ไฟล์ PRINCILE OF ASSESSMENT

Download Report

Transcript ไฟล์ PRINCILE OF ASSESSMENT

PRINCIPLE OF ASSESSMENT
นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์
2552
แนวคิดและหลักการ
การวัดและการประเมินผลการศึกษา
ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์
มกราคม 2552
การจัดประเมินผลผู้เรียน
ที่
เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
พ.ร.บ. การศึกษาแห่ งชาติ มาตรา 26)
หลักการจัดการประเมินผู้เรียน
“ให้ สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากการพัฒนา
การของผู้เรียน ความประพฤติ การสั งเกตพฤติกรรมการเรียน
การร่ วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียน
การสอน ตามความเหมาะสมของแต่ ละระดับและรู ปแบบการศึกษา”
(มาตรา 26, พ.ร.บ. การศึกษาฯ 2542)
PURPOSE OF ASSESSMENT
 assuring that an individual meets predetermined
minimal qualifications
 identifying individuals who have achieved a level
required for promotion to the next level or who need
to repeat the programme
 selecting the best candidates for a given programme
 allowing students to monitor their own learning
 providing information regarding student level of
achievement
 generating performance profiles of student’ strengths
and weaknesses

การวัด (Measurement)
 การประเมินผล

(Evaluation)
Evaluation = Measurement + Judgement
(การวัดผล)
(การพิจารณาคุณค่ า)
นพ.กิจประมขุ ตันตยาภรณ์
ความคาดหวัง
การประเมินผล :- มาตรฐาน
:- โปร่ งใส
:- เป็ นธรรม
นพ.กิจประมขุ ตันตยาภรณ์
ขั้นตอนในการดาเนินการประเมินผล
ในการประเมินผลท่ านทากิจกรรมต่ อไปนีห้ รือไม่
กิจกรรม
1. ตั้งจุดมุ่งหมายของการประเมินหรื อการทดสอบ
2. เลือกวัตถุประสงค์ และเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการสอน
3. เลือกวิธีการสอน
4. สร้างแบบทดสอบให้เหมาะสมกับจุดประสงค์
5. พิจารณาข้อสอบ หรื อแบบทดสอบ และกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน
6. เตรี ยมความพร้อมสถานที่ อุปกรณ์ และนาแบบทดสอบไปสอบ
7. ตรวจข้อสอบ
8. การตัดสอนผล
9. วิเคราะห์ขอ้ สอบ
10. รายงานผลการทดสอบ
สรุป ทา
= ข้ อ
ไม่ ทา = ข้ อ
ทา
ไม่ ทา
สภาพปัญหาปัจจัย
การวัดและประเมินผลระดับอุดมศึกษา
1. การวัดและประเมินผลไม่ เป็ นระบบหรือขาดการวางแผน
2. วัดและประเมินผลไม่ สอดคล้องความเป็ นจริง
3. วัดและประเมินผลด้ วยวิธี หรือเครื่องมือทีข่ าดคุณสมบัติ
3.1 เครื่องมือวัดไม่ ตรงกับวัตถุประสงค์
3.2 เครื่องมือวัดไม่ ครอบคลุมหลักสู ตร เนือ้ หาสาระ
3.3 เครื่องมือขาดความชัดเจน
3.4 เครื่องมือไม่ ให้ ความเป็ นธรรมแก่ผ้เู รียน
3.5 ข้ อสอบด้ อยคุณภาพ (ถ้ าไม่ สร้ างสรรค์ )
(ทบวงมหาวิทยาลัย 2543)
ปัจจัยทีก่ าหนดมาตรฐานการประเมินผล
1. การปฏิรูปการศึกษาของไทย : พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่ งชาติ พ.ศ. 2542
2. การปฏิรูปการเรียนรู้
3. เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ
4. การประกันคุณภาพการศึกษา
5. พระราชบัญญัตขิ ้ อมูลข่ าวสาร
6. หลักสู ตรของสถาบันการศึกษา
นพ.กิจประมขุ ตันตยาภรณ์
OUTCOME – BASE EDUCATION
An approach to education in wich decisions
about the curriculum are driven by that
outcomes the students should display at the
end of the course
วัตถุประสงค์ หลักสู ตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสู ตรปรับปรุง พ.ศ. 2545)
Learning Outcome of the Undergraduate Medical Curriculum
B
A
Doctor’s tasks
1. Clinical diagnostic skill
2. Patient investigation skill
3. Patient management skill
4. Procedural skill
5. Communication skill
Approaches to task
6. Holistic approach
7. Medical ethics and professional laws
8. Critical thinking
9. Basic and clinical sciences
C
Professionalism
10. Roles of doctor
11. Professional and personal development
12. Leadership and teamwork
นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์
แนวคิดในการประเมินผล







