ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย

Download Report

Transcript ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย

การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
นายสรรเพชญ แสงเนตรสว่ าง
ผู้อานวยการส่ วนกากับดูแลการทาธุรกรรม
สานักเทคโนโลยีสารสนเทศและสื บสวนทางการเงิน
สำนักงำนป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน
องค์ กรระหว่ างประเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง
•
•
•
•
องค์ การสหประชาชาติ
Financial Action Task Force;FATF
The Asia/Pacific Group on Money Laundering;APG
The Egmont Group of Financial Intelligence Units
2
การฟอกเงิน
หมายถึง การนาเงินหรือทรัพย์ สินที่ได้ มาจากการกระทาความผิด
หรือได้ มาโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย มาเปลีย่ นสภาพให้ เป็ นเงินหรือ
ทรัพย์ สินทีไ่ ด้ มาอย่ างถูกต้ อง หรือเรียกได้ ว่า กระบวนการทา “เงิน
สกปรก” ให้ เปลีย่ นสภาพเป็ น “เงินสะอาด” หรือ
หมายถึง การเปลีย่ นสภาพเงิน หรือทรัพย์ สินที่ได้ มาโดย
ผิดกฎหมาย ให้ ดูเสมือนว่ าได้ มาโดยชอบด้ วยกฎหมาย
หมายถึง การนาเงินสนับสนุนเพือ่ การก่ อการร้ าย
อานาจหน้ าที่ของสานักงาน ปปง.
• ดำเนินกำรให้เป็ นไปตำมมติของคณะกรรมกำร คณะกรรมกำรธุรกรรมและปฏิบตั ิงำนธุรกำรอื่น
• รับรายงานการทาธุรกรรมทีส่ ่ งให้ ตามหมวด ๒ และแจ้ งตอบการรับรายงาน รวมทั้งการรับรายงาน
และข้ อมูลเกีย่ วกับการทาธุรกรรมทีไ่ ด้ มาโดยทางอืน่
• รับหรื อส่ งรำยงำนหรื อข้อมูลเพื่อปฏิบตั ิกำรตำมพระรำชบัญญัติน้ ีหรื อกฎหมำยอื่น หรื อตำมข้อตกลง
ที่ได้จดั ทำขึ้นระหว่ำงหน่วยงำนในประเทศหรื อต่ำงประเทศ
• กาหนดแนวทางปฏิบตั ิ กากับ ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตินี้ของผู้มี
หน้ าทีร่ ายงานการทาธุรกรรมต่ อสานักงานตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวปฏิบตั ิตามระเบียบที่
คณะกรรมการกาหนด
• เก็บ รวบรวมข้ อมูล สถิติ ตรวจสอบ และติดตามประเมินผลการดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้
และวิเคราะห์ รายงานหรือข้ อมูลต่ าง ๆ เกีย่ วกับการทาธุรกรรม และประเมินความเสี่ ยงทีเ่ กีย่ วกับการ
ฟอกเงินหรือการสนับสนุนทางการเงินแก่ การก่ อการร้ าย
• เก็บรวบรวมพยำนหลักฐำนเพื่อดำเนินคดีกบั ผูก้ ระทำควำมผิดตำมพระรำชบัญญัติน้ ี
• จัดให้ มโี ครงการทีเ่ กีย่ วกับการเผยแพร่ ความรู้ การให้ การศึกษา และฝึ กอบรมในด้ านต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วกับ
การดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ หรือช่ วยเหลือหรือสนับสนุนทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ให้ มี
การจัดโครงการดังกล่ าว
ผู้มหี น้ าทีร่ ายงานธุรกรรม
1. สถาบันการเงิน ได้ แก่
• ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารตามทีก่ ฎหมายจัดตั้งขึน้ โดยเฉพาะ
• บริษทั เงินทุน บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจ
เครดิตฟองซิเอร์ และบริษทั หลักทรัพย์
• บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่ อม
• บริษทั ประกันชีวติ บริษทั ประกันวินาศภัย
• สหกรณ์ ตามกฎหมายว่ าด้ วยสหกรณ์ เฉพาะสหกรณ์ ทมี่ ีทุน
ดาเนินการ ซึ่งมีมูลค่ าหุ้นรวมตั้งแต่ สองล้ านบาทขึน้ ไป
•นิติบุคคลทีด่ าเนินธุรกิจอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเงิน ได้ แก่
1. นิติบุคคลเฉพำะกิจตำมกฎหมำยว่ำด้วยนิ ติบุคคลเฉพำะกิจเพื่อกำรแปลง
