อัน ในรายทีใ่ ช้หม้อสวน
กระปุกน้ ายาแช่คีมคีบยาว 1 ชุด
วิธีกำรสวนล้ำงลำไส้โดยใช้ syringe

แจ้งให้ผูป้ ่ วยทราบ อธิบายให้ผูป้ ่ วยเข้าใจถึงวิธีการทาและ
ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั เพือ่ ให้ความร่วมมือดีขึ้น
 เตรียมเครือ
่ งใช้ใส่ถาดให้พร้อม นามาทีเ่ ตียง
 กั้นม่าน
 ปูผา้ ยางขวางเตียง
 จัดให้ผูป
้ ่ วยนังหรื
่ อนอนชิดขอบเตียงโดยให้อยู่ใน
sermiFowler’s หรือ Fowler’s position อาจให้
ผูป้ ่ วยทาในห้องส้วม โดยนังบนโถส้
่
วมหรือเก้าอี้ ใกล้โถส้วม เปิ ด
ผ้าเฉพาะบริเวณทีต่ อ้ งการทา
วิธีกำรสวนล้ำงลำไส้โดยใช้ syringe







ล้างมือให้สะอาด
เปิ ด irrigating set ด้วย aseptic technique
ใช้คีมคีบยาวหยิบ syringe ใน irrigating set ออกจากชาม
รูปไตนามาวางบนผ้าที่ใช้ห่อข้างชามรูปไต
เทน้ าสบู่หรือน้ าเกลือล้างแผลในชามรูปไต
วางชามรูปไตสะอาดให้แนบชิดกับโค้งของลาตัวผูป้ ่ วย และผูป้ ่ วย
ช่วยถือไว้
ใช้คีมคีบยาวหยิบผ้าก๊อซ 1 ผืน วางบนผ้าห่อข้าง ๆ syringe
และบีบ K -Y jelly ลงบนผ้าก๊อซ กะจานวนพอประมาณที่จะหล่อ
ลืน่ ได้
ใช้คีมคีบยาวหยิบสายยางสาหรับสวนล้างลาไส้ออกจากกระดาษห่อที่
ฉีกปลายวางลงบนผ้าห่อ
วิธีกำรสวนล้ำงลำไส้โดยใช้ syringe




ดึง colostomy bag ออกทิ้ งในภาชนะทีใ่ ส่กอ๊ ซ หรือสาลีทีใ่ ช้แล้วใน
รถทาแผลหรือถุงกระดาษทีเ่ ตรียมไว้
ใส่ถุงมือ แกะผ้าห่อ syringe ออกวาง syringe บนชามรูปไตทีอ่ ยู่ใน
ผ้าห่อ
ใช้มือจับสายยางสาหรับสวนล้างลาไส้และทาสายยางให้ลืน่ โดยการทาด้วย
K - Y jelly ทีเ่ ตรียมไว้
ใช้มือข้างทีถ่ นัดจับสายยางสาหรับสวนล้างลาไส้ และค่อย ๆ สอดสายยาง
เข้าไปทางรูเปิ ดลาไส้ลึกประมาณ 2 - 6 นิ้ วฟุต บางรายอาจใส่ลึกกว่านี้ ได้
การใส่สายยางควรใส่เข้าไปอย่างนุ่มนวลแต่มนคง
ั ่ และขณะใส่ให้หมุนสาย
ยางโดยใช้นวหั
ิ้ วแม่มือและนิ้ วชี้ เพือ่ ช่วยให้ใส่ง่ายขึ้ นและต้องระมัดระวังใน
การใส่สายยางเพราะอาจทาให้ลาไส้ได้รบั ภยันตรายหรือมีการทะลุได้
หลังจากใส่สายยางแล้ว ให้ใช้มืออีกข้างหนึง่ จับสายยางไว้
วิธีกำรสวนล้ำงลำไส้โดยใช้ syringe
ใช้มือข้างที่ถนัดถือ syringe ดูดน้ าเกลือปราศจากเชื้ อหรือน้ าสบู่ที่
ใช้ใส่เข้าไปในลาไส้ประมาณ 500 ซี .ซี . น้ ายาที่เข้าไปจะกระตุน้ ลาไส้
ให้มีการเคลือ่ นไหวแบบบีบรูดมากขึ้ น ทาให้ผูป้ ่ วยสามารถขับถ่าย
อุจจาระออกมาได้ บางรายอาจต้องการใช้น้ ายาถึง
1500 2000 ซี .ซี . ควรปล่อยให้น้ ายาไหลลงตามแรงโน้มถ่วงของโลก
 ขณะทาสังเกตอาการเปลีย
่ นแปลงด้วย ถ้าผูป้ ่ วยรูส้ ึกปวดท้องแบบ
บีบ ๆ คล้ายตะคริวอาจเนือ่ งจากปล่อยน้ ายาให้ไหลลงเร็วเกินไป
หรือน้ ายาเย็นเกินไป ควรหยุดทาสักครู่เมือ่ อาการปวดท้องทุเลาลงจึ ง
เริ่มทาใหม่โดยปล่อยให้น้ ายาไหลเข้าช้า ๆ ถ้าอาการปวดไม่หายไป
ใน 2 - 3 นาทีแรกให้หยุดทาและรายงานแพทย์

