ประจักษ์พยานการเรียนรู้

Download Report

Transcript ประจักษ์พยานการเรียนรู้

ประจักษ์พยานการ
เรียนรู้
(Learning Portfolio)
สมหวัง พิธิยานุวฒ
ั น์
1. ความหมายของ “Portfolio”
 I. คณะกรรมการจัดทาพจนานุกรมศัพท์ ศึกษาศาสตร์
ได้ บัญญัติศัพท์ Portfolio ว่ า “ประจักษ์ พยาน” หรือ
“แฟ้ มสะสมผลงาน” โดยได้ ให้ ความหมายว่ า

1. ความหมายของ “Portfolio”
“ เอกสารรวบรวมผลของงานด้านต่างๆที่เก็บรวบรวมไว้เป็ น
ร่ องรอยการทางานและเป็ นหลักฐานแสดงผลสัมฤทธิ์หรื อความสาเร็ จ
ของงาน เอกสารดังกล่าวอาจประกอบด้วย วุฒิบตั ร เกียรติบตั ร
ประกาศนียบัตร รายละเอียดโครงการและกิจกรรมที่ดาเนินการ ภาพวาด
ภาพระบายสี ภาพถ่าย ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน ใบรับรอง
การทางาน รู ปภาพความสาเร็ จในการเล่นกีฬา ดนตรี การร่ วมกิจกรรม
ทางวิชาการ รางวัลจากการแข่งขัน การประกวดต่างๆซึ่งจัดเป็ นระบบ
เป็ นหมวดหมู่ ช่วยให้ผอู ้ ่านประจักษ์พยาน หรื อ แฟ้ มสะสมผลงาน
เข้าใจศักยภาพของผูจ้ ดั ทาแฟ้ มอย่างเป็ นรู ปธรรมมากขึ้น”
1. ความหมายของ “Portfolio”
ตามความหมายของ Advanced Learner’s
Dictionary of Current English หมายถึง กระเป๋ าซึ่ง
ปกติทาด้ วยหนังสั ตว์ สาหรับเก็บกระดาษ เอกสาร ภาพวาด
(Oostarhof:1994) หรื อ สิ่ งทีบ
่ รรจุหลักฐาน เอกสารต่ างๆไว้
อย่ างเป็ นระบบเพือ่ แสดงให้ เห็นถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ
รวมทั้ง คุณลักษณะบางประการของเจ้ าของประจักษ์ พยานหรือ
แฟ้มสะสมผลงาน (Bird:1990)
II.
1. ความหมายของ “Portfolio”
III.จาก Merriam-Webster Online Dictionary
(2008) ได้ ให้ ความหมายของประจักษ์ พยานหรือแฟ้ม
สะสมผลงานไว้ ว่า “ชุดของเอกสาร ภาพ หรือ ผลงานทีเ่ ก็บ
รวบรวมไว้ ในทีเ่ ดียวกันในช่ วงเวลาและถูกนามาใช้ เพือ่ การ
ประเมินผลการปฏิบัติงานหรือการติดตามความก้ าวหน้ าใน
การปฏิบัตงิ าน
2. ประเภทของประจักษ์พยาน
แบ่ งตามลักษณะกายภาพ เป็ น 2 ประเภท คือ
1) ประจักษ์พยาน ที่เป็ นการจัดเก็บเอกสารหลักฐานต่างๆ เรี ยกว่า
Paper-Based Portfolio และ
2) ประจักษ์พยานอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Portfolio or E-Portfolio)
ที่จดั โดยใช้ฐานข้อมูล(Data base) และใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ในการ
พัฒนาประจักษ์พยาน เช่น Macromedia Dreamweaver เป็ นต้น
Niguidula (1997) ได้แสดงว่ามีการพัฒนาประจักษ์พยานอิเล็กทรอนิ กส์
หรื อ E-port เป็ นประจักษ์พยานดิจิตอล (a digital portfolio)
2. ประเภทของประจักษ์พยาน
แบ่งประเภทของ ประจักษ์พยาน โดยทัว่ ไปในวงการนาไปใช้เป็ นส่ วน
หนึ่งของการประเมินผลการเรี ยนรู้ โดยคานึงถึงลักษณะและ
วัตถุประสงค์ของประจักษ์พยาน ซึ่งแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้
(ชัยพฤกษ์ เสรี รักษ์ และคณะ, 2540 ; อาภรณ์ บางเจริ ญพงศ์,
2541; สุ วิทย์ มูลคำ, 2543)
1. ประจักษ์พยานส่วนบุคคล (personal portfolio)
 1.1 ประจักษ์พยานเกี่ยวกับตัวผูเ้ รี ยน
 1.2 ประจักษ์พยานที่ดีที่สุด
2. ประเภทของประจักษ์พยาน