สิ นทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์
2. นิ ติบุคคลที่ได้รับอนุญำตให้ประกอบธุ รกิจเกี่ยวกับปั จจัยชำระเงินต่ำงประเทศ ตำม
กฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมกำรแลกเปลี่ยนเงิน
3. บรรษัทบริ หำรสิ นทรั พย์ส ถำบันกำรเงิ นตำมกฎหมำยว่ำด้วยบรรษัทบริ หำร
สิ นทรัพย์สถำบันกำรเงิน
4. บริ ษทั บริ หำรสิ นทรัพย์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยบริ ษทั บริ หำรสิ นทรัพย์
5. นิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจสัญญำซื้ อขำยล่วงหน้ำตำมกฎหมำยว่ำด้วยสัญญำ
ซื้ อขำยล่วงหน้ำ
6. นิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจกำรซื้ อขำยล่วงหน้ำตำมกฎหมำยว่ำด้วย
กำรซื้ อขำยสิ นค้ำเกษตรล่วงหน้ำ
2 กรมที่ดนิ
3. ผู้ประกอบอาชีพบางประเภท ได้ แก่
(1) ผูป้ ระกอบอำชีพเกี่ยวกับกำรดำเนินกำร กำรให้คำแนะนำ หรื อกำร
เป็ นที่ปรึ กษำในกำรทำธุรกรรมที่เกี่ยวกับกำรลงทุนหรื อกำรเคลื่อนย้ำยเงินทุน
ตำมกฎหมำยว่ำด้วยหลักทรัพย์ และตลำดหลักทรัพย์ ที่ไม่ใช่สถำบันกำรเงิน
(2) ผูป้ ระกอบอำชีพค้ำอัญมณี เพชรพลอย ทองคำ หรื อเครื่ องประดับ
ที่ประดับด้วยอัญมณี เพชรพลอย หรื อทองคำ
(3) ผูป้ ระกอบอำชีพค้ำหรื อให้เช่ำซื้อรถยนต์
(4) ผูป้ ระกอบอำชีพเกี่ยวกับนำยหน้ำหรื อตัวแทนซื้อขำย
อสังหำริ มทรัพย์
(5) ผูป้ ระกอบอำชีพค้ำของเก่ำตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมกำรขำย
ทอดตลำดและค้ำของเก่ำ
(6) ผูป้ ระกอบอำชีพเกี่ยวกับสิ นเชื่อส่ วนบุคคลภำยใต้กำรกำกับสำหรับ
ผูป้ ระกอบธุรกิจที่มิใช่สถำบันกำรเงินตำมประกำศกระทรวงกำรคลังเกี่ยวกับ
กำรประกอบธุรกิจสิ นเชื่อส่ วนบุคคลภำยใต้กำรกำกับ หรื อตำมกฎหมำยว่ำด้วย
ธุรกิจสถำบันกำรเงิน
(7) ผูป้ ระกอบอำชีพเกี่ยวกับบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่มิใช่สถำบัน
กำรเงินตำมประกำศกระทรวงกำรคลังเกี่ยวกับกำรประกอบธุรกิจบัตรเงิน
อิเล็กทรอนิกส์ หรื อตำมกฎหมำยว่ำด้วยธุรกิจสถำบันกำรเงิน
(8) ผูป้ ระกอบอำชีพเกี่ยวกับบัตรเครดิตที่มิใช่สถำบันกำรเงินตำม
ประกำศกระทรวงกำรคลังเกี่ยวกับกำรประกอบธุรกิจบัตรเครดิต หรื อตำม
กฎหมำยว่ำด้วยธุรกิจสถำบันกำรเงิน
(9) ผูป้ ระกอบอำชีพเกี่ยวกับกำรชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ตำม
กฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมดูแลธุรกิจบริ กำรกำรชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์
การรายงานธุรกรรม
ธุรกรรม หมายถึง กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการทานิตกิ รรม สั ญญา
หรือการดาเนินการใดๆกับผู้อนื่ ทางการเงิน ทางธุรกิจ หรือการ
ดาเนินการเกีย่ วกับทรัพย์ สิน
สถาบันการเงินมีหน้ าที่
• รายงานธุรกรรมเงินสด
• รายงานธุรกรรมเกีย่ วกับทรัพย์ สิน
• รายงานธุรกรรมทีม่ ีเหตุอนั ควรสงสั ย
ประเภทการรายงาน
ธุรกรรมที่ใช้เงินสด
สถาบันการเงิน
วงเงินการรายงานการทาธุรกรรม
ตั้งแต่ 2,000,000 บำทขึ้นไป
ธุรกรรมที่ใช้เงินสดในกำรโอนเงิน ตั้งแต่ 100,000 บำทขึ้นไป
และกำรชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์
(ที่ไม่ใช่กำรรับชำระแทน)
ธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน
ตั้งแต่ 5,000,000 บำทขึ้นไป
ธุรกรรมกำรโอนเงินและกำรชำระ
เงินทำงอิเล็กทรอนิกส์
ตั้งแต่ 700,000 บำทขึ้นไป
ธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัย
ไม่จำกัดจำนวนครั้ง จำนวนเงิน
สด หรื อมูลค่ำธุรกรรม
ประเภทผู้ประกอบอาชีพ
ประเภทการรายงาน
วงเงินการรายงานธุรกรรม
ผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ
16(1) (2) (3) (4) (5) และ (8)
ธุรกรรมที่ใช้เงินสด
ตั้งแต่ 2,000,000 บำทขึ้นไป
ธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควร
สงสัย
ไม่จำกัดจำนวนครั้ง จำนวนเงินสด
หรื อมูลค่ำธุรกรรม
ธุรกรรมที่ใช้เงินสด
ตั้งแต่ 500,000 บำทขึ้นไป
ธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควร
สงสัย
ไม่จำกัดจำนวนครั้ง จำนวนเงินสด
หรื อมูลค่ำธุรกรรม
ธุรกรรมที่ใช้เงินสด
ตั้งแต่ 100,000 บำทขึ้นไป
ธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควร
สงสัย
ไม่จำกัดจำนวนครั้ง จำนวนเงินสด
หรื อมูลค่ำธุรกรรม
ผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ
16(6)
ผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ
16(7) และ (9)
ธุรกรรมทีม่ ีเหตุอนั ควรสงสั ย
• ธุรกรรมทีม
่ เี หตุอน
ั ควรสงสั ย”
หมายความวา่
- ธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรเชื่อได้วำ่ กระทำขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงมิให้
ต้องตกอยูภ่ ำยใต้บงั คับแห่งพระรำชบัญญัติน้ ี หรื อ
- ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องหรื ออำจเกี่ยวข้องกับกำรกระทำควำมผิดมูล
ฐำนหรื อกำรสนับสนุนทำงกำรเงินแก่กำรก่อกำรร้ำย
- ทั้งนี้ ไม่วำ่ จะเป็ นกำรทำธุรกรรมเพียงครั้งเดียวหรื อหลำยครั้ง และ
-ให้หมำยควำมรวมถึงกำรพยำยำมกระทำธุรกรรมด้วย
- ธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัยไม่ได้ระบุมูลค่ำ/จำนวนครั้ง
การรายงานการทาธุรกรรม
• หากปรากฏว่ ามีข้อเท็จจริงใดที่เกีย่ วข้ อง หรืออาจจะเป็ น
ประโยชน์ ในการยืนยัน หรือยกเลิกข้ อเท็จจริงเกีย่ วกับธุรกรรม
ที่รายงานไปแล้ ว ให้ รายงานข้ อเท็จจริงนั้นให้ สานักงานทราบ
โดยไม่ ชักช้ า
• หากปรากฏภายหลังว่ ามีเหตุอนั ควรเชื่อได้ ว่าธุรกรรมกระทา
ไปแล้ วโดยไม่ ได้ รายงานเป็ นธุรกรรมทีต่ ้ องรายงานให้ รายงาน
โดยไม่ ชักช้ า
แบบรายงาน หลักเกณฑ์ และวิธีการ
• แบบรำยงำนกำรทำธุรกรรมตำมมำตรำ 13 ของสถำบันกำรเงินให้ใช้ดงั นี้
(1) แบบรำยงำนธุรกรรมที่ใช้เงินสดให้ใช้แบบ ปปง. 1-01
(2) แบบรำยงำนธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สินให้ใช้แบบ ปปง. 1-02
(3) แบบรำยงำนธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัยให้ใช้แบบ ปปง. 1-03
(4) แบบรำยงำนธุรกรรมกำรโอนเงินหรื อชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ให้ใช้แบบ
ปปง. 1-05-9
• หำกเป็ นธุรกิจด้ำนกำรประกันให้ใช้แบบรำยงำน 1-04-1 1-04-2 และ1-04-3 ตำมลำดับ
กรณี ที่กำรทำธุรกรรมใดไม่สำมำรถรำยงำนโดยใช้แบบดังกล่ำวได้ ให้รำยงำนโดยใช้
แบบ ปปง. 1-01 แบบ ปปง. 1-02 และแบบ ปปง. 1-03 ได้โดยอนุโลม
แบบรายงาน หลักเกณฑ์ และวิธีการ
• แบบรำยงำนกำรทำธุรกรรมตำมมำตรำ 16 ของผูป้ ระกอบอำชีพให้ใช้
ดังนี้
(1) แบบรำยงำนธุรกรรมที่ใช้เงินสดให้ใช้แบบ ป.ป.ง. 1-05-1 ถึง
1-05-9
(2) แบบรำยงำนธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัยให้ใช้แบบ
ป.ป.ง. 1-05-10
ระยะเวลา หลักเกณฑ์ และวิธีการของสถาบันการเงิน
• กำรรำยงำนกำรทำธุรกรรมที่ใช้เงินสด และ ธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สินให้
สถำบันกำรเงินรำยงำนโดยกำรส่ งแบบรำยงำนที่ทำขึ้นในระหว่ำงวันที่ 1 ถึง
วันที่ 15 และที่ทำขึ้นในระหว่ำงวันที่ 16 ถึงวันสิ้ นเดือน ไปยังสำนักงำน
ภำยในเจ็ดวันนับแต่วนั ถัดจำกวันที่ 15 และวันสิ้ นเดือนของเดือนที่มีกำรทำ
ธุรกรรมนั้น
