การผลิต

Download Report

Transcript การผลิต

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์คืออะไร
Social Science
Behavior
Theory
Behavior
Decision
Scaityrc
Unlimited wants
Theory : Logical, Believable, consistent
วิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ มี 2 วิธี
1. วิธีอนุมาน เป็ นการสร้างทฤษฎีโดยวิธีอนุมาน
ตั้งสมมุติฐาน (Hypothesis)
ทดสอบสมมุตฐิ าน (จาก
ข้อเท็จจริ งที่เกิดขึ้น)
2.วิธีอุปมาน เป็ นการสร้างทฤษฎี โดย
รวบรวมข้อเท็จจริ งที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
นามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติเพื่อหาข้อสรุ ป
(ภายใต้ขอ้ สมมุตให้ปัจจัยอื่นๆ คงที่)
ทาการพิสูจน์ขอ้ สรุ ปนั้นโดยใช้กระบวนการเหตุและะละ
ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์
1. เศรษฐศาสตร์จุะภาค
(Microeconomics)
2.เศรษฐศาสตร์มหภาค
(Macroeconomics)
ความสาคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์
1. ความสาคัญในระดับจุะภาค
2. ความสาคัญในระดับมหภาค
3. ความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและะ
เสถียรภาพ
ประโยชน์ ของวิชาเศรษฐศาสตร์
ในฐานะผู้บริหารประเทศ
• ในฐานะผู้ประกอบการ
• ในฐานะประชาชน
•
ความสั มพันธ์ ระหว่ างเศรษฐศาสตร์ กบั วิชาอืน่ ๆ
1. เศรษฐศาสตร์ กบั รัฐศาสตร์
2. เศรษฐศาสตร์ กบั นิติศาสตร์
3. เศรษฐศาสตร์ กบั จริยศาสตร์
4. เศรษฐศาสตร์ กบั บริหารธุรกิจ
5. เศรษฐศาสตร์ กบั วิชาอืน่ ๆ
ข้ อสมมุตฐิ านในการศึกษาด้ าน
เศรษฐศาสตร์
1. มนุษย์ จะดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
อย่ างมีเหตุผล (Economic Rationality)
2. กาหนดให้ ปัจจัยอืน่ ๆ คงที่
(Certeris Paribus)
ชนิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ มี 2 ชนิด
1. เศรษฐศาสตร์ วเิ คราะห์ หรือ ทฤษฎี
เศรษฐศาตร์ ตามทีเ่ ป็ นจริง
(Positive Economics)
2. เศรษฐศาสตร์ นโยบาย (Normative
Economics) หรือทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
ตามทีค่ วรจะเป็ น
ปัญหาพืน้ ฐานในระบบเศรษฐกิจ
(Basic Economics Problems)
1. ผลิตอะไร (What)
2. ผลิตอย่ างไร(How)
3. ผลิตเพือ่ ใคร(For whom)
ระบบเศรษฐกิจแลบบต่างๆ กับการแลก้ปัญหาพื้นฐาน
การจาแลนกระบบเศรษฐกิจพิจารณาจากเกณฑ์สาคัญ
ต่อไปนี้
1. กรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สินเป็ นของส่ วนบุคคะหรื อของ
ส่ วนรวม
2. การตัดสิ นใจในปัญหาพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจเป็ น
ของส่ วนบุคคะหรื อของส่ วนรวม
3. การจัดสรรทรัพยากรและะการละิตล่านระบบราคา
หรื อโดยการบังคับ
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism)
1.
2.
3.
4.