 2. ประจักษ์พยานทางวิชาการ (academic portfolio)
 2.1 ประจักษ์พยานสาหรับให้ระดับคะแนนในแต่ละรายวิชา
 2.2 ประจักษ์พยานแบบบูรณาการ
 2.3 ประจักษ์พยานกลุ่ม
 2.4 ประจักษ์พยานหลายชั้นเรี ยน
 2.5 ประจักษ์พยานที่มีความหลากหลายทางสติปัญญา 8
 2.6 ประจักษ์พยานของชั้นเรี ยน
 2.7 ประจักษ์พยานของโรงเรี ยน
 2.8 ประจักษ์พยานของจังหวัด
2. ประเภทของประจักษ์พยาน
 3. ประจักษ์พยานเชิงวิชาชีพ (professional portfolio)
 3.1 ประจักษ์พยานการสมัครเข้าศึกษาต่อ
 3.2 ประจักษ์พยานเกี่ยวกับประสบการณ์ในการสอน
 3.3 ประจักษ์พยานของครู
 3.4 ประจักษ์พยานของผูบ้ ริ หาร
 3.5 ประจักษ์พยานของศึกษานิเทศก์
2. ประเภทของประจักษ์พยาน
 ถ้าแบ่งประเภทตามเจ้าของประจักษ์พยาน แบ่งเป็ น 4 ประเภท
1) ประจักษ์พยานของผูเ้ รี ยน
2) ประจักษ์พยานของครู
3) ประจักษ์พยานของผูบ้ ริ หาร
4) ประจักษ์พยานของศึกษานิเทศก์
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
3.1 ความเป็ นมาของประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้
กำรประเมินผลผูเรี
้ ยนจำกกำรสะสมผลงำน โดย
เน้นให้ผเู ้ รี ยนมีบทบาทเป็ นผูส้ ร้างความรู ้จากสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้และความเข้าใจของ
ตนเอง
การประเมินผูเ้ รี ยน โดยใช้ประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้หรื อแฟ้ มสะสม
ผลงานแทนข้อสอบแบบเลือกตอบ
การประเมินผลการเรี ยนโดยใช้ประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้หรื อแฟ้ มสะสม
ผลงาน (portfolio assessment)
สมชาย มิ่งมิตร (2539) พบว่า นักเรี ยน ป. 5 ที่ได้รับการประเมินผล
โดยใช้ประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้หรื อแฟ้ มสะสมผลงานของนักเรี ยนมีค่าเฉลี่ย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและความคงอยูข่ องการเรี ยนรู ้วิชาภาษาไทยสูงกว่า
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
3.2 ความหมายของประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้
ประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้หรื อแฟ้ มสะสมผลงานของผูเ้ รี ยน
หมายถึง สิ่ งที่ใช้บรรจุหลักฐาน หรื อผลงานที่แสดงถึงผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ยน ความสามารถ เจตคติ ทักษะ ความพยายาม ความก้าวหน้า และ
พัฒนาการอย่างแท้จริ งของผูเ้ รี ยนด้านใดด้านหนึ่งหรื อหลายๆด้าน โดยใช้
วิธีการเก็บรวบรวมอย่างมีจุดมุ่งหมาย และมีระบบ มีจุดมุ่งหมายในการเลือก
ผลงาน เกณฑ์การประเมินผล และสะท้อนความคิดในกระบวนการเรี ยนรู ้
ของผูเ้ รี ยนอันเป็ นหนทางให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั คิดและเพิ่มพูนความสามารถในการ
เรี ยนรู ้ต่อไปได้
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
3.3 ความมุ่งหมายของประจักษ์ พยานการเรียนรู้
 1.เพือ่ ให้ เจ้ าของประจักษ์ พยานการเรียนรู้ได้ ประเมินตนเอง
 2. เพือ่ ให้ ครูผู้สอนได้ ประเมินเจ้ าของประจักษ์ พยานการเรียนรู้
 3. เพือ่ ให้ ผู้ปกครองและครูตดิ ต่ อสื่ อสารกันในการวางแผน