• กำรรำยงำนกำรทำธุรกรรมที่ใช้เงินสดให้ผปู้ ระกอบอำชีพรำยงำนโดยกำรส่ ง
แบบรำยงำนไปยังสำนักงำนภำยในเดือนถัดไปของเดือนที่มีกำรทำธุ รกรรม
นั้น
• การรายงานการทาธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัยให้สถาบันการเงินและผู้
ประกอบอาชีพรายงานโดยการส่ งแบบรายงานไปยังสานักงานภายในเจ็ดวัน
นับแต่วนั ที่มีเหตุอนั ควรสงสัย
ธุรกรรมทีไ่ ด้ รับการยกเว้ นไม่ ต้องรายงาน
(1) ธุรกรรมทีพ่ ระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี พระรัชทายาท หรือ
พระบรมวงศ์ ต้งั แต่ ช้ันพระองค์ เจ้ าขึน้ ไปเป็ นคู่กรณี
(2) ธุรกรรมทีร่ ัฐบาล ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมภิ าค ราชการส่ วน
ท้ องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์ การมหาชน หรือหน่ วยงานอืน่ ของรัฐเป็ นคู่กรณี
(3) ธุรกรรมทีม่ ูลนิธิดงั ต่ อไปนีเ้ ป็ นคู่กรณี
(ก) มูลนิธิชัยพัฒนา
(ข) มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้ าสิ ริกติ ์ิ
พระบรมราชินีนาถ
(ค) มูลนิธิสายใจไทย
ธุรกรรมทีไ่ ด้ รับการยกเว้ นไม่ ต้องรายงาน
(4) ธุรกรรมทีเ่ กีย่ วกับทรัพย์ สินประเภทสั งหาริมทรัพย์ โดยทัว่ ๆไปทีท่ ากับสถาบันการเงิน เว้ น
แต่
(ก) ธุรกรรมที่เป็ นกำรโอนเงินหรื อชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์
(ข) ธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่เป็ นเรื อกำปั่ น เรื อที่มีระวำงตั้งแต่หกตัน ขึ้นไปเรื อกลไฟ
หรื อเรื อยนต์ที่มีระวำงตั้งแต่หำ้ ตันขึ้นไป รวมทั้งแพด้วย
(ค) ธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่เป็ นยำนพำหนะ เครื่ องมือ หรื อเครื่ องจักรกลอื่นใด
(5) การทาสั ญญาประกันวินาศภัย เว้ นแต่ การชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนตามสั ญญาประกันวินาศ
ภัยทีค่ าดว่ าจะต้ องจ่ ายตั้งแต่ สิบล้ านบาทขึน้ ไป
(6) การจดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรมประเภทโอนเป็ นทีส่ าธารณประโยชน์ หรือการได้ มาโดย
การครอบครองหรือโดยอายุความตามมาตรา 1382 หรือมาตรา 1401 แห่ งประมวล
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
ธุรกรรมทีไ่ ด้ รับการยกเว้ นไม่ ต้องรายงาน
(7) ธุรกรรมกำรโอนเงินหรื อกำรชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ภำยใน/ระหว่ำงสถำบันกำรเงินหรื อกับผู ้
ประกอบอำชีพเกี่ยวกับกำรชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ เฉพำะที่ทำขึ้นเพื่อสถำบันกำรเงินหรื อผู้
ประกอบอำชีพเกี่ยวกับกำรชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์เว้นแต่กรณี เป็ นธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควร
สงสัย
(8) ธุรกรรมกำรโอนเงินหรื อชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ภำยในสถำบันกำรเงินหรื อผูป้ ระกอบอำชีพ
เกี่ยวกับกำรชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์เพื่อลูกค้ำรำยเดียวกันเว้นแต่กรณี เป็ นธุรกรรมที่มีเหตุอนั
ควรสงสัย
(9) ธุรกรรมที่เกี่ยวกับกำรบริ กำร ดังต่อไปนี้
(ก) กำรบริ กำรรับชำระเงินแทนเฉพำะที่มีมูลค่ำน้อยกว่ำเจ็ดแสนบำท
(ข) กำรบริ กำรเครื อข่ำยบัตรเครดิต
(ค) กำรบริ กำรเครื อข่ำยอีดีซี
(ง) กำรบริ กำรสวิตช์ชิ่งในกำรชำระเงิน
(จ) กำรบริ กำรหักบัญชี
(ฉ) กำรบริ กำรชำระดุล
(ช) กำรบริ กำรหักบัญชีเช็ค ดรำฟต์ ตัว๋ แลกเงิน ตัว๋ สัญญำใช้เงิน และตรำสำรทำงกำรเงินอื่น ๆ
(ซ) ธุรกรรมที่ทำผ่ำนเครื่ องถอนเงินอัตโนมัติหรื อผ่ำนเครื่ องฝำกเงินอัตโนมัติ เว้นแต่กรณี เป็ น
ธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัย
การแสดงตนของลูกค้ า
สถำบันกำรเงินและผูป้ ระกอบอำชีพจัดให้ลูกค้ำแสดงตนทุกครั้ง
ก่อนกำรทำธุรกรรมตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่ลูกค้ำได้แสดง
ตนไว้ก่อนแล้วเพื่อกำรดำเนินกำร
มีขอ้ มูลรู ้จกั ว่ำลูกค้ำคือใคร (Customer Identification)
มีขอ้ มูลรู ้วำ่ ลูกค้ำประกอบอำชีพอะไร และมีรำยได้ หรื อผลกำไร
เท่ำไร(Customer’s career and income)
กำรจัดให้ลูกค้ำแสดงตน
ผู้มหี น้ าทีร่ ายงานการทา
ธุรกรรม
สถำบันกำรเงิน
ประเภทลูกค้ า
วงเงินการแสดงตน
ลูกค้ำ
แสดงตนทุกครั้งก่อนกำรทำธุรกรรม
ลูกค้ำจร
แสดงตนทุกครั้งก่อนกำรทำธุรกรรม เมื่อ
- กำรทำธุรกรรมที่มีมูลค่ำตั้งแต่ 700,000 บำทขึ้นไป
- ธุรกรรมที่เป็ นกำรให้บริ กำรเงินอิเล็กทรอนิ กส์ กำร
โอนเงินหรื อชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่ำ
ตั้งแต่ 50,000 บำทขึ้นไป
กำรจัดให้ลูกค้ำแสดงตน
ผู้มีหน้ าที่รายงานการทาธุรกรรม
วงเงินการแสดงตน
ผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ 16 (1) -(5)
แสดงตนทุกครั้งก่อนกำรทำธุรกรรมที่มีมูลค่ำตั้งแต่ 700,000
บำทขึ้นไป
ผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ 16(6) ,(8)
แสดงตนทุกครั้งก่อนกำรทำธุรกรรม
ผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ 16(7)
แสดงตนทุกครั้งก่อนกำรทำธุรกรรมที่มีมูลค่ำตั้งแต่ 50,000
บำทขึ้นไป
แสดงตนทุกครั้งก่อนกำรทำธุรกรรม เมื่อ
- กำรให้บริ กำรเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่ำตั้งแต่ 50,000 บำท
ขึ้นไป
- กำรโอนเงินหรื อกำรชำระเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่ำ
ตั้งแต่ 50,000 บำทขึ้นไป เว้นแต่เป็ นกำรทำธุรกรรมที่ได้รับกำร
ยกเว้นไม่ตอ้ งรำยงำนตำมมำตรำ 18
ผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ 16(9)
- ในกรณี ที่ไม่สำมำรถจัดให้ลูกค้ำแสดงตนได้ก่อนกำรทำธุรกรรม เนื่องจำกลูกค้ำไม่ได้ทำธุรกรรมต่อหน้ำ สถำบัน
กำรเงินและผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ 16 ต้องจัดให้ลูกค้ำแสดงตนให้แล้วเสร็จโดยเร็วภำยหลังจำกกำรทำธุ รกรรม
วิธีกำรแสดงตนของลูกค้ำ
ข้ อ 1 การแสดงตนของลูกค้ าซึ่งเป็ นบุคคลธรรมดา อย่ างน้ อยต้ องแสดงข้ อมูลและหลักฐานดังต่ อไปนี้
(1) ชื่อและนำมสกุล
(2) วันเดือนปี เกิด
(3) เลขประจำตัวประชำชน และในกรณี ที่เป็ นคนต่ำงด้ำว ให้แสดงเลขหนังสื อเดินทำง หรื อเลข
ใบสำคัญประจำตัวคนต่ำงด้ำว หรื อเลขเอกสำรหลักฐำนแสดงตนอื่นที่ออกหรื อรับรองโดยหน่วยงำนหรื อ
องค์กรที่น่ำเชื่อถือ
(4) ที่อยูต่ ำมทะเบียนบ้ำน หรื อที่อยูใ่ นประเทศไทยในกรณี ที่เป็ นคนต่ำงด้ำว
(5) เพศ
(6) สัญชำติ
(7) สถำนภำพกำรสมรส
(8) หลักฐำนสำคัญประจำตัวบุคคลที่มีรูปถ่ำยซึ่ งทำงรำชกำรออกให้ เช่น บัตรประจำตัว
ประชำชน บัตรประจำตัวสำหรับเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ใบอนุญำตขับขี่ รวมทั้งใบแทนหรื อบัตรชัว่ ครำวที่ใช้
ระหว่ำงรอกำรออกเอกสำรดังกล่ำวด้วย
(9) หนังสื อเดินทำง หรื อใบสำคัญประจำตัวคนต่ำงด้ำว หรื อเอกสำรหลักฐำนแสดงตนอื่นที่ออก
หรื อรับรองโดยหน่วยงำนหรื อองค์กรที่น่ำเชื่อถือในกรณี ที่เป็ นคนต่ำงด้ำว
(10) อำชีพ สถำนที่ทำงำน และหมำยเลขโทรศัพท์
(11) สถำนที่สะดวกในกำรติดต่อและหมำยเลขโทรศัพท์
(12) ลำยมือชื่อผูท้ ำธุรกรรม
วิธีกำรแสดงตนของลูกค้ำ
ข้ อ 2 การแสดงตนของลูกค้ าซึ่งเป็ นนิตบิ ุคคล อย่ างน้ อยต้ องแสดงข้ อมูลและหลักฐานดังต่ อไปนี้
(1) ชื่อนิติบุคคล
(2) ชื่อและนำมสกุลของผูม้ ีอำนำจลงนำมแทนนิติบุคคล