การมีกรรมสิ ทธ์ ในทรัพย์ สิน
เสรีภาพในธุรกิจ
กาไรเป็ นเครื่องจูงใจ
ระบบราคา
การแลก้ไขปั ญหาพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจแลบบทุนนิยม
1. อะไร (What)
2. อย่ างไร (How)
3. เพือ่ ใคร (For whom)
ระบบวางแผนจากส่ วนกลาง
(Centrally Planned Economy)
- ลักษณะทีส่ าคัญ
- การตัดสิ นใจในปัญหาพืน้ ฐานในระบบ
เศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
(Mixed Economy)
• ลักษณะทีส่ าคัญ
• การตัดสิ นใจในปัญหาพืน้ ฐานในระบบ
เศรษฐกิจ
เครื่ องมือประกอบการศึกษา
วิชาเศรษฐศาสตร์
1. ฟังก์ชนั (Function) เช่น
X = ƒ(Y)
Dependent Variable Independent Variable
2. การแลสดงความสัมพันธ์ดว้ ยกราฟ
เส้นเป็ นไปได้ในการละิต
(Production Possibility Curve)
คือ เส้นซึ่งแลสดงถึงจานวนต่างๆ ของสิ นค้า 2
ชนิดที่ประเทศหนึ่งสามารถละิตได้ดว้ ยทรัพยากรที่
มีอยูท่ ้ งั หมด ในระยะเวะาหนึ่ง ด้วยเทคนิคที่มีอยู่
ในเวะานั้นอย่างมีประสิ ทธิภาพ
เส้นเป็ นไปได้ในการละิต
Production Possibility Curve : PPC
สิ นค้า
Y
K
G
M
สิ นค้า
X
ปัจจัยการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์
1. ที่ดนิ และทรัพยากรธรรมชาติ
2. แรงงาน
3. ทุน
4. ผู้ประกอบการ
วงจรกิจกรรมในระบบเศรษฐกิจ
(The Circular Flow Model)
รายได้
ค่ าใช้ จ่าย
ตลาดสิ นค้ า
สิ นค้ าและบริการ
ครัวเรือน
สิ นค้าและะบริ การ
หน่ วยธุรกิจ
ปัจจัยการละิต
ปัจจัยการผลิต
ต้นทุน
ตลาดปัจจัยการผลิต
รายได้
ระบบเศรษฐกิจแลบบต่างๆ กับการแลก้ไขปัญหาพื้นฐาน
(Economic Systems and Solutions)
1. ระบบเศรษฐกิจแลบบทุนนิยม (Capitalism)หรื อ
ระบบเศรษฐกิจเสรี หรื อระบบตะาด
2. ระบบเศรษฐกิจแลบบลสม (Mixed Economy)
3. ระบบเศรษฐกิจแลบบวางแลลนจากส่ วนกะาง
(Centrally Planed Economy)
เกณฑ์ ในการจาแนกระบบเศรษฐกิจ
1. กรรมสิ ทธ์ ในทรัพย์ สินเป็ นของส่ วนบุคคล
หรือของส่ วนรวม
2. การตัดสิ นใจในปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ
3. การจัดสรรทรัพยากรการผลิตผ่ านกลไกราคา
หรือโดยการบังคับ
หลักเศรษฐศาตร์ จุลภาค
การกาหนดราคาโดยอุปสงค์ และอุปทาน
อุปสงค์ คอื อะไร
ปัจจัยทีก่ าหนดอุปสงค์
Demand Function Qx = ƒ( Px, Py, I, T, Z)
การวิเคราะห์ Demand ปกติจะวิเคราะห์ 3 ส่ วน
1. อุปสงค์ ต่อราคาสิ นค้ านั้น ( Price Demand)
2. อุปสงค์ ต่อรายได้ (Income Demand)
3. อุปสงค์ ต่อราคาสิ นค้ าอืน่ (Cross Demand)
1. อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand)
Demand Function Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z )
Qx = ƒ(Px)
Low of Demand P œ 1/Q
P Q
P Q
แลสดงะักษณะของอุปสงค์ต่อราคา
ราคา
เส้นอุปสงค์
(Demand)
P1
P2
ปริ มาณ (Q)
Q1
Q2
2. อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand)
Demand Function Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z )
Qx = ƒ(I)
(ตาราบางเะ่มใช้สญ
ั ญะักษณ์ Y แลทนรายได้)
2.1 กรณี สินค้าปกติ (Normal Goods)
2.2 กรณี สินค้าด้อย (Inferior Goods)
รายได้
Income
Demand
เส้นแลสดงความสัมพันธ์
ระหว่าง รายได้กบั ปริ มาณซื้ อ
ในกรณี ที่เป็ นสิ นค้าปกติ จะมี
ะักษณะทอดขึ้นจากซ้ายไป
ขวา โดยมีค่าความชัน(slope)
เป็ นบวก