WHO
WHAT
WHY
WHEN
WHERE
HOW
WHERE
นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์
STUDENT
CLASSROOM
FIELD
TEACHER
PROGRAM
WHO
WHERE
FORMATIVE
WHY
SUMMATIVE
E
TESTING
COGNITIVE
OBSERVATION
HOW
WHEN
WHAT
REPORT
AFFECTIVE
PSYCHOMOTOR
BEFORE
DURING
AFTER
การเปลีย่ นแปลงของการประเมินผล
ประเมินแบบเดิม
แนวคิดใหม่
-
การประเมินจากผู้เรียนเป็ นผู้ถูกกระทา
เน้ นผู้เรียนเป็ นผู้กระทา (actor) มากขึน้
-
ขอบเขตการประเมินเน้ นรายวิชาเดี่ยวๆ
การประเมินเน้ นการบูรณาการข้ ามวิชา
-
ประเมินจากข้ อสอบเขียนตอบ
การประเมินตามสภาพจริง
- ความถี่ในการประเมินมักเกิดขึน้ เพียง
1-2 ครั้ง
- ผู้ถูกประเมินเป็ นผู้เรียนรายบุคคล
การประเมินเกิดขึน้ หลายครั้งและต่ อเนื่อง
มีการประเมินผู้เรียนเป็ นกลุ่มด้ วย
-
การตรวจให้ คะแนนใช้ มอื ตรวจ
ใช้ เครื่องมือเทคโนโลยีในการประเมินมากขึน้
-
ประเมินเพียงมิติเดียว
การประเมินแบบพหุมติ ิ
นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์
หลักการประเมินที่ดี
•
•
•
•
มีความเทีย่ งตรง
สอดคล้ องกับความเป็ นจริง
มีวธิ ีวดั หลายวิธี
การตัดสิ นคุณค่ าทีย่ ุตธิ รรม
นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์
Evaluation
วัตถุประสงค์
FORMATIVE (ความก้าวหน้ า)
SUMMATIVE (ได้ /ตก)
วัตถุประสงค์
..เพือ่ หาจุดอ่อนในการเรียนรู้มาปรับปรุงการเรียน
& การสอน
เพือ่ ตัดสิน ได้ ตก หรือการเลือ่ นชั้น, หรือ
รับปริญญา
เวลาสอบ
..สอบตั้งแต่ เริ่มต้ นไปจนจบ
สอบเมื่อจบ หรือต้ องการเลือ่ นชั้น รับ
ปริญญา
การสุ่ มตัวอย่ างมาสอบ
..ครอบคลุมทุกส่ วนของหลักสู ตร
ครอบคลุมส่ วนสาคัญ
เนือ้ หา
..ถามทุกระดับความรู้ ความเข้ าใจ
ถามความรู้ระดับที่เหมาะสมกับการนาไปใช้
คะแนน
..แยกรายงานถึงจุดอ่อนของผู้เรียนเป็ นส่ วนๆ
ความรู้ ทักษะ
รวมทุกทุกหน่ วยวิชา
ประโยชน์ ของคะแนน
..นามาพิจารณาหาจุดอ่อนของนักเรียนไม่ ควร
นามาพิจารณากับการสอบไล่
เก็บไว้เป็ นคะแนนถาวร
รายงานผล & ข้ อเสนอ
..รายงานทั้งข้ อที่ถูกและผิดเพือ่ การปรับปรุงแก้ไข
ได้ /ตก
CORRELATION OF TEST INSTRUMENTS AND EDUCATION OBJECTIVE
EDUCATIONAL OBJECTIVE
COGNITIVE
TESTINSTRUMENT
RECALL INTERPRE PROBLEM
TATION
SOLVING
ESSAY
+
+
+
ORAL
+
+
+
TURE-FALSE
+
+
+
PSYCHOMOTOR AFFECTIVE
-
-
MULTIPLE CHOICE
+
+
+
-
+
SHORT ANSWER
+
+
+
-
-
MATCHING
+
-
-
-
-
COMPLETION
INTERVIEW
+
-
-
-
-
+
OBSERVATIONAL RECORD
-
-
-
+
+
CHECK LIST
RATING SCALE
QUESTIONNAIRE
-
-
-
+
+
-
+
+
+
N.B.
+ = VERY EFFECTIVE
+ = EFFECTIVE
- = LEAST EFFECTIVE
AN EVALUATION SYSTEM
Global
Rating
TripleJump
KNOWLEDGE
+
+
+
PROBLEMSOLVING
INTERPERSIONAL
SKILLS
TECHNICAL
SKILLS
+
+++
++
++
+++
+
+
++
+++
ATTITUDES
++
Direct- MCQ OSCE
MEQ Observe
+
+++
+
+
+
+
นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์
