นพ.พงษ์พิสุทธิ์HSR in the next 2 decades

Download Report

Transcript นพ.พงษ์พิสุทธิ์HSR in the next 2 decades

สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
ระบบวิจยั สุ ขภาพ
ใน 2 ทศวรรษหน้า
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุ ข
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
ความเข้าใจพื้นฐานบางประการ 1
 การวิจยั เป็ น “เครื่ องมือ” สาหรับการพัฒนาประเทศและ
สังคมโดยรวม
ความชัดเจนเรื่ องเป้ าหมายการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่
ความสมดุลระหว่างความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ และความมัน่ คงของ
สังคม/ความสุ ขของประชาชน
 เราอยากได้สังคมแบบไหน ต้องออกแบบระบบวิจยั ให้รองรับ

 ระบบวิจยั เป็ น “สมอง” ที่ตอ
้ งเชื่อมโยงกับ “ร่ างกาย”
คือ การนาความรู ้ไปสู่ การปฏิบตั ิ และสรุ ปบทเรี ยนจาก
การปฏิบตั ิเพื่อเป็ นความรู้
 ความแตกต่าง “การวิจยั ” และ “การจัดการความรู ้”
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
การวิจยั และการจัดการความรู ้




การวิจยั เน้นสร้างความรู ้แล้วจึงเผยแพร่ /ถ่ายทอดสู่ ผใู ้ ช้ แต่การจัดการ
ความรู ้เป็ นการสร้างและใช้ความรู ้อยูท่ ี่เดียวกัน
การวิจยั เป็ นกิจกรรมของนักวิจยั ส่ วนการจัดการความรู ้เป็ นกิจกรรม
ของผูป้ ฏิบตั ิงาน
การวิจยั เน้นความรู้แจ้งชัด (explicit knowledge) ความรู้ที่แยกส่ วน มี
ความชัดเจน มีการพิสูจน์ทางทฤษฎี ส่ วนการจัดการความรู ้เน้นความรู้
ฝังลึก (tacit knowledge) เป็ นความรู ้บูรณาการ ไม่ค่อยชัดเจน ผ่านการ
พิสูจน์โดยการใช้ประโยชน์
การวิจยั เน้นการทาเอกสารรายงานเป็ นผลงานวิจยั การจัดการความรู้
เน้นการจดบันทึกเพื่อการใช้งาน/เรี ยนรู้ของผูป้ ฏิบตั ิ
ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
ความเข้าใจพื้นฐานบางประการ 2
 สุ ขภาพและบริ การสุ ขภาพไม่ใช่ “สิ นค้า” ปรกติ ที่
สามารถใช้กลไกตลาด ทาให้เกิดความเป็ นธรรมและ
ประสิ ทธิภาพสูงสุ ด

การวิจยั สุ ขภาพมุ่งเน้นประโยชน์สาธารณะมากกว่าประโยชน์ของ
ปั จเจกชน แต่การลงทุน R&D จากภาคเอกชน ก็เป็ นแรงขับเคลื่อน
สาคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี จะรักษาสมดุลนี้อย่างไร
 การพัฒนาโดยมุ่งเน้นที่ฐานรากของประเทศ หรื อความ
เข้มแข็งของชุมชน

เจดียเ์ ริ่ มต้นจากการสร้างฐานที่มนั่ คง (ศ.นพ.ประเวศ วะสี )
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
ภาพฝันระบบวิจยั สุ ขภาพ 1
 ระบบที่เน้นการ “สร้างคน” ที่ไม่จากัดเฉพาะ “นักวิจยั ”
แต่ครอบคลุมการส่ งเสริ มประชาชนให้เกิด “วัฒนธรรม
การสร้างและใช้ความรู้”


ทรัพยากรบุคคลเป็ นปัจจัยสาคัญที่สุดในการพัฒนา เป้ าหมายไม่
ควรจากัดแค่การพัฒนาจานวนและศักยภาพ “นักวิจยั ” เท่านั้น
ระบบที่ขยาย “การวิจยั ” หรื อ “การจัดการความรู้” ให้
ครอบคลุมกว้างขวางที่ไม่จากัดแค่ภายในระบบวิจยั
ปฏิรูประบบ “การศึกษา” ให้เป็ นระบบที่เน้น “การเรี ยนรู้” และ
สร้างแรงจูงใจในการใฝ่ เรี ยนรู ้ มากกว่าระบบการ “ท่องจา”
 การขยายแนวคิดการวิจยั จากงานประจา (R2R)

สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
มหาวิทยาลัยและการวิจยั
 การปฏิรูประบบการเรี ยนรู ้ (ของมหาวิทยาลัยและ
นักศึกษา) โดยเชื่อมโยงมหาวิทยาลัยกับการพัฒนา
แนวคิด 1 มหาวิทยาลัยดูแล 1 จังหวัดของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 แนวทางการกาหนดหัวข้อ/ประเด็นวิทยานิ พนธ์ของนักศึกษา
 ระบบสนับสนุ นการวิจยั ของนักศึกษา/บุคลากรมหาวิทยาลัย

 การปฏิรูประบบแรงจูงใจบุคลากรในการทาวิจยั

ระบบการค่าตอบแทนและการกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ (ที่ไม่
เน้นแค่การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเท่านั้น)
่ อดทางการเงินที่
 มหาวิทยาลัยนอกระบบ และการอยูร
ไม่กระทบต่อบทบาทมหาวิทยาลัยต่อสังคม
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
ภาพฝันระบบวิจยั สุ ขภาพ 2
 ระบบที่เน้นการลงทุนโดยภาครัฐเป็ นหลัก การลงทุน
ของเอกชนเป็ นส่ วนเสริ ม โดยมีการควบคุมกาไรจาก
นวัตกรรมต่างๆ อย่างเหมาะสม

ภาครัฐอาจอุดหนุนการวิจยั ของภาคเอกชน เพื่อจูงใจให้ดาเนินการ
และส่ งเสริ มการทากิจกรรมเพื่อสังคม (social entrepreneur)
 มีระบบการจัดการงานวิจยั /การจัดการความรู ้ที่คล่องตัว
มีประสิ ทธิภาพ และส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู้
การบูรณาการกระบวนการสร้างและการส่ งเสริ มการใช้ความรู ้
 การพัฒนาให้เกิด “ผูจ้ ด
ั การงานวิจยั (RM)” และ “ผูจ้ ดั การความรู้
(KM)” ให้เกิดขึ้นในทุกๆ องค์กร

สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข
ขอบคุณครับ
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข