7. การประมวลผลข้อมูล - micro

Download Report

Transcript 7. การประมวลผลข้อมูล - micro

การประมวลผลข้อมูล
1
เนื ้อหา
31
ความหมายของข้ อมูลและสารสนเทศ
2
กระบวนการผลิตสารสนเทศ
3
ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
4
วิธีการประมวลผลข้ อมูล
5
รหัสแทนข้ อมูล
การประมวลผลข้อมูล
2
เนื ้อหา
36
โครงสร้ างข้ อมูล
7
ประเภทของแฟ้มข้ อมูล
38
ฐานข้ อมูล
9
ประเภทฐานข้ อมูล
10 ข้ อดีในการใช้ ระบบฐานข้ อมูล
การประมวลผลข้อมูล
3
เนื ้อหา
311 ระบบการจัดการฐานข้ อมูล
การประมวลผลข้อมูล
4
บทนา
ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ บนโลกนี้ มีอยู่มากมายมหาศาล การที่จะจัดการกับ
ข้อมูลเหล่านี้ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ สงู สุดต่อการใช้งาน ต้องอาศัยเครื่องมือ
กระบวนการ วิธีการต่าง ๆ เพื่อทาการประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเทศที่ดี มี
ประโยชน์ สามารถจัดเก็บและค้นคืนมาใช้งาน
ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ตลอดเวลา
การประมวลผลข้อมูล
5
ความหมายของข้ อมูลและสารสนเทศ

ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริง เกีย่ วกับคน สัตว์ วัตถุ สิง่ ของ หรือลักษณะ
ต่าง ๆ ทีอ่ าจอยูใ่ นรูปข้อความ ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพ และเสียง หรือผสมผสานกัน
ไป เช่น ชือ่ นักศึกษา จานวนอาจารย์ อายุ เพศ คะแนน รายการสินค้า ฯลฯ
การประมวลผลข้อมูล
6
ความหมายของข้ อมูลและสารสนเทศ

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสารทีไ่ ด้จากการนาข้อมูลมา
คานวณทางสถิตหิ รือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึง่ ผลลัพธ์ทไ่ี ด้ออกมานัน้ จะอยูใ่ น
รูปทีส่ ามารถนาไป
ใช้งานได้ทนั ที
การประมวลผลข้อมูล
7
กระบวนการได้ มาของสารสนเทศ
ข้ อมูล
การประมวลผล
การประมวลผลข้อมูล
สารสนเทศ
8
กระบวนการผลิตสารสนเทศ
• การเก็บรวบรวมข้ อมูล (Capturing)
• การตรวจสอบข้ อมูล (Verifying)
• การจาแนก (Classifying)
• การจัดเรียงข้ อมูล (Arranging)
• การสรุป (Summarizing)
• การคานวณ (Calculating)
การประมวลผลข้อมูล
9
กระบวนการผลิตสารสนเทศ
• การจัดเก็บ (Storing)
• การเรียกใช้ (Retrieving)
• การเผยแพร่ (Disseminating and Reproducing)
การประมวลผลข้อมูล
10
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ความรวดเร็ว
และ
เป็ นปัจจุบัน
ความถูกต้ อง
ข้อมูลที่จะนามาประมวลผลให้เป็ น
สารสนเทศที่ดีน้ นั จะต้องมีคุณสมบัติ
พื้นฐานดังนี้ (ครรชิต มาลัยวงศ์, 2539,
หน้า 122)
ความสมบูรณ์
สอดคล้องกับเรื่องทีส่ นใจ
การประมวลผลข้อมูล
ค้นคืนได้สะดวก
11
วิธีการประมวลผลข้ อมูล
วิธีการประมวลผลข้ อมูล
ในระบบคอมพิวเตอร์
การประมวลผลออนไลน์