Evaluation is not to prove (ตรวจสอบ)
but to improve (พัฒนา)
(stufflebeam)
แนวทางการเลือกเครื่องมือวัดผล
คุณลักษณะทีจ่ ะประเมิน
เครื่องมือ
-
Knowledge
MCQ, Report, Written test, Essay
-
Problem-solving ability
-
Self-directed learning
-
Clinical Skill
Three-part structured oral assessment,
(Triple Jump), MEQ, MCQ, CRQ
Three-part structured oral assessment ,(Triple
Jump), Report, Portfolio
OSCE, Checklist, Rating scale,
Direct observation, Portfolio, OSLER, MMI.
-
Attitude / Professional ethics
Observation, Checklist, Rating scale, Report,
Questionnaire, Self-assessment, MMI.
Peer-assessment, Interview Tutor assessment,
Patient’s feed back, Portfolio
นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์
ปัญหา การประเมินแบบอนุรักษ์
การประเมินแบบเดิมๆ เช่ น MCQ ไม่ สามารถ
ประเมินทักษะ และความสามารถอีกหลายด้ าน
ของผู้เรียนได้
จึงได้ มีการพัฒนาการประเมินผลเพือ่ ให้ ประเมิน
มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึน้
การประเมินผลทีไ่ ด้ รับการพัฒนาเพือ่ ประเมินผู้เรียน
1. Performance Assessment (ประเมินการแสดงออก)
เป็ นเครื่องมือวัดทักษะหลายๆด้ านของผู้เรียนทีก่ ระทาในสถานการณ์
ที่เกิดขึน้ จริง เช่ น การทดลองทางวิทยาศาสตร์ การนาเสนอต่ อชั้นเรียน
การทางานเป็ นทีมกับเพือ่ นร่ วมงาน เป็ นต้ น
2. Short investigations ประเมินแนวคิดพืน้ ฐาน และทักษะพืน้ ฐาน เช่ น
หัวข้ อข่ าวในหน้ าหนังสื อพิมพ์ หรือโทรทัศน์ เป็ นต้ น อาจใช้ วิธี
“Concept Mapping” เพือ่ ให้ กระทัด , หรือ Chart มาช่ วย
3. แฟ้มสะสมงาน (Portfolios)
4. การประเมินตนเอง (Self-Assessment)
Self - assessment
Lifelong learning requires that individuals are
able not only to work independtly, but also to assess
their own performance and progress.
(Falchikov and Boud 1989)
The process of self-assessment may include:





Students’ review of own performance
Students’ explanation of the process used
description of breakthroughs in their development
evaluation of their own performance, employing
criteria
identification of strengths and weaknesses.
(Alverno College Faculty 1985)
การเลือกชนิดของข้ อสอบเราคานึงถึงอะไรบ้ าง
1.
2.
3.
4.
5.
วัตถุประสงค์ ของการทดสอบ
เวลาที่ใช้ ในการสร้ างข้ อสอบและการให้ คะแนน
จานวนนักเรียนที่ทดสอบ/ผู้ตรวจข้ อสอบ
อุปกรณ์ ในการจัดพิมพ์ ข้อสอบ
ทักษะในการเขียนข้ อสอบชนิดต่ างๆ
การวัดผลความรู้ ดูไม่ ยาก
ถ้ าลาบากลองวัดหลายหลายหน
ทีว่ ดั ยากนักหนาค่ าของคน
ยากเหลือล้ นเพราะอัตตานาพาไป
ตัวกาหนดมาตรฐานการวัดผล
เรามักถือเกณฑ์ ตนนั้นเป็ นใหญ่
ฟังความเห็นคนอืน่ บ้ างเป็ นไร
เพือ่ จะได้ มาตรฐานอันเป็ นธรรม