(3) เลขประจำตัวผูเ้ สี ยภำษีอำกร ในกรณี ที่มี
(4) สถำนที่ต้ งั และหมำยเลขโทรศัพท์
(5) หลักฐำนสำคัญแสดงตนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(ก) สำหรับลูกค้ำที่เป็ นนิติบุคคลทัว่ ไป ได้แก่ หนังสื อรับรองกำรจดทะเบียน
ที่นำยทะเบียนออกให้ไม่เกินหกเดือน หรื อในกรณี ที่ไม่ใช่นิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทย ได้แก่
หลักฐำนกำรเป็ นนิ ติบุคคลที่หน่วยงำนหรื อองค์กรที่น่ำเชื่อถือรับรองหรื อออกให้ไม่เกินหกเดือน
(ข) สำหรับลูกค้ำที่เป็ นส่ วนรำชกำร องค์กรของรัฐบำล รัฐวิสำหกิจ
หรื อหน่วยงำนอื่นของรัฐที่เป็ นนิติบุคคล ได้แก่ หนังสื อแสดงควำมจำนงในกำรทำธุรกรรม หรื อหนังสื อ
แต่งตั้งหรื อมอบอำนำจ หรื อ
(ค) สำหรับลูกค้ำที่เป็ นสหกรณ์ มูลนิธิ สมำคม สโมสร วัด มัสยิด ศำลเจ้ำ
และนิติบุคคลอื่นในลักษณะเดียวกันนี้ ได้แก่ หนังสื อแสดงควำมประสงค์ในกำรทำธุรกรรม หนังสื อ
แสดงกำรจดทะเบียนจำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง หรื อหนังสื อแต่งตั้งหรื อมอบอำนำจในกำรทำธุ รกรรม
(6) ประเภทกำรประกอบกำร
(7) ตรำประทับของนิติบุคคล ในกรณี ที่มี
(8) บัตรประจำตัวผูเ้ สี ยภำษีอำกร ในกรณี ที่มี
(9) ลำยมือชื่อผูม้ ีอำนำจลงนำมแทนนิติบุคคล
การตรวจสอบเพือ่ ทราบข้ อเท็จจริงเกีย่ วกับลูกค้ า
[Customer Due Diligence (CDD)]
• สถำบันกำรเงินและผูป้ ระกอบอำชีพตำมมำตรำ 16 (1) และ (9) ต้อง
ดำเนินกำร
- กำหนดนโยบำยกำรรับลูกค้ำและนโยบำยกำรบริ หำรควำมเสี่ ยงเกี่ยวกับกำรฟอก
เงินของลูกค้ำ
- ต้องบริ หำรควำมเสี่ ยง หรื อจัดลำดับควำมเสี่ ยงของลูกค้ำต่อกำรฟอกเงิน โดย
ใช้หลักเกณฑ์ต่ำงๆ
- ตรวจสอบเพื่อทรำบข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับลูกค้ำ
- ตรวจทำนบัญชีลกู ค้ำ และกำรติดตำมควำมเคลื่อนไหวทำงบัญชีของลูกค้ำ
หน้ าทีก่ ารเก็บรักษาข้ อมูลเกีย่ วกับการทาธุรกรรม
4. การเก็บรักษาข้ อมูลการแสดงตนและข้ อมูลการตรวจสอบเพือ่
ทราบข้ อเท็จจริงเกีย่ วกับลูกค้ า
• 5 ปี นับแต่ วนั ที่มีการปิ ดบัญชี หรือ
• 5 ปี นับแต่ วนั ทีย่ ุตคิ วามสั มพันธ์ กบั ลูกค้ า
การเก็บรั กษาบันทึกข้ อเท็จจริ งรายงานธุรกรรม
• 5 ปี นับแต่ ได้ มีการทาธุรกรรม หรือ
• 5 ปี นับแต่ ได้ มีการบันทึกข้ อเท็จจริง
(เว้ นแต่ จะได้ รับแจ้ งเป็ นหนังสื อจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ให้ ปฏิบัติเป็ นอย่ างอืน่ )
บทบังคับทางกฎหมายของผู้มีหน้ าทีร่ ายงานธุรกรรม
• มำตรำ 62 ผูใ้ ดฝ่ ำฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตำมมำตรำ 13 มำตรำ 14 มำตรำ 16
มำตรำ 20 มำตรำ 20/1 มำตรำ 21 มำตรำ 22 มำตรำ 22/1 มำตรำ 35 หรื อ
มำตรำ 36 ต้องระวำงโทษปรับไม่เกินห้ำแสนบำท และปรับอีกไม่เกินวันละ
ห้ำพันบำทตลอดเวลำที่ยงั ฝ่ ำฝื นอยู่ หรื อจนกว่ำจะได้ปฏิบตั ิให้ถูกต้อง
• มำตรำ 63 ผูใ้ ดรำยงำนหรื อแจ้งตำมมำตรำ 13 มำตรำ 14 มำตรำ 16 มำตรำ
21 วรรคสอง โดยแสดงข้อควำมอันเป็ นเท็จ หรื อปกปิ ดควำมเป็ นจริ งที่ตอ้ ง
แจ้งให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ทรำบ ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรื อ
ปรับตั้งแต่หำ้ หมื่นบำทถึงห้ำแสนบำทหรื อทั้งจำทั้งปรับ
• มำตรำ 64/1 ควำมผิดตำมมำตรำ 62 มำตรำ 63 ให้คณะกรรมกำร
เปรี ยบเทียบที่คณะกรรมกำรแต่งตั้งมีอำนำจเปรี ยบเทียบได้
การปฎิบัตงิ านของสถาบันการเงินและผู้ประกอบอาชีพ
ตามกฎหมายว่ าด้ วยการต่ อต้ านการสนับสนุนทาง
การเงินแก่ การก่ อการร้ าย
อานาจหน้ าที่ของสานักงาน ปปง.
• ให้คำแนะนำหรื อชี้แจงแนวทำงกำรปฏิบตั ิแก่ผมู ้ ีหน้ำที่ตอ้ งปฏิบตั ิให้เป็ นไป
ตำมกฎหมำยนี้
• ติดตำม ประเมินผล ตรวจสอบ และกำกับดูแลให้เป็ นไปตำมกฎหมำยนี้
รวมถึงกำรดำเนินคดีกบั ผูท้ ี่ฝ่ำฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตำมกฎหมำยนี้
• รับหรื อส่ งรำยงำนหรื อข้อมูลที่จะเป็ นประโยชน์ในกำรปฏิบตั ิกำรตำม
กฎหมำยนี้หรื อตำมกฎหมำยอื่น
• เก็บรวบรวมข้อมูลและพยำนหลักฐำนเพื่อดำเนินกำรเกี่ยวกับกำรยึด อำยัด
หรื อริ บทรัพย์สินตำมกฎหมำยนี้หรื อตำมกฎหมำยอื่น
คานิยามที่สาคัญ
• “ผูม้ ีหน้ำที่รำยงำน” หมำยควำมว่ำ ผูม้ ีหน้ำที่รำยงำนกำรทำธุรกรรมตำมกฎหมำยว่ำ
ด้วยกำรป้ องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน
• “บุคคลที่ถกู กำหนด” หมำยควำมว่ำ บุคคล คณะบุคคล นิติบุคคล หรื อองค์กรตำม
รำยชื่อซึ่ งมีมติของหรื อประกำศภำยใต้คณะมนตรี ควำมมัน่ คงแห่งสหประชำชำติ
กำหนดให้เป็ นผูท้ ี่มีกำรกระทำอันเป็ นกำรก่อกำรร้ำย หรื อบุคคล คณะบุคคล นิติ
บุคคล หรื อองค์กรตำมรำยชื่อที่ศำลได้พิจำรณำและมีคำสัง่ ให้เป็ นบุคคลที่ถกู กำหนด
ตำมพระรำชบัญญัติน้ ี
• “ระงับกำรดำเนิ นกำรกับทรัพย์สิน” หมำยควำมว่ำ กำรห้ำมโอน ขำย ยักย้ำย หรื อ
จำหน่ำยซึ่ งทรัพย์สินหรื อเปลี่ยนสภำพใช้ประโยชน์หรื อกระทำกำรใด ๆ ต่อ
ทรัพย์สินอันจะส่ งผลเปลี่ยนแปลงต่อจำนวน มูลค่ำ ปริ มำณ ทำเลที่ต้งั หรื อลักษณะ
ของทรัพย์สินนั้น
กำรปฎิบตั ิตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรต่อต้ำนกำร
สนับสนุนทำงกำรเงินแก่กำรก่อกำรร้ำย
• ระงับกำรดำเนินกำรกับทรัพย์สินของบุคคลที่ถูกกำหนด
• แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกระงับให้สำนักงำน ปปง. ทรำบ
• แจ้งให้สำนักงำน ปปง. ทรำบถึง
- ผูท้ ี่เป็ น/เคยเป็ นลูกค้ำที่เป็ นบุคคลที่ถูกกำหนด
- ผูม้ ี/เคยมีกำรทำธุรกรรมกับบุคคลที่ถูกกำหนด
• กำหนดนโยบำยในกำรประเมินควำมเสี่ ยง แนวปฏิบตั ิหรื อ
มำตรกำรอื่นใด เพื่อป้ องกันมิให้มีกำรสนับสนุนทำงกำรเงินแก่
กำรก่อกำรร้ำย
กาหนดนโยบายในการประเมินความเสี่ ยง แนวปฏิบัติหรือมาตรการอืน่ ใด เพื่อป้ องกัน
มิให้ มกี ารสนับสนุนทางการเงินแก่ การก่ อการร้ าย
• กรณี ผลิตภัณฑ์หรื อบริ กำรต่ำงๆของผูม้ ีหน้ำที่รำยงำน
- ผลิตภัณฑ์หรื อบริ กำร จะไม่ถูกใช้เป็ นช่องทำงในกำรสนับสนุนทำงกำรเงินแก่กำรก่อกำรร้ำย
- ผูม้ ีหน้ำที่รำยงำนต้องกำหนดมำตรกำรที่จะทำให้ตรวจพบได้อย่ำงรวดเร็ วและมำตรกำรในกำร
ดำเนินกำรเพื่อบรรเทำควำมเสี ยหำยได้มำกที่สุด
• กรณี ลูกค้ำของผูม้ ีหน้ำที่รำยงำน
- ต้องกำหนดมำตรกำรเกี่ยวกับขั้นตอนในกำรอนุมตั ิกำรรับลูกค้ำอย่ำงเคร่ งครัด และให้นำ
หลักเกณฑ์และวิธีกำรกำรตรวจสอบเพื่อทรำบข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับลูกค้ำมำกำหนดด้วย
- ต้องกำหนดมำตรกำรเกี่ยวกับกำรดำเนินกำรให้ขอ้ มูลรำยชื่อบุคคลที่ถูกกำหนดที่ได้รับจำก
สำนักงำน ปปง. ให้เป็ นปัจจุบนั อยูเ่ สมอ
- ต้องกำหนดมำตรกำรเกี่ยวกับกำรปฏิเสธกำรสร้ำงควำมสัมพันธ์ทำงธุรกิจ กำรไม่ทำธุรกรรม
รวมทั้งกำรระงับกำรดำเนินกำรกับทรัพย์สิน
• กรณี ธุรกรรมทุกประเภท
- ต้องกำหนดมำตรกำรเกี่ยวกับกำรตรวจสอบธุรกรรมทั้งหมดของลูกค้ำ
- ต้องกำหนดมำตรกำรในกำรรำยงำนธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัยต่อสำนักงำน ปปง.