ปริ มาณ
สิ นค้า
ะักษณะของเส้นอุปสงค์ต่อรายได้ กรณี สินค้าปกติ
รายได้
Income Demand
ปริ มาณซื้อ
สิ นค้า
ะักษณะของเส้นอุปสงค์ต่อรายได้ กรณี สินค้าด้อย
3. อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าอื่น (Cross Demand)
Demand Function Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z )
Qx = ƒ(Py)
3.1 สิ นค้าที่ใช้ประกอบกัน Complementary goods
Py
Qy
Qx
Py
Qy
Qx
ราคากาแลฟ
อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิดอื่น
กรณี สินค้าที่ใช้ประกอบกัน
ปริ มาณครี ม
รู ปแลสดงอุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าอื่น กรณี สินค้าใช้
ประกอบกัน
3.2 สิ นค้าที่ใช้ทดแลทนกันได้ Substitution Goods
Py
Py
Qy
Qy
Qx
Qx
ราคาสิ นค้า Y
เส้นอุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าอื่น
กรณี สินค้าสิ นค้าที่ทดแลทนกัน
ได้
ปริ มาณสิ นค้า X
อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิดอื่น กรณี สินค้าที่ใช้ทดแลทนกัน
ได้
Low of Demand
ราคา
P œ 1/Q
P Q
P Q
Demand
ปริ มาณ
อุปสงค์ ลาดลงจากซ้ ายไปขวา
เนื่องมาจาก
1. ผลจากการทดแทนกันของสิ นค้ า
(Substitution effect)
2. ผลจากรายได้ (Income effect)
Total Effect = Sub. Effect + Income Effect
สมการอุปสงค์ (Demand Equation)
1. แบบเส้ นตรง
เช่ น Qx = 10-2P
2. สมการเส้ นโค้ง
2
เช่ น Qx = 20-2P
การเปลีย่ นแปลงปริมาณอุปสงค์
(Changes in the Quantity Demandedหรือ
Demand move along)
Demand ƒn Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z )
การย้ ายเส้ นอุปสงค์
(Shifts in the Demand Curve)
Demand ƒn Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z)
ราคา
ราคา
P1
Demand
P0
m
P
D0
2
Q1 Q0 Q2
ปริ มาณ
การ move along บนเส้น
Demand
D2 D0
D1
ปริ มาณ
การ shift ของเส้น Demand
อุปสงค์บุคคะและะอุปสงค์ตะาด
(Individual and Market Demand)
Individual Demand คือ ปริ มาณสิ นค้าชนิดหนึ่ งที่
ลูบ้ ริ โภคแลต่ะะคนซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ ในช่วง
เวะาใดเวะาหนึ่ง
Market Demand คือ ละรวมของปริ มาณสิ นค้า
ชนิดหนึ่งที่ลบู ้ ริ โภคแลต่ะะคนซื้อ ณ ระดับราคา
ต่างๆ ในช่วงเวะาใดเวะาหนึ่ง (Sum of
individual Demand)
อุปทาน (Supply)
อุปทาน คืออะไร
s
Supply Function Qx = ƒ(Px, Py, A,B,C,D,…) โดย
Px = ราคาของสิ นค้า x, Py = ราคาของสิ นค้า y
A = นโยบายหรื อจุดมุ่งหมายของธุรกิจ
B = เทคโนโะยีการละิต , C = ราคาปั จจัยการละิต
D = จานวนของลูล้ ะิตและะลูข้ ายในตะาด
ราคา
อุปทาน (supply)
o
ปริ มาณ
รู ปแลสดงะักษณะของเส้นอุปทาน
ราคา
อุปทาน (supply)
o
ปริ มาณ
รู ปแลสดงะักษณะของเส้นอุปทาน
Low of Supply Qxs œ P
สมการอุปทาน (Supply Equation) มี 2 ชนิด
1. สมการที่เป็ นเส้นตรง เช่น Qxs = 5+4P
2. สมการเส้นโค้ง Qxs = 5+4P2
การเปลีย่ นแปลงปริมาณขาย
(Changes in the Quantity Supplied)
s
Supply Function Qx = ƒ(Px, Py, A, B, C, D,…)
การย้ ายเส้ นอุปทาน (Shifts in Supply Curve)
Supply Function Qxs = ƒ(Px, Py, A,B,C,D,…)
Supply
So
ราคา
P1
ราคา
S2
So
S1
Po
P2
Q2
Q0 Q1 ปริ มาณ
ปริ มาณ
รู ปแลสดงการเคะื่อนย้ายอยูบ่ น รู ปแลสดงการเคะื่อนย้ายของเส้น