แก้ปัญหา และส่ งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
 4. เพือ่ ประกันคุณภาพการเรียนรู้ โดยผู้เรียน ครู และผู้เกีย่ วข้ อง
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
3.4 ประเภทของประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
 ประจักษ์พยานการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการ (process
oriented portfolio)
 ประจักษ์พยานการเรี ยนรู้ที่เน้นผลผลิต (product oriented
portfolio)
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
3.5 ลักษณะของประจักษ์ พยานการเรียนรู้
 1.มีการแสดงจุดมุ่งหมายทีช่ ัดเจน
 2. มีการบูรณาการ
 3. มีแหล่งข้ อมูลทีห่ ลากหลาย (multisources)
 4. สะท้ อนให้ เห็นถึงสภาพที่แท้ จริง (authentic)
 5. เป็ นรูปแบบการประเมินทีเ่ ป็ นพลวัต (dynamic)
 6. สะท้ อนบุคลิกภาพเป็ นเอกลักษณ์ (unique)
 7. นาไปใช้ ได้ ในหลายจุดประสงค์ (multipurposes)
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
3.6 ส่ วนประกอบของประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
 1. จุดมุ่งหมาย
 เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของรายวิชาหรื อหลักสูตรที่กาหนดไว้
 เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถประเมินตนเองได้จากการสะท้อนความคิดใน
งานของตนเอง และพัฒนาตนเอง
 เพื่อประเมินความรับผิดชอบของครู จากความสามารถในการสอน
ให้ผเู ้ รี ยนบรรลุจุดหมายของรายวิชาหรื อหลักสูตร และจุดมุ่งหมาย
ของการเรี ยนการสอน
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
3.6 ส่ วนประกอบของประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
2. เนื้อหา
 1) ชิ้นงานที่ผเู ้ รี ยนคัดเลือก
 2) การสะท้อนความคิดเห็นของผูเ้ รี ยน
 3) จุดมุ่งหมายที่ชดั เจน
 4) ตัวอย่างในระหว่างเรี ยนและช่วงสุ ดท้าย
 5) ตัวอย่างหลักฐานที่แสดงถึงความเจริ ญงอกงาม
หรื อ การเจริ ญเติบโตของผูเ้ รี ยน
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
หลักฐานและผลงานแสดงความก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลงของผูเ้ รี ยน
ที่แสดงว่าผูเ้ รี ยนบรรลุจุดมุ่งหมายของประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้ มี 4 ประเภท
ได้แก่ (Barton and collin: 1997)
 2.1 เอกสารและผลงานที่เกิดขึ้นระหว่างการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยน เช่น
แบบฝึ กหัด และ การบ้าน เป็ นต้น
 2.2 เอกสารและผลงานที่แสดงถึงงานที่ผเู ้ รี ยนทานอกห้องเรี ยน เช่น การสัมภาษณ์
โครงการพิเศษ เป็ นต้น
 2.3 เอกสารที่ครู และผูท้ ี่เกี่ยวข้องใช้แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการเรี ยนรู้ของ
ผูเ้ รี ยน เช่น แบบบันทึกการสังเกตของครู แบบบันทึกของผูเ้ รี ยน เพื่อนในชั้นเรี ยน
ผูป้ กครอง และการสอบในลักษณะต่างๆ เป็ นต้น
 2.4 เอกสารที่ผเู ้ รี ยนเตรี ยมขึ้นเฉพาะ เพื่อบรรจุลงในประจักษ์พยานการเรี ยนรู้ ซึ่ ง
ประกอบด้วยจุดมุ่งหมายที่ต้ งั ไว้