(Online Processing)
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลแบบกลุ่ม
(Batch Processing)
12
การประมวลผลออนไลน์ (Online Processing)
 เป็ นเทคนิคการประมวลผลแบบสุม่ จะประมวลผลตามเวลาทีเ่ กิด การประมวลผล
ออนไลน์น้ีจดั ว่าเป็ นการประมวลผลแบบ Real-Time Processing
หมายความว่า จะทาการประมวลผลทันทีโดยไม่ตอ้ งรอรวบรวมข้อมูล รายการจะถูก
นาไปประมวลผลและได้ผลลัพธ์ทนั ที การประมวลผลแบบ Real-Time นี้ จะมี
เทอร์มนิ ลั ต่อเข้ากับ CPU โดยตรง ข้อมูลจะมีความทันสมัยอยูต่ ลอดเวลา ระบบ
ลักษณะนี้เรียกว่า Online System เช่น การฝาก-ถอนเงินของธนาคารด้วย
ATM
การประมวลผลข้อมูล
13
การประมวลผลแบบกลุม่ (Batch Processing)
 คือ การประมวลผลโดยมีการรวบรวมข้อมูลไว้ชว่ งเวลาหนึ่งก่อนทาการประมวลผล
การประมวลผลจะทาตามช่วงเวลาทีก่ าหนดอาจทาทุกวันหรือทุกสิน้ เดือน ผูใ้ ช้ไม่
สามารถเห็นผลลัพธ์ทนั ทีและไม่สามารถโต้ตอบกับระบบได้ แต่การประมวลผลแบบนี้
จะช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการประมวลผลได้มากกว่าการประมวลผลแบบอืน่ ข้อมูลจะเป็ น
แบบ Transaction file ระบบคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้ในการประมวลผลนี้เรียกว่า
Off-line System เช่น ระบบคิดดอกเบีย้ ของธนาคาร การคิดค่าน้ า-ค่าไฟ เป็ น
ต้น
การประมวลผลข้อมูล
14
ข้ อมูล และสารสนเทศ
 ข้อมูลทีจ่ ะนามาใช้กบั คอมพิวเตอร์ จะต้องมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะให้
คอมพิวเตอร์เข้าใจได้
 รูปแบบหรือสถานะ เรียกว่า สถานะแบบดิจติ อล โดยจะมีเพียง 2 สถานะคือ ปิด (0)
และ เปิด (1) ซึง่ ก็คอื ระบบตัวเลขฐานสอง(Binary system)
1
การประมวลผลข้อมูล
0
15
ข้ อมูลที่ในรูปของตัวเลขฐานสอง
1 01
10
การประมวลผลข้อมูล
1 01
01 1 01
16
การแปลความหมาย
Examples from the
ASCII Text Code
การประมวลผลข้อมูล
Code binary
00110000
Character
0
00110001
00110010
00110011
1
2
3
00110100
00110101
01000001
4
5
A
01000010
B
01000011
01000100
C
D
01000101
E
17
โครงสร้ างข้ อมูล
โครงสร้างข้อมูล แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ
 โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Data Structure) หมายถึง วิธกี าร
จัดเก็บข้อมูลในสือ่ ต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก ดิสก์เก็ต เป็ นต้น
 โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical Data Structure) หมายถึง การจัดเก็บ
ข้อมูลและความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
18
โครงสร้ างเชิงตรรกะ
 บิต (Bit - Binary Digit)
 ไบต์ (Byte)
 ฟีลด์หรือเขตของข้อมูล (Field)
 เรคอร์ด (Record)
 ไฟล์หรือแฟ้มตารางข้อมูล (File)
 ฐานข้อมูล (Database)
การประมวลผลข้อมูล