เส้น Supply หรื อ การ move
Supply
along
หรื อ การ Shift ของเส้น Supply
การเปลีย่ นแปลงภาวะดุลยภาพ
(Change in Equilibrium)
ภาวะดุลยภาพจะเปลีย่ นแปลงไปถ้ าเกิดการ Shift
ของเส้ น Demand หรือ เส้ น Supply หรือ การ Shift
ของทั้งสองเส้ น พร้ อมกัน
การกาหนดราคาและะดุะยภาพของตะาด
(Price Determination and Market Equilibrium)
ราคาดุะยภาพและะปริ มาณดุะยภาพ
P
P1
P0
P2
0
Excess Supply
Supply
E
Excess Demand Demand
Q2 Q4 Q0 Q3 Q1 Q
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และอุปทาน
และการประยุกต์ ทฤษฎีอุปสงค์ อุปทาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) คือ
อะไร
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ นิยมวิเคราะห์ 3 ด้ าน คือ
1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ต่อราคา
2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ต่อราคาสิ นค้ าอืน่
3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ต่อรายได้
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา หมายถึง
อัตราส่ วนเปอร์เซ็นต์การเปะี่ยนแลปะงของปริ มาณซื้ อต่อ
เปอร์เซ็นต์การเปะี่ยนแลปะงของปริ มาณขาย
หรื อ การที่ราคาสิ นค้าเปะี่ยนแลปะงไปและ้วทาให้ปริ มาณซื้อ
สิ นค้านั้นเปะี่ยนแลปะงไปมากน้อยเพียงใด
สู ตรการคานวณค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาแลบบจุด
Demand ƒn
Qx = ƒ(Px)
โดยกาหนดให้ Py, I, T,Z คงที่
Low of Demand P œ 1/Q (P แลปรลกลันกับ Q)
Ed = %Q = Q × P1
P P Q1
= Q2 - Q1 × P1
P2 - P1
Q1
ตัวอย่าง เสื้ อตัวะะ 50 บาท ขายได้วนั ะะ 20 ตัว
ต่อมาเสื้ อราคาสูงขึ้นเป็ นตัวะะ 60 บาท ทาให้การขาย
ะดะงเหะือวันะะ 15 ตัว ถามว่าความยืดหยุน่ ของอุป
สงค์ต่อราคาของเสื้ อนี้มีค่าเท่าไร
Ed = %Q = Q × P1
P P
Q1
= Q2 - Q1 × P1
P2 - P1
Q1
Ed = -5 × 50 = 1.25
10 20
หมายถึง เมื่อราคาสิ นค้าเปะี่ยนแลปะงไป 1 % จะทาให้
ปริ มาณขายะดะง 1.25% เสื้ อเดิมขายได้ 20 ตัว
เมื่อราคาสูงขึ้นอีก 10 บาท ปริ มาณซื้อะดะง 5 ตัว
คิดเป็ นร้อยะะ 25 ของปริ มาณขายเดิม
(คิดเป็ นร้อยะะได้โดย ถ้า 100 = 20
1.25 = 20 x 1.25 = 0.25)
100
ความยืดหยุน่ ของอุปทาน หมายถึง
อัตราส่ วนเปอร์เซ็นต์การเปะี่ยนแลปะงของปริ มาณเสนอ
ขายต่อเปอร์เซ็นต์การเปะี่ยนแลปะงของราคา
หรื อ การที่ราคาสิ นค้าเปะี่ยนแลปะงไปและ้วทาให้ปริ มาณ
เสนอขายสิ นค้านั้นเปะี่ยนแลปะงไปมากน้อยเพียงใด
สู ตรการคานวณค่าความยืดหยุน่ ของอุปทานต่อราคา
แลบบจุด
Es = % Qs = Qs × P
P
P Qs
= Q2 - Q1 × P1
P2 - P1
Q1
ตัวอย่าง เงาะโรงเรี ยนราคา กก.ะะ 20 บาท อุปทาน
ของเงาะมีจานวน 7,500 กก. แลต่ถา้ เงาะโรงเรี ยน
ราคา กก. ะะ 10 บาท อุปทานของเงาะจะะดะง
เหะือ 4,500 กก. ถามว่า ค่าความยืดหยุน่ ของอุ
ปานมีค่าเท่าไร
Es = % Qs = Qs × P
P
P Qs
= Q2 - Q1 × P1
P2 - P1
Q1
= -3,000 × 20 = 0.8
หมายถึง เมื่อราคาสิ นค้าเปะี่ยนแลปะงไป 1 % จะ
ทาให้ปริ มาณเสนอขายเปะี่ยนแลปะงไป 0.8%
กรณี Demand ที่เป็ นเส้นตรง ความยืดหยุน่ จะไม่
เท่ากันตะอดทั้งเส้น
P
Ed = œ Perfectly elastic demand
Ed > 1 Relatively elastic Demand
0
Ed = 1 Unitary elastic demand