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
 3. การกาหนดเวลา เป็ นการวางแผนว่าจะให้ผเู้ รี ยนประเมินประจักษ์
พยานการเรี ยนรู ้เมื่อไรและด้วยวิธีการใด โดยสิ่ งที่จะถูกนามากาหนดก็
คือ
 3.1 การประเมินตนเอง
 3.2 การสะท้อนความคิดเห็น (reflection)
 4. การประเมินประจักษ์พยานการเรี ยนรู้ เป็ นการประเมินความ
สอดคล้องหรื อความสัมพันธ์ระหว่างจุดมุ่งหมายของประจักษ์พยาน
การเรี ยนรู้กบั หลักฐานต่างๆในประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
 3.7การออกแบบประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
 1. เป้ าหมายของประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้คืออะไร
 2.ผลงานอะไรบ้างที่ตอ้ งการเก็บรวบรวมไว้ในประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้
 3. เกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมินจะใช้ได้อย่างไร
 4. อะไรคือเป้ าหมายหลักและกลไกในการประเมิน
 5. เกณฑ์การประเมินมีความคงเส้นคงวาและยุติธรรมเพียงใด
 6. ผลการประเมินตรงเป้ าหมายที่ตอ้ งการประเมินหรื อไม่
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
 3.8 ขั้นตอนของการสร้างประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
 1. ขั้นกาหนดจุดประสงค์และประเภทของประจักษ์พยานการ
เรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน (plan)
 2. ขั้นรวบรวมชิ้นงาน (collect)
 3. ขั้นเลือกชิ้นงาน (select)
 4. ขั้นสะท้อนความคิด (reflect)
 5. ขั้นทาให้สมบูรณ์ (perfect)
 6. ขั้นประเมินผลงาน (evaluate)
 7. ขั้นเชื่อมโยงความสัมพันธ์ (connect)
3. ประจักษ์พยานการเรียนรู้
 3.9 วิธีการประเมินประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
 วิธีที่หนึ่ง การประเมินชิ้นงานแต่ละชิ้นในประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้
แล้วหาค่าเฉลี่ย
 วิธีที่สอง การประเมินตามองค์ประกอบหรื อสมรรถภาพ หรื อตาม
มิติของงาน
 วิธีที่สาม การประเมินประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้โดยรวม
4. แนวคิดเกี่ยวกันการประเมินการเรียนรู้
โดยประจักษ์พยานการเรียนรู้
 การเรี ยนรู้ตามแนวการเรี ยนรู้เพื่อสร้างสรรค์ดว้ ยปั ญญา
(Constructionism) ซึ่ งผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆโดยได้ลงมือ
ทดลองและสร้างสิ่ งต่างๆขึ้นมานั้น สอดคล้องและเหมาะสม
อย่างมากกับการประเมินผลโดยใช้ประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
4. แนวคิดเกี่ยวกันการประเมินการเรียนรู้
โดยประจักษ์พยานการเรียนรู้
 ขั้นตอนในการประเมินการเรี ยนรู้โดยใช้ประจักษ์พยานการเรี ยนรู้
 การกาหนดวัตถุประสงค์
 กาหนดประเภทของประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้
 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน
 การรวบรวมประมวลตัวอย่างผลงาน (Collecting Samples)
 การประเมินประจักษ์พยานการเรี ยนรู ้หรื อแฟ้ มสะสมผลงาน
(Evaluating the Portfolio)
ส่ วนประกอบของประจักษ์ พยานการเรียนรู้ (LP)