19
โครงสร้ างเชิงตรรกะ
การประมวลผลข้อมูล
20
ลาดับของข้ อมูล (ต่ อ)
SSKRU
1
2
3
KKU
4
5
6
CU
7
8
9
SSKRU
1
2
3
SSKRU
Field
00100100
1
Bit
File
Record
Byte
การประมวลผลข้อมูล
File Processing by Worawut212005
แฟ้มตารางข้ อมูลคะแนนนักศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์
การประมวลผลข้อมูล
22
ประเภทของแฟ
้
มข้
อ
มู
ล
แฟ้มสารอง
(Backup File)
แฟ้ มรายงาน
(Report File)
แฟ้มข้ อมูล
แฟ้มงาน
(Work File)
การประมวลผลข้อมูล
แฟ้ มข้ อมูลหลัก
(Master File)
แฟ้ มรายการ
(Transaction File)
แฟ้มดัชนี
(Index File)
23
แฟ้มข้อมูลหลัก ( Master File) เป็ นแฟ้มข้อมูลทีบ่ รรจุขอ้ มูลทีเ่ ป็นส่วนสาคัญ
ของงาน มักจะเรียงลาดับตามคียห์ ลัก เช่นแฟ้มข้อมูลหลักของพนักงาน ใช้ประมวลผล
เงินเดือน จะมีรายละเอียดของพนักงานแต่ละคน เช่น รหัสพนักงาน ชือ่ -สกุล วันเดือน
ปีเกิด สถานะ วันเดือนปีเข้าทางาน แผนก เงินเดือน โบนัส ฯลฯ
การประมวลผลข้อมูล
24
แฟ้มข้อมูลรายการ (Transaction File) เป็นแฟ้มข้อมูลทีบ่ นั ทึก
รายการเปลีย่ นแปลงของแฟ้มข้อมูลหลัก ซึง่ รายการเหล่านี้นามาปรับปรุงแฟ้มข้อมูล
หลักให้ได้ขอ้ มูลเป็ นปจั จุบนั และใช้เป็ นแฟ้มข้อมูลทีใ่ ห้ขอ้ มูลได้ระยะหนึ่ง
การประมวลผลข้อมูล
25
แฟ้ มดรรชนี (Index file) มีลกั ษณะเช่นเดียวกับดรรชนีชว่ งท้ายของหนังสือ ใช้
สาหรับชีบ้ อกตาแหน่งของระเบียนในแฟ้มข้อมูลหลัก เพือ่ ช่วยให้การค้นหารวดเร็วมาก
ยิง่ ขึน้ ปกติแฟ้มดรรชนีประกอบด้วย 2 entries คือเขตหลัก และตาแหน่ งที่
การประมวลผลข้อมูล
26
 แฟ้มงาน (Work File) เป็ นแฟ้มข้อมูลทีถ่ ูกสร้างในระหว่างการทางานของ
โปรแกรมระบบงาน เมือ่ สิน้ สุดการทางานของโปรแกรม แฟ้มข้อมูลปะเภทนี้จะถูก
ลบทิง้ ทันที เช่น Temp File ทีถ่ ูกสร้างโดย ระบบวินโดว์ เป็ นต้น
การประมวลผลข้อมูล
27
 แฟ้มรายงาน (Report File) เป็ นแฟ้มข้อมูลทีใ่ ช้สาหรับรายงานผลออกทาง
จอภาพ (Monitor) หรือทางเครือ่ งพิมพ์ (Printer) ซึง่ เราสามารถจัดรูปแบบ
ของรายงานได้ตามต้องการ
การประมวลผลข้อมูล
28
 แฟ้มสารอง (Backup File) เป็ นแฟ้มข้อมูลทีค่ ดั ลอกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลหลัก
เพือ่ สารองเก็บไว้เมือ่ เกิดปญั หากับแฟ้มข้อมูลหลัก ก็สามารถนาแฟ้มสารองกลับมาใช้
งานได้ ถือว่าเป็ นแฟ้มทีม่ คี วามสาคัญมากประเภทหนึ่ง
การประมวลผลข้อมูล
29
ฐานข้ อมูล (Database)
ฐานข้อมูล หมายถึง การจัดเก็บข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกันอย่างมีระบบ ซึ่งผูใ้ ช้สามารถ
เรียกใช้ขอ้ มูลในลักษณะต่าง ๆ กันได้ เช่น การเรียกดูขอ้ มูล การแก้ไขข้อมูล การเพิม่
การลบข้อมูล การเรียงลาดับข้อมูล เป็ นต้น โดยทัวไปการจั
่
ดเก็บข้อมูลมักจะนาระบบ
คอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดเก็บฐานข้อมูล เพือ่ ให้ทนั ต่อความต้องการใช้และถูกต้องตรง
ตามความเป็ นจริง
(รวิวรรณ เทนอิสสระ, 2543, หน้า 6)
การประมวลผลข้อมูล
30
โครงสร้ างของฐานข้ อมูล
00110100
470101513
470101513
มงคล
นา้ นิ่ง
80
470101513 มงคล นา้ นิ่ง 80 470101103 กนก ทิพย์ กมล 74
การประมวลผลข้อมูล
31
ประเภทของฐานข้ อมูล
ฐานข้ อมูลแบบลาดับขั้น
(Hierarchical Databases)
ฐานข้ อมูลแบบเครือข่ าย
(Network Databases)
ฐานข้ อมูล
ฐานข้ อมูลแบบสั มพันธ์
(Relational Databases)
การประมวลผลข้อมูล
32
ฐานข้ อมูลแบบลาดับขัน้ (Hierarchical
Databases)
 เป็ นโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเกีย่ วกับระเบียนข้อมูล (Record) และ
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเป็ นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (one-to-many; 1 : M)
หรือความสัมพันธ์ระหว่างแม่กบั ลูก กล่าวคือระหว่างระเบียนสองประเภท จะมีขา้ งหนึ่ง
เป็ นระเบียนแม่เพียงหนึ่งแห่ง และมีหลายด้านเป็ นระเบียนลูก
การประมวลผลข้อมูล
33
ตัวอย่างฐานข้ อมูลแบบลาดับขัน้
Root / Parent Record
แผนก
ชื่อแผนก
รหัสแผนก
สถานที่
Child Record
พนักงาน
ชื่อ
รหัสพนักงาน
รหัสแผนก
การประมวลผลข้อมูล
โครงการ
เงินเดือน
ชื่อโครงการ
รหัสโครงการ
สถานที่
34
ฐานข้ อมูลแบบเครื อข่าย (Network
Databases)
 เป็ นโครงสร้างข้อมูลทีแ่ สดงความสัมพันธ์ซบั ซ้อนกว่าแบบลาดับขัน้
โดยโครงสร้างประเภทนี้จะมีความสัมพันธ์ในลักษณะอื่นเข้ามา
เกีย่ วข้อง โครงสร้างประกอบด้วยข้อมูลประเภทระเบียนและกลุ่ม
ข้อมูลของระเบียนนัน้ ๆ เช่นเดียวกับฐานข้อมูลแบบลาดับขัน้ และ
ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทระเบียน
เรียกว่า Set Type เหมาะกับความสัมพันธ์แบบหลายต่อหนึ่ง
(many-to-one: M:1) หรือหลายต่อหลาย (many-tomany: M:M) ดังนัน้ ระเบียนลูกจะมาจากต้นกาเนิดได้มากกว่า
หนึ่งแห่ง
การประมวลผลข้อมูล
35
เศรษฐศาสตร์
นาย ก
นาย ข
…
วิชาเอก: Set Type
นักศึกษา: Member
Record
แผนก: Owner Record
การประมวลผลข้อมูล
36
ฐานข้ อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational
Databases)
 เป็ นโครงสร้างข้อมูลทีแ่ สดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในรูปตาราง 2 มิติ ทัง้
ความสัมพันธ์ของข้อมูลทีอ่ ยูใ่ นตารางเดียวกัน หรือตารางทีม่ คี วามเกี่ยวข้องกันด้วย
โดยการเชือ่ มโยงระหว่างตาราง จะใช้ Attribute ทีม่ อี ยูใ่ นตารางเป็ นตัวเชื่อมโยง
ข้อมูลกัน แนวคิดรูปแบบฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์น้ี เป็ นการออกแบบทีใ่ กล้เคียงกับการ
รับรูข้ องผูใ้ ช้ เป็ นการจัดโครงสร้างในระดับสูงและเป็ นทีน่ ิยมกันแพร่หลายมาก
การประมวลผลข้อมูล
37