Ed < 1 Relatively inelastic demand
Ed = 0 Perfectly inelastic demand
Q
P
P
P
Q
ก. Ed = ∞
ตะอดทั้งเส้น
Q
ข. Ed = 0
ตะอดทั้ง เส้น
Q
ค. Ed = 1
ตะอดทั้งเส้น
ปัจจัยที่กาหนดค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์
สิ นค้าที่มีความยืดหยุน่ สูง (High elastic) มีะกั ษณะดังนี้
1. มีสินค้าอื่นใช้แลทนได้มาก
2. เป็ นสิ นค้าคงทน
3. เป็ นสิ นค้าราคาแลพงมาก
สิ นค้าที่มีความยืดหยุน่ น้อย (Inelastic)
1. เป็ นสิ นค้าจาเป็ นสาหรับลูบ้ ริ โภคเฉพาะราย
2. เป็ นสิ นค้าที่หาสิ นค้าอื่นทดแลทนได้ยาก
3. เป็ นสิ นค้าที่มีราคาต่า
ความสัมพันธ์ระหว่างความยืดหยุน่ ของอุปสงค์
ต่อราคากับรายรับรวม
รายรับรวม = ราคา X ปริ มาณสิ นค้า
การเปะี่ยนแลปะงของราคาสิ นค้าจะส่ งละต่อปริ มาณการขายสิ นค้าและะจะส่ งละต่อ
รายรับรวมด้วย
ถ้าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคามีค่าน้อยจะส่ งละต่อรายรับรวมอย่างไร
ถ้าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคามีค่ามากจะส่ งละต่อรายรับรวมอย่างไร
และะธุรกิจควรจะเพิม่ ราคาหรื อะดราคาสิ นค้าหรื อดาเนินกะยุทธอย่างอื่นเพื่อส่ งละ
ให้รายรับรวมเพิ่มขึ้น
ประโยชน์ ของค่ าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ต่อราคา
- ภาคธุรกิจ
- ภาคเกษตร
- รัฐบาล
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
(Price Elasticity of Supply)
ความยืดหยุ่นของอุปทาน = % การเปลีย่ นแปลงของปริมาณขาย
% การ
เปลีย่ นแปลงของราคา
Es = %Q
=  Q × P1
%P
 P Q1
= Q2 - Q1 × P1
P2 - P1 Q1
ลักษณะของความยืดหยุ่นของอุปทาน
•
•
•
•
•
Perfectly elastic Supply
Relatively elastic Supply
Unitary elastic Supply
Relatively inelastic Supply
Perfectly inelastic Supply
Es = œ
Es > 1
Es = 1
Es < 1
Es = 0
รู ปแสดงความยืดหยุ่นของอุปทาน
ราคา
ราคา
Es = 0
Es = ∞
ปริมาณ
ปริมาณ
ราคา
ราคา
Es >1
Es = 1
Es<1
ปริมาณ
เส้ น Supply ทีอ่ อกจากจุดOrigin Es = 1
ปริมาณ
ปัจจัยทีก่ าหนดค่ าความยืดหยุ่นของอุปทาน
1. ความยากง่ายและะเวะาที่ใช้ในการละิต
2. ปริ มาณสิ นค้าคงคะัง
3. กาะังคงเหะือของเครื่ องมือเครื่ องจักร
4. ความหายากของปัจจัยการละิต
5. ระยะเวะา
6. การเปะี่ยนแลปะงในต้นทุนการละิต
ประโยชน์ ของการศึกษาเรื่องความยืดหยุ่นของอุปทาน
1. รัฐบาล
2. ผู้ผลิต
อุปสงค์ อุปทาน และะความยืดหยุน่ กับการวิเคราะห์
ปัญหาทางเศรษฐกิจบางประการ
1. การแลทรกแลซงราคาโดยรัฐบาะ โดยทัว่ ไปมี 2 ชนิด
ก. การประกันราคาขั้นต่า (Price
Support)
- การประกันราคาขั้นต่าโดยรัฐบาะรับซื้ ออุปทาน
ส่วนเกิน
- การประกันราคาขั้นต่าโดยรัฐบาะจ่ายเงินอุดหนุน
ให้แกเกษตรกร
่
2. การเก็บภาษีสินค้าและการผลักภาระภาษี
ภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บจากผู้ขาย แบ่ งเป็ น 2 ประเภท
ใหญ่ ๆ
2.1 ภาษีต่อหน่ วย (Specific tax)
2.2 ภาษีแบบคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ของยอดขาย
(Advarolem tex)
การผลักภาระภาษีไปยังผู้ซื้อกับความยืดหยุ่น
ของเส้ นอุปสงค์ และความยืดหยุ่นของเส้ น
อุปทาน
ทฤษฎีพฤติกรรมของลูบ้ ริ โภค
ในบทนี้จะเรี ยน
1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utilities Theory)
2. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference
Curve Approach)
Demand คือ ความต้องการและะความเต็มใจ (willingness)
ในการบริ โภคสิ นค้า ณ ระดับราคาและะปริ มาณนั้นๆ
Demand Function
Demand Curve
Qx = ƒ( Px, Py, I, T, Z)
Qx = ƒ( Px)
โดยที่ Py, I, T, Z คงที่
Low of Demand
P œ 1/Q P Q
การที่เส้น Demand ะาดะงจากซ้ายไปขวา
เนื่องจากเหตุละ 2 ประการ คือ
1. ละจากการทดแลทนกันของสิ นค้า (Substitution Effect )
2. ละจากรายได้ (Income Effect)
Total Effect = Substitution Effect + Income Effect
แลต่กย็ งั มีเหตุละอีกเหตุละหนึ่งที่สนับสนุนเส้นDemand คือ
กฎการะดน้อยถอยะงของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Low
of Diminiching Marginal Utility) ซึ่งจะได้ศึกษาต่อไปใน
ทฤษฎีพฤติกรรมลูบ้ ริ โภค
Substitution Effect = Px
Py
Px
(x)
(y) U
Income Effect
(I)
Px
(x)
(y) U
= Px
ทฤษฎีที่ศึกษาพฤติกรรมของลูบ้ ริ โภคมีหะายทฤษฎี
แลต่จะศึกษา 2 ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Marginal Utility Theory)
2. ทฤษฎีพฤติกรรมลูบ้ ริ โภค ตามหะักเส้นความพอใจ
เท่ากัน (Theory of Consumer Behaviour The Indifference Curve Approach)
1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์
อรรถประโยชน์ (Utility) คือ ความพอใจที่ลบู้ ริ โภค
ได้รับจากการบริ โภคสิ นค้าและะบริ การชนิดต่างๆ
Utility แลบ่งเป็ น
1. Ordinal Utility บอกได้วา่ ชอบมากกว่า หรื อน้อย
กว่า
2. Cardinal Utility
มีหน่วยวัดเรี ยกว่า Util
อรรถประโยชน์รวม (Total Utility : TU) หมายถึง ความ
พอใจทั้งหมดที่ลบู้ ริ โภคได้รับจากการบริ โภคสิ นค้าหรื อ
บริ การในขณะหนึ่งๆ ในจานวนต่างๆ กัน
อรรถประโยชน์หน่วยสุ ดท้าย หรื ออรรถประโยชน์เพิ่ม
(Marginal Utility : MU)
คือ อรรถประโยชน์ที่ลบู ้ ริ โภคได้รับเพิ่มขึ้นจากการ
บริ โภคสิ นค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
TU = MU1+MU2+…Mun = MUi
ตารางแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างอรรถประโยชน์ รวม กับ
อรรถประโยชน์ เพิม่
หน่วยที่
1
2
3
4
5
6
7
อรรถประโยชน์รวม
(Total Utility : TU )
10
18
24
28
30
30
28
อรรถประโยชน์เพิ่ม
(Marginal Utility : MU)
10
8
6
4
2
0
-2
กราฟแลสดงความสัมพันธ์ระหว่างอรรถประโยชน์รวม กับ
TU (ยูทิะ)
อรรถประโยชน์เพิ่ม
TU
MU (ยูทิะ)
ปริ มาณการ
บริ โภค (Q)
ปริ มาณการ
MU บริ โภค (Q)
กราฟ แลสดงความสัมพันธ์
ระหว่าง TU และะ MU
อรรถประโยชน์ของสิ นค้าแลต่ะะชนิด จะมากหรื อน้อย
เพียงใด ขึ้นอยูก่ บั ความต้องการของลูบ้ ริ โภคในขณะนั้น
อรรถประโยชน์รวมจะเปะี่ยนแลปะงไปตามจานวนสิ นค้าที่
ทาการบริ โภค ในขณะที่ลบู ้ ริ โภค บริ โภคสิ นค้าเพิ่มขึ้น
เรื่ อยๆ อรรถประโยชน์รวมจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ะดะง
เพราะหน่วยหะังๆ ของสิ นค้าที่ทาการบริ โภคจะให้
อรรถประโยชน์นอ้ ยกว่าหน่วยแลรกๆ
1st Unit is the best
ข้อสมมุตในการวิเคราะห์พฤติกรรมของลูบ้ ริ โภค
1. ลูบ้ ริ โภคส่ วนใหญ่เป็ นลูม้ ีเหตุละทางเศรษฐกิจ
2. สมมุติวา่ ลูบ้ ริ โภคทัว่ ไปสามารถจัดะาดับความพอใจ
สาหรับสิ นค้าแลต่ะะอย่างได้อย่างชัดเจน
3. รายได้ของลูบ้ ริ โภคมีจากัด
4. สิ นค้าทุกชนิดในตะาดมีราคาทั้งสิ้ น
