เทคนิคการเขียนบทความวิจั

Download Report

Transcript เทคนิคการเขียนบทความวิจั

การเขียนบทความ
่
วิจย
ั เพือตีพม
ิ พ ์ใน
วารสารวิ
ช
าการ
การบรรยายพิเศษ โดย
ศาสตราจารย ์ ดร.อมรา
์
ประสิทธิร ัฐสินธุ ์
จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
1
คาสาคัญ และจุดเน้น
• การตีพม
ิ พ ์เผยแพร่
ผลงานวิจยั
• บทความวิจ ัย
• การเขียนทางวิชาการ
• วารสารวิชาการ
2
วัตถุประสงค ์ของการ
บรรยาย
• อธิบายลักษณะและเงื่อนไขของ
วารสารวิชาการ
• อธิบายลักษณะของบทความวิจ ัย
• บอกเคล็ดลับการเขียนบทความ
วิจ ัยทีด ี
้
• แนะนาขันตอนการเขี
ยน
่ พม
บทความวิจ ัยเพือตี
ิ พ์
3
วารสารวิชาการ คือ อะไร
• คาสาคัญคือ วารสาร วิชาการ
่
• วารสาร คือ หนังสือทีออกตาม
่
กาหนดเวลา เพือเสนอความคิ
ด
ใหม่ หรือความรู ้ใหม่ ใน
้
สาขาวิชาหรือเนื อหาด้
านใดด้าน
หนึ่ ง.
4
มาตรฐานของ
วารสารวิชาการ (สากล)
• 1. ออกตามกาหนดเวลา
่ ยนโดย
• 2. ตีพม
ิ พ ์บทความทีเขี
นักวิชาการ
่
่ นทีสนใจของ
่
• 3. เป็ นเรืองที
เป็
ชุมชนวิชาการ
่
5
่
เงือนไขของ
วารสารวิชาการ (สากล)
• บทความควรมีความยาวไม่เกิน 20
หน้า
• ไม่ร ับบทความแสดงความคิดเห็น
ข้อสรุปต้องมีหลักฐาน
• บทความต้องแสดงผลการวิเคราะห ์
ของผู เ้ ขียนเอง
• มีว ัฒนธรรมการเขียนแบบวิชาการ
(academic writing)
6
บทความวิจย
ั คืออะไร
• บทความวิจ ัย เป็ นการเขียนแบบ
วิชาการ (academic writing) มี
ลักษณะสาคัญ 3 ประการ
–1. เขียนโดยนักวิชาการ (scholars)
่ กวิชาการอืนๆ
่
เพือนั
่
่ ยนเป็ นเรืองที
่
่ มชน
–2. เรืองที
เขี
ชุ
วิชาการ (academic community)
7
13 ลักษณะของบทความ
วิจย
ั
• 1. เขียนโดยนักวิชาการ
(scholars)
–นักวิชาการ คือผู ท
้ ต้
ี่ องอ่าน คิด
โต้เถียงด้วยเหตุผล และเขียน
่
่ งใหญ่
่
เพือเผยแพร่
ความคิดทียิ
ใน
เชิงวิชาการ
่
่
–อะไรทีเราเขี
ยนเพือให้
นก
ั วิชาการ
่
8
ลักษณะของบทความวิจย
ั
(ต่อ)
่
่ ยนเป็ นทีสนใจของ
่
• 2. เรืองที
เขี
ชุมชนวิชาการ (academic
community)
่
–หัวข้อต้องเหมาะสม และเกียวข้
อง
กับสาขาวิชา
่
–ไม่ใช่เรืองส่
วนตัว หรือความรู ้สึก
ส่วนตัว
9
ลักษณะของบทความวิจย
ั
(ต่อ)
้
่ ยนต้องเสนอในรู ป
• 3. เนื อหาที
เขี
่ าให้เกิด
ของการให้เหตุผลทีท
ความรู ้ใหม่(Informed
argument)
– ต้องเสนอว่าผู เ้ ขียนรู ้อะไรและต้องการ
่
่
่ ยน
ให้ผูอ
้ า
่ นรู ้อะไรเกียวก
ับเรืองที
เขี
(inform)
่
– ต้องเสนอว่าผู เ้ ขียนคิดอย่างไรเกียวก
ับ
่
้ วย (argue)
เรืองนั
นด้
10