EMPLOYEE
DEPARTMENT
EMPNUM
EMPNAME
SALARY
POSITION
DEPNO
1001
WARAPORN
16000
PROGRAMMER
10
1002
SIRILUK
20000
CLERK
20
DEPNO
DEPNAME
LOCATION
10
INFORMATION TECHNOLOGY
SILOM
20
ACCOUNTING
SUKUMVIT
การประมวลผลข้อมูล
38
ข้ อดีในการใช้ ระบบฐานข้ อมูล
ลดความซ้าซ้ อน
ของข้ อมูล
ทาให้ เกิดข้ อมูล
ถูกต้ องตรงกัน
การประมวลผลข้อมูล
การป้ องกันและ
รักษาความ
ปลอดภัยให้ กบั
ข้ อมูล
สามารถใช้
ข้ อมูลร่ วมกัน
ได้
มีความเป็ นอิสระ
ของข้ อมูล
39
ระบบการจัดการฐานข้ อมูล
(Data Base Management System: DBMS)
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management System:
DBMS) หมายถึง ซอฟท์แวร์ทใ่ี ช้จดั การฐานข้อมูล เพือ่ ช่วยในการสร้างข้อมูล เพิม่
ข้อมูล ลบข้อมูล ตลอดจนควบคุมและดูแลระบบฐานข้อมูล เพือ่ ช่วยให้ผูใ้ ช้สามารถ
เข้าถึงข้อมูล และสามารถนาข้อมูลนัน้ มาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การประมวลผลข้อมูล
40
ระบบการจัดการฐานข้ อมูล
(Data Base Management System: DBMS)
DBMS
ผู้ใช้ ทวั่ ไป
ฐานข้ อมูล
Add Your Text
การประมวลผลข้อมูล
41
องค์ประกอบของระบบการจัดการฐานข้ อมูล
1
2
3
ภาษาสาหรับนิยาม
ข้ อมูล
(Data Definition
Language:
DDL)
ภาษาสาหรับการใช้
ข้ อมูล
(Data
Manipulation
Language: DML)
พจนานุกรม
ข้ อมูล
(Data
Dictionary)
การประมวลผลข้อมูล
42
หน้ าที่ของระบบการจัดการฐานข้ อมูล
 กาหนดและเก็บโครงสร้างฐานข้อมูล (Define and Store
Database Structure)
 การบรรจุขอ้ มูลจากฐานข้อมูล (Load Database) หมายถึง
เมือ่ มีการประมวลผลข้อมูลจากโปรแกรมประยุกต์ ระบบการจัดการ
ฐานข้อมูลจะเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลเพือ่ ประมวลผลต่อไป
 เก็บและดูแลข้อมูล (Store and Maintain Data)
 ประสานงานกับระบบปฏิบตั กิ าร (Operating System)
ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะประสานงานกับระบบปฏิบตั กิ ารในการ
เรียกใช้ขอ้ มูล การแก้ไขข้อมูล หรือการออกแบบรายงานทีต่ ้องการ
การประมวลผลข้อมูล
43
หน้ าที่ของระบบการจัดการฐานข้ อมูล
 ช่วยควบคุมความปลอดภัย (Security Control) ระบบการจัดการ
ฐานข้อมูลจะควบคุมการใช้งานของผูใ้ ช้แต่ละคน เพือ่ ป้องกันความเสียหาย
ของข้อมูลและระบบ
 การจัดทาข้อมูลสารองและการกูข้ อ้ มูล (Backup and Recovery)
กรณีทม่ี ปี ญั หากับฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะใช้ขอ้ มูลสารอง
ในการฟื้นสภาพของระบบให้อยูใ่ นภาวะปกติ
 ควบคุมการใช้ขอ้ มูลพร้อมกันของผูใ้ ช้ (Concurrency Control)
 ควบคุมความบูรณภาพของข้อมูล (Integrity Control) ระบบการ
จัดการฐานข้อมูลจะมีระบบในการฟื้นสภาพข้อมูลให้กลับสูส่ ภาพทีส่ มบูรณ์
ได้
 จัดทาพจนานุ กรมข้อมูล (Data Dictionary)