Low of diminishing marginal utility
คือ
ในขณะใดขณะหนึ่งถ้าเราได้รับสิ นค้าชนิดใดชนิด
หนึ่งเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ อรรถประโยชน์เพิม่ ที่ได้รับจาก
การจากการบริ โภคสิ นค้าแลต่ะะหน่วยจะะดะง
เรื่ อยๆ
จึงได้เส้น MU ที่ะาดะงจากซ้ายไปขวา
อรรถประโยชน์รวมและะอรรถประโยชน์เพิม่ ของเงิน
การตัดสิ นใจของลูบ้ ริ โภคในการจ่ายเงินซื้อสิ นค้า
จานวน Mu ของเนื้ อ MU ของเงิน
เนื้ อหมู หมู (Util)
50บาท
1
150
50
2
130
50
3
100
50
4
50
50
5
10
50
6
0
50
การตัดสิ นใจ
ของแลม่บา้ น
ซื้ อ
ซื้ อ
ซื้ อ
ซื้ อ จนกระทัง่
ไม่ซ้ื อ
ไม่ซ้ื อ
การเปรี ยบ
เทียบ
MUP
MUP
MUP
MU=P
MUP
MUP
สรุ ป
การทีผ
่ บริ
ู้ โภคจะซือ
้ สิ นค้าแต่
ะะชนิด เป็ นจานวนเท่าใดนั้น ขึ้นอยูก่ บั อรรถประโยชน์
เพิ่ม และะราคาของสิ นค้านั้น ถ้าอรรถประโยชน์เพิม่ ของ
สิ นค้าสูงกว่าราคา
ลูบ้ ริ โภคก็จะจ่ายเงินซื้อสิ นค้านั้น แลต่จะไม่ยอมจ่ายเงินซื้อ
สิ นค้าที่ให้อรรถประโยชน์เพิม่ ต่ากว่าราคาสิ นค้า และะจะ
พอใจสูงสุ ดในกาซื้อสิ นค้าที่ MU ของสิ นค้า = P
นัน่ ก็คือ ความพอใจสูงสุ ดในการบริ โภคสิ นค้า
Total Utility (TU) สูงสุ ด ก็ต่อเมื่อ MU =0
แลต่ถา้ สิ นค้ามีหะายอย่าง และะมีงบประมาณจากัด การ
ตัดสิ นใจซื้ อของลูบ้ ริ โภคที่ก่อให้เกิดความพอใจสูงสุ ด
(TU สูงสุ ด) แลก่ลบู ้ ริ โภคคือ
MUA = MUB = MUC = … = MUn
PA
PB
PC
Pn
กาหนดให้มีงบประมาณ 600 บาท ในการซื้อเสื้ อและะ
กางเกง โดยที่อรรถประโยชน์หน่วยสุ ดท้ายของเสื้ อและะ
กางเกงมีดงั นี้
หน่วยสิ นค้า MU เสื้ อ MU เสื้ อ/ราคา (เสื้ อตัว MU
MU กางเกง/ราคา
ะะ 100 บาท)
กางเกง (กางเกงตัวะะ 200)
1
2
3
4
5
6
7
1000
800
700
600
500
400
300
10
8
7
6
5
4
3
2400
2000
1800
1600
1200
600
400
12
10
9
8
6
3
2
จากการที่
MUA = MUB
PA
PB
ถ้าสมมุติวา่ ราคาสิ นค้า A เพิ่มขึ้น จะทาให้ MUA ะดะง
ลูบ้ ริ โภคจะะดการซื้ อสิ นค้า A ะง และะจะซื้ อสิ นค้า B
เพิ่มขึ้น เพราะให้อรรถประโยชน์สูงกว่า สมการจะเป็ น
MUA < MUB
PA
PB
MUA = MUB
PA
PB
ความพอใจส่ วนเกินของลูบ้ ริ โภค (Consumer Surplus)
ราคา
Consumer
Surplus
3
รายจ่าย
ทั้งหมด
0
B
Consumer Surplus : CS คือ พื้นที่ใต้เส้น
Demand ในส่ วนที่อยูเ่ หนือระดับราคาที่
ลูบ้ ริ โภคจ่ายจริ ง
(ส่ วนต่างระหว่างจ่ายจริ งกับเต็มใจที่จะจ่าย)
เส้น Demand
ปริ มาณ
ทฤษฎีพฤติกรรมลูบ้ ริ โภค ตามหะักความพอใจเท่ากัน
(Theory of consumer BehaviourThe Indifference Curve Approach)
การบริ โภค คือ การแลปะงสิ นค้าและะบริ การให้เป็ นความพอใจ
การบริ โภคมาจาก 2 ส่ วน คือ
1. รสนิยม คือ ความชอบของลูบ้ ริ โภค ซึ่ งกาหนดให้ลบู ้ ริ โภค
สามารถเรี ยงะาดับกะุ่มสิ นค้าอย่างน้อย 2 ชนิด และะสามารถ
เรี ยงะาดับความชอบได้
2. รายได้ หรื องบประมาณ
อุปกรณ์ที่สาคัญที่นามาใช้เป็ นเครื่ องมือในการ
วิเคราะห์ ทฤษฎีพฤติกรรมลูบ้ ริ โภคตามหะักความ
พอใจเท่ากัน คือ
1. เส้นงบประมาณ (Budget line)
2. เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve)
เส้นงบประมาณ คือ คือเส้นที่แลสดงถึงจานวนสิ นค้าและะ
บริ การสองชนิดที่เงินจานวนหนึ่งซื้อได้ (แลสดงถึงอานาจซื้อ)
อานาจซื้ อ = เงินรายได้