ลักษณะของบทความวิจย
ั
(ต่อ)
• 4.ข้อเท็จจริง หรือหลักฐานได้มาจาก
การวิจย
ั ของผู เ้ ขียนเอง
• 5. เป็ นการรายงานผลการวิจย
ั (ต้อง
ทาวิจย
ั ก่อน)
• 6. เน้นสมมติฐาน และการ
วิธด
ี าเนิ นการวิจย
ั
• 7. เน้นการทดสอบทฤษฎี
• 8. เน้นการได้ทฤษฎีใหม่ (ได้
11
ลักษณะของบทความวิจย
ั
(ต่อ)
• 11.มีลก
ั ษณะเล็กแต่ลก
ึ
• 12.มีจด
ุ ยืนหรือข้อสรุปของตนเอง
• 13.การเขียนบทความวิจย
ั ผู เ้ ขียน
ต้องรู ้จัก 4 ประการด ังนี ้
– ต้องรู ้จักสรุปความ (summarize)
– ต้องรู ้จักประเมิน (evaluate)
– ต้องรู ้จักวิเคราะห ์ (analyze)
12
ประเภทของบทความวิจย
ั
• บทความวิจ ัยมี 2 แบบ
–1. แบบวิเคราะห ์
(analytical)
–2. แบบโต้แย้ง
(argumentative)
13
ประเภทของบทความวิจย
ั
(ต่อ)
• บทความวิจย
ั แบบวิเคราะห ์
(analytical)
่ สับ
–การวิเคราะห ์คือการหัน
ชาแหละ ข้อมู ลหรือข้อเท็จจริง
้ เพือศึ
่ กษา
ออกเป็ นชินๆ
ตรวจสอบ และเข้าใจอย่างถ่องแท้
่
–มีการสรุปภาพรวมในเชิงทีมี
ความหมายสาหร ับผู ว้ จ
ิ ย
ั
14
ประเภทของบทความวิจย
ั
(ต่อ)
• บทความวิจย
ั แบบโต้แย้ง
(argumentative)
–มีการแสดงจุดยืน
–ใช้ขอ
้ ค้นพบสนับสนุ นจุดยืน
้
–มีการให้เหตุผลเป็ นขันตอน
–นาไปสู ่ขอ
้ สรุป
่
่ ขอ
–มักเป็ นเรืองที
มี
้ ขัดแย้ง หรือ ยัง
หาข้อสรุปไม่ได้.
15
เคล็ดลับการเขียน
บทความวิจ ัยทีด ี
• อ่านบทความวิชาการมากๆ
่ ยนโดย
โดยเฉพาะทีเขี
นักวิชาการเก่งๆ
• จดจาวิธก
ี ารและลีลาการเขียน
้
ของคนเก่งเหล่านัน
• พยายามเข้าร่วมการสัมมนา
่
16
เคล็ดลับการเขียน
บทความวิจ ัยทีด ี ้ (ต่อ)
• บทความต้องมีขนาดและนาหนัก
พอเหมาะ มีเอกภาพ ไม่ควรนา
้ องมา
่
วิทยานิ พนธ ์ หรืองานวิจย
ั ทังเรื
เขียนย่อเป็ นบทความ บทความ
ไม่ใช่ mini-thesis
• อย่าสับสนระหว่าง ความเห็น กับ
ข้อเท็จจริง และ ข้อสันนิ ษฐาน ก ับ
หลักฐาน
17
เคล็ดลับการเขียน
บทความวิจ ัยทีด ี (ต่อ)
• ต้องเข้าใจมโนทัศน์ และศ ัพท ์
บัญญัตท
ิ ใช้
ี่ อย่างถ่องแท้
่ ใ้ ด หรือเอกสารใดง่ ายๆ
• อย่าเชือผู
จงอ่านอย่างระมัดระว ัง
่
่ อย่า
• ระวังเรืองการใช้
ผลงานคนอืน
ขโมยงานผู อ
้ น
ื่ (plagiarism)
• ใช้ภาษาวิชาการ
18
้
ขันตอนการเขี
ยนบทความ
วิจ ัย
่ จยั เสร็จแล้ว หรือ
• เขียนเมือวิ
วิเคราะห ์เสร็จแล้ว
่
่
• เลือกหัวข้อ หรือเรืองที
จะเขี
ยน
่ าสนใจ
ควรเป็ นประเด็นเดียว ทีน่
่ อง
่
• กาหนดชือเรื
• กาหนดวัตถุประสงค ์ และ
สมมติฐาน
19
้
ขันตอนการเขี
ยนบทความ
วิจ ัย
• กาหนดวัตถุประสงค ์ และ
สมมติฐาน
• ทาโครงร่าง
่ นเขียน
• เริมต้
่ องเขียนความเป็ นมา
• ก่อนอืนต้
่ ยนบทความ
หรือเหตุผลทีเขี
่
• เมือเขี
ยนบทความเสร็จ ต้องเช็ค
20
้
ขันตอนการเขี
ยนบทความ
วิจยั (ต่อ)
• ให้ผูอ
้ นอ่
ื่ าน เช่นอาจารย ์ รุน
่ พี่
่
่ ับคา
หรือนาเสนอในทีประชุ
ม เพือร
วิจารณ์
• นาคาวิจารณ์มาปร ับปรุงโดย ตัด
แต่ง ต่อ เติม
• ถ้าเป็ นภาษาอ ังกฤษ ต้องให้เจ้าของ
ภาษาช่วยอ่านและแก้ภาษาก่อน
21
้
ขันตอนการเขี
ยนบทความ
วิจยั (ต่อ)
่ ตน
• เมือได้
้ ฉบับกลับ ให้ทาความเข้าใจ
กับคาวิจารณ์
• แก้ไขตามผู ว้ จ
ิ ารณ์ และสรุปข้อที่
แก้ไขส่งกลับบรรณาธิการ
่ การตรวจภาษาแล้ว ต้องแก้ไขให้
• เมือมี
สมบู รณ์ และเป็ นระบบ
่
• เมือบรรณาธิ
การส่งต้นฉบับให้ตรวจ
่ วน
ปรู ๊ฟ ต้องตรวจอย่างละเอียดถีถ้
22
ข้อควรระวังในการเขียน
ภาษาไทย
่
• ใช้ภาษาเรียบง่ าย ไม่เยินเย้
อ
้ วต
• เช่น บทความนี มี
ั ถุประสงค ์
่ จะท
่ าการศึกษา
เพือที
วิเคราะห ์ถึงการดาเนิ นการ
การบริหารจัดการ
มหาวิทยาลัยนอกระบบ
้ วต
•  บทความนี มี
ั ถุประสงค ์
23
ข้อควรระวังในการเขียน
ภาษาไทย
• ผลการวิเคราะห ์ทาให้ผูว้ จ
ิ ยั
่ าคัญ
สามารถสรุปประเด็นซึงส
หลายประเด็นได้ดงั ต่อไปนี ้
•  ผลการวิเคราะห ์ สรุปประเด็น
สาคัญได้ดงั นี ้
่
• โรงสีขา้ วทาหน้าทีในการแปร
รู ปข้าวเปลือกให้กลายเป็ น
ข้าวสาร  โรงสีขา้ วทาหน้าที ่
แปรรู ปข้าวเปลือกเป็ นข้าวสาร
24
ข้อควรระวังในการเขียน
ภาษาไทย
่
• ภู พระบาทเป็ นแหล่งท่องเทียว
่ มี
่ ศ ักยภาพ
มรดกโลกแห่งหนึ งที
่
•  ภู พระบาทเป็ นแหล่งท่องเทียว
่ ศ ักยภาพ
มรดกโลกทีมี
่
• ภู พระบาทเป็ นชือของภู
เขา
่ งอยู
้ ่ใน
ขนาดเล็กลู กหนึ งตั
จังหวัดอุดรธานี
่ เขาขนาด
•  ภู พระบาทเป็ นชือภู
้ ่ในจังหวัดอุดรธานี .
เล็กตังอยู
25
ข้อควรระวังในการเขียน
ภาษาไทย
้
่
• งานวิจย
ั นี มีวต
ั ถุประสงค ์เพือ
•
่ ดขึน
้
ศึกษาถึงผลกระทบทีเกิ
่
ในทางเศรษฐกิจอันเนื องมาจาก
การใช้จา่ ยของคู ส
่ มรส
้ ภาค
่
ชาวต่างชาติในเขตพืนที
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
้ วต
 งานวิจย
ั นี มี
ั ถุประสงค ์เพือ่
ศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ
26
ข้อควรระวังในการเขียน
ภาษาอ
ังกฤษ
่
• ระว ังเรืองไวยากรณ์ (เพราะต่างจาก
ภาษาไทย)
• เอกพจน์ พหู พจน์ นามนับได้ นับ
ไม่ได้
• กาล (tense)
้
• คานาหน้านาม a, an, the ชีเฉพาะ
ไม่ชเฉพาะ
ี้
• คากริยา vs. คาคุณศ ัพท ์
27
ข้อควรระวังในการเขียน
ภาษาอ ังกฤษ
ตัวอย่าง
ผิด My previous house is in the small
town.