การประมวลผลข้อมูล
44
การท
างานด้
ว
ยระบบการจั
ด
การฐานข้
อ
มู
ล
 การสร้างตาราง เป็ นขัน้ ตอนแรกของการสร้างฐานข้อมูลโดยระบบการจัดการ
ฐานข้อมูล จะสร้างตารางฐานข้อมูลเพือ่ กาหนดเป็ นโครงสร้างข้อมูลทีจ่ ะจัดเก็บ ใน
การสร้างตารางผูใ้ ช้จะต้องกาหนดว่าจะเก็บข้อมูลประเภทใดบ้าง โดยกาหนด
รายละเอียดเกีย่ วกับเขตข้อมูล ได้แก่ ชื่อ ชนิด และขนาดของเขตข้อมูล เป็ นต้น
 การพิมพ์และแก้ไขข้อมูล ผูใ้ ช้สามารถกรอกข้อมูลเข้าไปในระบบฐานข้อมูลได้ โดย
การกรอกข้อมูลเป็ นการพิมพ์ตวั อักษรทีค่ ยี บ์ อร์ด หรือการกรอกข้อมูลตามชื่อเขต
ข้อมูลทีป่ รากฏ
 การดูขอ้ มูลแบบการกรองข้อมูล การดูขอ้ มูลทัง้ หมดทีม่ อี ยูใ่ นตารางทาให้ได้ขอ้ มูล
มากเกินไป เพราะระบบจะแสดงผลระเบียนข้อมูล (Record) ทัง้ หมดของ
ฐานข้อมูลทีม่ อี ยู่ ดังนัน้ ระบบการจัดการฐานข้อมูล จึงมีวธิ กี ารดูขอ้ มูลแบบการกรอง
ข้อมูล (Filter)
การประมวลผลข้อมูล
45
การทางานด้ วยระบบการจัดการฐานข้ อมูล
 การจัดเรียงระเบียนข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลมีความสามารถในการจัดเรียงข้อมูลได้
อย่างรวดเร็ว โดยการจัดเรียงข้อมูลอาจยึดเขตข้อมูลใดเขตข้อมูลหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งเขต
ข้อมูลเป็ นตัวจัดเรียง เช่น ในตารางข้อมูลหนังสือ ผูใ้ ช้สามารถจัดเรียงเขตข้อมูลตามลาดับเลข
เรียกหนังสือ หรือจัดเรียงเขตข้อมูลของชือ่ หนังสือตามลาดับตัวอักษร เป็ นต้น
 การค้นหาข้อมูล ผูใ้ ช้สามารถสร้างคาสังหรื
่ อข้อกาหนดทีเ่ หมาะสมในการค้นหาข้อมูลได้ ดังนี้
 (1) เจาะจงระเบียนข้อมูลทีต่ อ้ งการ
 (2) สร้างความสัมพันธ์หรือการเชือ่ มโยงระหว่างตารางเพือ่ ทาการเปลีย่ นแปลง
ระเบียนข้อมูล
 (3) แสดงรายการย่อยของระเบียนข้อมูล
 (4) ทาการคานวณ
 (5) ลบระเบียนข้อมูล
 (6) ทาการจัดการข้อมูลอื่น ๆ
การประมวลผลข้อมูล
46
การทางานด้ วยระบบการจัดการฐานข้ อมูล
 การสร้างรายงาน ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการทางานของระบบการจัดการ
ฐานข้อมูล ไม่จาเป็ นต้องปรากฏทีห่ น้าจอทุกครัง้ เพราะการสร้าง
รายงานในระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนใหญ่จะสร้างจากผลของการค้นหา
เป็ นการรวบรวมข้อมูลจากความต้องการหรือข้อกาหนดของผูใ้ ช้
นอกจากนี้รายงานสามารถกาหนดขอบเขตจากรายการของ
ระเบียนข้อมูลเพือ่ เจาะจงตามความต้องการ เช่น ใบสังซื
่ อ้ สามารถสร้าง
รายงานจากการเลือกข้อมูลและกาหนดการคานวณโดยอัตโนมัตเิ พื่อให้
ได้ผลลัพธ์ในขณะทีม่ กี ารพิมพ์ เช่น ข้อมูลทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั สามารถ
นามาคานวณหาผลรวมย่อยและผลรวมของใบสังซื
่ อ้ หรือผลรวมสรุป
ยอดขาย เป็ นต้น
การประมวลผลข้อมูล
47
Add your company slogan
การประมวลผลข้อมูล
48