บทบังคับทางกฎหมาย
 มำตรำ 14 วรรคหนึ่ง เป็ นกรณี ควำมผิดของบุคคลธรรมดำ ได้แก่ บุคคลที่ถกู กำหนด หรื อเจ้ำหน้ำที่ของสถำบัน
กำรเงิน หรื อพนักงำนของผูป้ ระกอบอำชีพซึ่ งมีหน้ำที่รับผิดชอบในกำรทำธุรกรรม หรื อเป็ นผูท้ ี่ครอบครอง
ทรัพย์สินของบุคคลที่ถกู กำหนด แล้วแต่กรณี ซึ่ งฝ่ ำฝื นกฎหมำยโดย
 ไม่ระงับกำรดำเนินกำรกับทรัพย์สินของบุคคลที่ถกู กำหนดหรื อของผูก้ ระทำกำรแทนหรื อตำมคำสั่งของผู ้
นั้น หรื อของกิจกำรภำยใต้กำรควบคุมของผูน้ ้ นั หรื อไม่แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถกู ระงับฯ ให้
สำนักงำนทรำบต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรื อปรับไม่เกิน 300,000 บำท หรื อทั้งจำทั้งปรับ
 มำตรำ 14 วรรคสอง เป็ นกรณี ควำมผิดของผูม้ ีหน้ำที่รำยงำน (นิติบุคคล) ซึ่ งฝ่ ำฝื นกฎหมำยโดย
 กรณี ผมู ้ ีหน้ำที่รำยงำนไม่ระงับกำรดำเนินกำรกับทรัพย์สินของบุคคลที่ถกู กำหนดหรื อของผูก้ ระทำกำรแทน
หรื อตำมคำสั่งของผูน้ ้ นั หรื อของกิจกำรภำยใต้กำรควบคุมของผูน้ ้ นั หรื อไม่แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินที่
ถูกระงับฯ ให้สำนักงำนทรำบต้องระวำงโทษโทษปรับไม่เกิน 1,000,000 บำท และปรับอีกวันละ
10,000 บำท ตลอดเวลำที่ยงั ฝ่ ำฝื นอยู่ หรื อจนกว่ำจะได้ปฏิบตั ิให้ถกู ต้อง
 มำตรำ 14 วรรคสำม
 หำกกำรกระทำควำมผิดตำมวรรคสอง เกิดจำกกำรสั่งกำรหรื อกำรกระทำของบุคคลใด หรื อไม่สั่งกำร
หรื อไม่กระทำกำรอันเป็ นหน้ำที่ที่ตอ้ งกระทำของกรรมกำร ผูจ้ ดั กำร หรื อบุคคลใดซึ่ งรับผิดชอบในกำร
ดำเนินงำนของนิติบุคคลนั้น บุคคลดังกล่ำวต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรื อปรับไม่เกิน 300,000
บำท หรื อทั้งจำทั้งปรับ
บทบังคับทางกฎหมาย
 มำตรำ 15 วรรคหนึ่ง เป็ นกรณี ควำมผิดของผูม้ ีหน้ำที่รำยงำน (นิติบุคคล) ซึ่ งฝ่ ำฝื น
กฎหมำยโดยไม่แจ้งรำยชื่อผูท้ ี่เป็ นหรื อเคยเป็ นลูกค้ำซึ่ งอยูใ่ นรำยชือ่ บุคคลที่ถกู
กำหนดหรื อผูท้ ี่มีหรื อเคยมีกำรทำธุรกรรมกับผูน้ ้ นั มำยังสำนักงำน ต้องระวำงโทษ
ปรับไม่เกิน 500,000 บำท และปรับอีกวันละ 5,000 บำทตลอดเวลำที่ยงั ฝ่ ำฝื นอยู่ หรื อ
จนกว่ำจะได้ปฏิบตั ิให้ถูกต้อง
 มำตรำ 15 วรรคสอง หำกกำรกระทำควำมผิดตำมวรรคหนึ่ ง เกิดจำกกำรสั่งกำรหรื อ
กำรกระทำของบุคคลใด หรื อไม่สั่งกำร หรื อไม่กระทำกำรอันเป็ นหน้ำทีท่ ี่ตอ้ งกระทำ
ของกรรมกำร ผูจ้ ดั กำร หรื อบุคคลใดซึ่ งรับผิดชอบในกำรดำเนินงำนของนิติบุคคลนั้น
บุคคลดังกล่ำวต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรื อปรับไม่เกิน 100,000 บำท หรื อทั้ง
จำทั้งปรับ
จบการนาเสนอ
หาข้ อมูลรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับ ปปง. ได้ ที่
www.amlo.go.th
นายสรรเพชญ แสงเนตรสว่ าง
โทร 02-2193600-7014
E-mail [email protected]