ถู ก My previous house was in a small
town.
ผิด He is also accepted among the White
Americans.
ถู ก He is also accepted among White
28
Americans.
ข้อควรระวังในการเขียน
ภาษาอ ังกฤษ
ผิด The purpose is to analyze color
term in Thai language.
ถู ก The purpose is to analyze color
terms in the Thai language.
ถู ก The purpose is to analyze color
terms in Thai.
29
ข้อควรระวังในการเขียน
ภาษาอ ังกฤษ
ผิด do a research
ถูก do research
ผิด this research
ถูก this study
ผิด Based on the research
findings, that expenditures
affected on the income and
employment in the northeast.
ถูก those… had effect on/affected.
30
้ อบทความวิ
่
การตังชื
จย
ั
้ กระช ับ ใช้ศ ัพท ์เฉพาะแทน
• สัน
มโนทัศน์
• เข้าใจง่ าย ไม่คลุมเครือ ไม่ทาให้
คนอ่านตีความผิด
่ ยนในบทความ
• สะท้อนทุกอย่างทีเขี
อย่างถู กต้อง
• ไม่หวือหวา ไม่ตนเต้
ื่
น ไม่ใช้
ภาษาปาก หรือคาสแลง
31
่ องบทความวิ
่
ตัวอย่างชือเรื
จยั
• ผลกระทบของคู ส
่ มรสชาวต่างชาติ
่ ตอ
ทีมี
่ เศรษฐกิจอีสาน
• ประสิทธิภาพทางเทคนิ คของ
โรงพยาบาลชุมชน กรณี ศก
ึ ษา:
โรงพยาบาลขอนแก่น
• แนวทางการพัฒนาอุทยาน
่ น
ประวัตศ
ิ าสตร ์ภู พระบาทเพือเป็
่
แหล่งท่องเทียวมรดกโลก
32
่ องบทความวิ
่
ตัวอย่างชือเรื
จยั
• ASEAN AND LOW-LEVEL SECURITY COOPERATION
(Johannes Lund 2004)
• BUDDHISM AND POLITICAL LEGITIMATION IN
BURMA (1988-2003)
(Rattanaporn Poungpattana 2004)
• CONTINUITY AND CHANGE IN HMONG CULTURAL
IDENTITY: A CASE STUDY OF HMONG REFUGEES
FROM LAOS IN WAT THAMKRABOK, SARABURI,
THAILAND (Heidi Jo Bleser 2004)
• CROSS-CULTURAL ADJUSTMENT AND
INTEGRATION OF WESTERN EXPATRIATE WOMEN
IN BANGKOK (Maria Ida Barrett 2004)
• REWAT BUDDHINAN’S INFLUENCE ON THAI
POPULAR MUSIC (1983-1996) (Prit Patarasuk 2004)
33
่ องบทความวิ
่
ตัวอย่างชือเรื
จยั
• BANGLADESH’S ENGAGEMENT WITH ASEAN:
RETROSPECT AND PROSPECT (Md. Morshed Alom
2005)
• DEMOCRACY IN THAILAND UNDER THAI RAK THAI
GOVERNMENT
(Dermot Michael Monaghan 2005)
• EDUCATIONAL OPPORTUNITIES OF BURMESE
MIGRANT CHILDREN IN SAMUT SAKHON PROVINCE
(Chawandhorn Muangmee 2005)
• IMPACTS OF MEKONG RIVER COMMISSION’S
FISHERIES PROGRAMME ON SUSTAINABLE
DEVELOPMENT IN ANGNAMHOUM AND
HOINAMYEN VILLAGES, VIENTIANE, LAO PDR
(Bangone Santavasy 2005)
• LOCAL GOVERNMENT: A STUDY OF BANGKOK
METROPOLITAN ADMINISTRATION AND DHAKA
34
CITY CORPORATION (Syama Afroz 2005)
่ องบทความวิ
่
ตัวอย่างชือเรื
จยั
• Fernando Bernstein and A. Gürhan Kök
– Dynamic Cost Reduction Through Process Improvement in
Assembly Networks
MANAGEMENT SCIENCE 2009 55: 552-567, published online
• John P. Lightle, John H. Kagel, and Hal R. Arkes
– Information Exchange in Group Decision Making: The
Hidden Profile Problem Reconsidered
MANAGEMENT SCIENCE 2009 55: 568-581, published
online
• Victor Richmond R. Jose, Robert F. Nau, and Robert L. Winkler
– Sensitivity to Distance and Baseline Distributions in Forecast
Evaluation
MANAGEMENT SCIENCE 2009 55: 582-590, published online
• Daniel Dorn and Paul Sengmueller
– Trading as Entertainment?