วิธีกำรสวนล้ำงลำไส้โดยใช้ syringe






ดึงสายยางออกเพือ่ ให้อุจจาระไหลออกมาสู่ชามรูปไต ถ้าน้ ายาและ
อุจจาระออกน้อยอาจใส่สายยางใหม่และใช้ syringe ช่วยดูดน้ ายา
และอุจจาระ
ให้เริ่มทาตั้งแต่ขอ้ 16 - 19 ใหม่จนน้ ายาที่ออกมามีลกั ษณะใส อาจ
ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ถึงหนึง่ ชัว่ โมง
หลังจากสวนล้างเสร็จให้ทาแผล colostomy ด้วย
จัดให้ผูป้ ่ วยในท่าที่สบาย ดูแลความสะอาดของเตียงนอน เก็บของใช้
ทาความสะอาดให้เรียบร้อย
ล้างมือให้สะอาด
บันทึกผลลงใน nurse’s note
วิธีกำรสวนล้ำงลำไส้โดยกำรสวน







แจ้งให้ผูป้ ่ วยทราบ
เตรียมเครื่องใช้ให้พร้อมนาไปที่หอ้ งน้ าหรือที่เตียงผูป้ ่ วย
ในกรณีที่ผูป้ ่ วยไปห้องน้ าเองได้ ให้นงบนโถส้
ั่
วมในห้องน้ า ถ้าผูป้ ่ วย
อยู่ที่เตียงให้นอนชิดขอบเตียง
แขวนหม้อสวนที่ใส่น้ ายาให้สูงจากระดับรูเปิ ดของลาไส้ประมาณ 18
- 24 นิ้ วฟุต
ล้างมือให้สะอาด
หล่อลืน่ สายยางสาหรับสวนล้างลาไส้ หรือ irrigating tip ด้วย
K - Y jelly
ปล่อยน้ ายาให้ไหลออกมาตามสายยางจนถึง irrigating tip
หรือสายยางสาหรับสวนล้างลาไส้ เพือ่ ไล่อากาศออกให้หมด
วิธีกำรสวนล้ำงลำไส้โดยกำรสวน
สอดสายยางสาหรับสวนล้างลาไส้ หรือ irrigating tip เข้า
ไปในรูเปิ ดของลาไส้ ประมาณ 2-6 นิ้ วฟุต สาหรับ
irrigating tip จะสอดเข้าไปประมาณ 1 นิ้ วฟุตเท่านั้น ซึ่ง
จะช่วยป้องกันการเกิดการทะลุของลาไส้ได้ดี
 ปล่อยน้ ายาให้ไหลลงตามแรงโน้มถ่วงของโลกช้า ๆ ประมาณ
500 ซี.ซี. ขณะทาถ้ามีอาการปดท้องแบบบีบ ๆ คล้ายเป็ น
ตะคริว เนือ่ งจากลาไส้มีการหดตัวมาก ให้แขวนหม้อสวนตา่ ลง
และลดอัตราการไหลของน้ าให้ชา้ ลง
 ทาเช่นเดียวกับข้อ 19 - 24 ในวิธีแรก

ข้อควรจำในกำรสวนล้ำงลำไส้
 การสวนล้างลาไส้น้ นั มักจะทาในรายทีต
่ อ้ งถ่ายอุจจาระออก
ทางหน้าท้องตลอดชีวิตไม่ค่อยทาในรายทีม่ ี colostomy
แบบชัว่ คราว
 การใส่สายยางทีล
่ ึกเกินไป และใส่ดว้ ยความไม่ระมัดระวัง
อาจทาให้มีน้ าคัง่ ค้างในลาไส้และเนื้ อเยือ่ ของลาไส้ได้รบั
อันตรายทาให้มีเลือดออกหรือลาไส้เกิดการทะลุได้
 น้ ายาทีใ่ ช้สาหรับสวนล้างลาไส้น้ นั ควรมีความอุ่นพอดี ไม่
ร้อนเกินไป
กำรดูแลบุคคลที่มีรทู วำรเทียม
 การดู แลความสะอาดบริเวณ stoma และผิวหนัง
รอบ ๆ รูเปิ ดลาไส้
 การรับประทานอาหาร
 การออกกาลังกาย
 การฝึ กหัดการขับถ่ายอุจจาระให้ออกเป็ นเวลา
 การดู แลทางด้านจิ ตใจ
คำแนะนำสำหรับผูป้ ่ วยและญำติ
 แนะนาวิธีการดู แลรูเปิ ดลาไส้ และการทาความ
สะอาดผิวหนังรอบ ๆ รูเปิ ดลาไส้
 การฝึ กหัดการขับถ่าย และการออกกาลังกาย
 การรับประทานอาหาร
 การมีเพศสัมพันธ์
 ผูป
้ ่ วยสามารถประกอบกิจวัตรประจาวันได้ตามปกติ
ภาวะแทรกซ้อน หรืออาการผิดปกติทคี่ วรมาพบแพทย์
 การตายของรูเปิ ดและการหดตัว
 การทาลายของผิวหนังรอบ
ๆ รูเปิ ดลาไส้
 รูเปิ ดตีบ (stoma Stricture)
 รูเปิ ดยืน
่ (Peristoma hernia และ Prolapse)
 ท้องเสียรุนแรง อุจจาระเหม็นผิดปกติ
 รูเปิ ดของลาไส้บวม มีสีคล้ า หรือเลือดออกมาก
 ท้องผูกไม่ถ่ายอุจจาระแน่นท้อง ท้องอืด อาเจี ยน
กำรตำยของรูเปิ ดและกำรหดตัว
กำรทำลำยของผิวหนังรอบ ๆ รูเปิ ดลำไส้
Prolapse Colostomy
Peristoma hernia
stoma Stricture