วิชา การบริหารจัดการโครงการวิจยั
 ตอนที่ 1 ส่ วนนา
1.แนะนารายวิชา ความสาคัญ และความน่ าสนใจ
2.แนะนาผู้สอน
3.แนะนาผู้เรียน และผู้จัดทา LP
4.วัตถุประสงค์ ของการจัดทา LP
5.ผลลัพธ์ การเรียนรู้ (LO) ตาม TQF
6.เนือ้ หาสาระของวิชา
7.กาหนดตารางการเรียนรู้ เพือ่ บรรลุผลลัพธ์ การเรียนรู้
ส่ วนประกอบของประจักษ์ พยานการเรียนรู้ (LP)
วิชา การบริหารจัดการโครงการวิจยั
5. ผลลัพธ์ การเรียนรู้ (LO) ตาม TQF
1) มีคุณธรรมและความกล้าหาญทางจริยธรรมในการบริหารจัดการ
โครงการวิจัย
2) มีความเป็ นผู้นาในการบริหารจัดการโครงการวิจัย
3) มีความสามารถในการประสานงานร่ วมมือรวมพลังและการทางานเป็ นทีม
4) มีแรงบันดาลใจ และจินตนาการในวิชาการบริหารจัดการโครงการวิจัย ให้
สาเร็จอย่ างมีคุณภาพ ได้ มาตรฐานและเป็ นแบบอย่ างทีด่ ี
ส่ วนประกอบของประจักษ์ พยานการเรียนรู้ (LP)
วิชา การบริหารจัดการโครงการวิจยั
5. ผลลัพธ์ การเรียนรู้ (LO) ตาม TQF
5) มีความรู้ความสามารถและเจตคติทดี่ ใี นการบริหารจัดการ
โครงการวิจัยอย่ างประกันคุณภาพตามหลักธรรมาภิบาล
6) มีความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ มีความคิดเชิงระบบในการบริ หาร
จัดการโครงการวิจัย
7) มีทักษะในการใช้ ภาษา การสื่ อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่
การบริหารจัดการโครงการวิจัย และการนาเสนองานวิจัย
8) มีความใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้ และวิจัยเพือ่ สร้ างองค์ ความรู้ใหม่
เกีย่ วกับการบริหารจัดการโครงการวิจัย
ส่ วนประกอบของประจักษ์ พยานการเรียนรู้ (LP)
วิชา การบริหารจัดการโครงการวิจยั
 ตอนที่ 2 การเรี ยนรู้ และการบรรลุผลลัพธ์การเรี ยนรู้
 2.1 เป็ นการบันทึกกิจกรรมการเรี ยนรู ้ท้ งั ที่เป็ นทางการและไม่เป็ น
ทางการ และการบรรลุผลลัพธ์การเรี ยนรู ้ พร้อมแสดงหลักฐานการ
เรี ยนรู ้ในแต่ละครั้ง
 2.2 สรุ ปการบรรลุผลลัพธ์การเรี ยนรู ้ แต่ละ LO
 2.3 ผลที่เกิดขึ้นเทียบกับผลที่คาดหวังก่อนเรี ยน
 2.4 ผลตามความรู ้สึกที่ได้รับจากการเรี ยนวิชานี้
ส่ วนประกอบของประจักษ์ พยานการเรียนรู้ (LP)
วิชา การบริหารจัดการโครงการวิจยั
 ตอนที่ 3 การสะท้ อนคิด เช่ น
 3.1 ปัจจัยที่ส่งผลในการบรรลุหรื อไม่บรรลุ LO หรื อไม่ได้ตามที่คาดหวัง
 3.2 การนาความรู ้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้
 3.3 การเรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิจริ ง ควบคู่กบั ทฤษฎี
 3.4 การมีบทบาทและประสบการณ์ในการกาหนด LO ของผูเ้ รี ยน
(goal setting by students)
 3.5 การเรี ยนรู ้โดยการมีส่วนร่ วม
 3.6 การเรี ยนรู ้จากการถ่ายทอดประสบการณ์ของผูส้ อน
 3.7 อื่นๆ
ส่ วนประกอบของประจักษ์ พยานการเรียนรู้ (LP)
วิชา การบริหารจัดการโครงการวิจยั
 ตอนที่ 4 การประเมินตนเองแบบรวมสรุปตาม LO (goal based)
ประเมินอิสระ (goal free) และข้ อเสนอแนะ
1.การประเมินรวมสรุ ปในแต่ละ LO
2.การประเมินรวมสรุ ปโดยอิสระ
3.ข้อเสนอแนะต่อผูส้ อนและผูเ้ รี ยนในการจัดการเรี ยนการสอนในอนาคต
สมหวัง พิธิยานุวฒ
ั น์