35
MANAGEMENT SCIENCE 2009 55: 591-603, published online
่ องบทความวิ
่
ตัวอย่างชือเรื
จยั
• Serden Özcan and Toke Reichstein
– Transition to Entrepreneurship from the Public
Sector: Predispositional and Contextual Effects
MANAGEMENT SCIENCE 2009 55: 604-618,
published online
• Gad Allon and Awi Federgruen
– Competition in Service Industries with Segmented
Markets
MANAGEMENT SCIENCE 2009 55: 619-634,
published online b
• Joanne Oxley and Tetsuo Wada
– Alliance Structure and the Scope of Knowledge
Transfer: Evidence from U.S.-Japan Agreements
MANAGEMENT SCIENCE 2009 55: 635-649,
published online
36
การเขียนวัตถุประสงค ์
่ กษา
• ว ัตถุประสงค ์ คือประเด็นทีศึ
• ถ้ามีหลายประเด็น ให้แยกข้อ และทุก
ข้อต้องสัมพันธ ์กัน
่ นการกระทา เช่น
• ใช้คากริยาทีเป็
ศึกษา วิเคราะห ์ เปรียบเทียบ
สารวจ ไม่ใช้คาว่า เข้าใจ รู ้
ซาบซึง้
• วัตถุประสงค ์ไม่ใช่เป้ าหมาย หรือ
37
การเขียนสมมติฐาน
• สมมติฐาน ต้องสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค ์
• เป็ นประโยคบอกเล่า ไม่ใช้คาว่า
จะ
่ ผู
่ ว้ จ
• เป็ นสิงที
ิ ัยคาดหมายว่าจะพบ
ในการวิเคราะห ์
• แสดงความสัมพันธ ์ของตัวแปร
38
การอ้างอิง
่
่
• ใช้ระบบสมัยใหม่ อ้างชือในตัวเรื
อง
่
• อย่านาบางส่วนของบทความอืนมาแล้
ว
ทาเชิงอรรถตอนท้าย
่
• ให้อา้ งชือไปในประโยคเลย
เช่น อมรา
ประสิทธิร์ ัฐสินธุ ์ (2549: 38-40) กล่าว
ว่า/โต้แย้งว่า/สันนิ ษฐานว่า/สรุปว่า/เห็น
ว่า/ให้คาจากัดความว่า ......
• อ้างต่อๆกัน ให้เขียนว่า ลาบอฟ (Labov
1972: 54 อ้างใน อมรา ประสิทธิร์ ัฐสินธุ ์
39
การอ้างอิง
่ กชือที
่ อ้
่ างในบทความ ต้องบรรจุไว้
• ชือทุ
่
ในรายชือหนั
งสืออ้างอิงข้างท้าย
่ อ้
่ างกับชือในรายการอ้
่
• ชือที
างอิง ต้อง
้ นเหมือนกัน และเป็ นระบบ
ขึนต้
่
• ชือภาษาอ
ังกฤษ ให้อา้ งนามสกุล เช่น
่ Roger Brown ให้อา้ งใน
นักวิชาการชือ
บทความว่า บราวน์ (Brown 2005: 45)
... และในรายการอ้างอิง ให้เขียนว่า
Brown, Roger. 2005. ….
40
การเขียนบทคัดย่อ
่
• แล้วแต่วารสารกาหนด แต่โดยทัวไป
ควรมีความยาวไม่เกิน 1
หน้ากระดาษ A4
้
่
• เนื อหาประกอบด้
วย การเกรินความ
เป็ นมาเล็กน้อยถึงภู มห
ิ ลังของ
บทความ ตามด ัวยวัตถุประสงค ์
สมมติฐาน ข้อมู ล ผลการวิเคราะห ์
และการประเมิน (ถ้าต้องการ)
41
แบบฝึ กหัด
• ให้ผูเ้ ข้าอบรมนาบทความมาเป็ นตัวอย่าง
่ อง
่ วัตถุประสงค ์
• ให้พจ
ิ ารณาชือเรื
สมมติฐาน การอ้างอิง บทคัดย่อ และ
องค ์รวม ในประเด็นดังนี ้
• ความช ัดเจน
• ความกระช ับ
• ความถู กต้องในการอ้างอิง
่
• สอดคล้องกับหลักการทีบรรยายวั
นนี ้
42