ระดับราคา ( ถ้าราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้นใน
ขณะที่รายได้คงเดิม อานาจซื้ อ จะะดะง)
Budget line
Px.X + Py.Y = I
Budget Space
Px.X + Py.Y < I
Slope Budget line
= -Px
Py
เส้น Budget line
สิ นค้ า Y
Slope Budget line = -Px
Py
เส้ น Budget line : BL
สิ นค้ า X
เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve : IC)
คือกะุ่มสิ นค้าสองชนิด หะายๆ กะุ่มที่บริ โภคและ้วให้อ
ความพอใจเท่ากันตะอดทั้งเส้น
ะักษณะของเส้น IC
1. วาดได้มากมายหะายเส้น
2. ตัดกันไม่ได้
3. ะาดะงจากซ้ายไปขวา
4. โค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิด
Slope ของเส้น IC เรี ยกว่า Marginal Rate of Substitution in
Consumption) : MRSC
= - Mux
Muy
(ถ้าอยากเพิม่ y ต้องะด x โดยที่ความพอใจเท่าเดิม)
สิ นค้า Y
A
Y1

Y
Y2
เส้นความพอใจเท่ากัน
Indiffererce Curve : IC
B
IC
X1
X2
สิ นค้า X
กราฟแลสดงเส้นความพอใจเท่ากัน
(Indifference Curve)
ความพอใจสูงสุ ดของลูบ้ ริ โภค คือ ลูบ้ ริ โภคจะใช้
เงินรายได้ที่มีอยูจ่ ากัดจานวนหนึ่งเะือกซื้อสิ นค้า
หรื อกะุ่มสิ นค้าที่ให้อรรถประโยชน์ (ความพอใจ)
สูงสุ ดที่ Consumptive Optimun ซึ่งเป็ นจุดสัมลัส
ของเส้น IC กับเส้น BL
สิ นค้า y
E
BL
IC2
IC IICo
1
สิ นค้า x
กราฟแลสดงดุะยภาพของลูบ้ ริ โภคตามทฤษฎี
เส้นความพอใจเท่ากัน
จุด E ได้ Consumtive optimum ซึ่งเป็ น
จุดสั มผัสของเส้ น IC กับ เส้ น BL
E = -MUx = -Px หรือ MUx = MUy
MUy
Py
Px
Py
E
สิ นค้ า X
ทฤษฎีการละิต ต้นทุน และะรายรับจากการละิต
(Theory of Production , Cost and Revemue)
ทฤษฎีการละิต เป็ นการศึ กษาในเรือ
่ งของ
ความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยต่างๆ ที่ใช้ในการละิต (inputs) กับ
ปริ มาณละละิตที่ได้รับ (outputs) ซึ่งทฤษฎีน้ ีจะช่วยอธิบายให้
เข้าใจเกี่ยวกับต้นทุนการละิตชนิดต่างๆ รวมทั้งรายรับและะกาไร
จากการละิต
การละิต (Production) คือ กระบวนการรวบรวมปั จจัยการละิต
(inputs) อันได้แลก่ ที่ดิน แลรงงาน ทุน และะการประกอบการ รวมไป
ถึงเทคโนโะยีต่างๆ มาล่านกระบวนการละิต เพื่อละิตออกมาเป็ น
สิ นค้าและะบริ การ (outputs)
ในทางปฏิบตั ิการละิตสิ นค้าหรื อบริ การจานวนหนึ่ งอาจมี
วิธีการละิตได้หะายวิธี แลต่ะะวิธีอาจใช้เทคนิคและะส่ วนลสม
ปั จจัยการละิตที่แลตกต่างกันออกไป พิจารณาได้จากฟังก์ชนั
การละิต ซึ่ งฟังก์ชนั การละิต (Production Function) เป็ นการ
แลสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยการละิตชนิดต่างๆ กับ
ปริ มาณ
ละละิตที่เกิดขึ้นจากปั จจัยการละิตนั้นๆ ซึ่ งเขียนเป็ นรู ปสมการ
ได้ดงั นี้
TP = ƒ(a, b, c) หรื อ Qx = ƒ(a,b,c)
ฟังก์ชนั การละิต
TP = ƒ(a, b, c) หรื อ Qx = ƒ(a,b,c)
หมายถึง ปริ มาณละละิตทั้งหมด (Total Product : TP) ในช่วงเวะา
หนึ่งขึ้นอยูก่ บั จานวนของปั จจัยการละิตต่างๆ (a, b, c) ถ้าหากมีการ
เพิม่ หรื อะดจานวนของปั จจัยการละิตชนิดหนึ่งหรื อหะายชนิด จะ
ทาให้ปริ มาณละละิตรวมเพิ่มขึ้นหรื อะดะงได้
ทั้งนี้หวั ใจสาคัญของการละิตคือ ประสิ ทธิ ภาพ โดยที่ในการ
วิเคราะห์จะต้องสมมุติวา่ ฟังก์ชนั การละิตของหน่วยละิตนั้นมีการ
ใช้เทคนิควิธีการละิตที่มีประสิ ทธิภาพสูงสุ ด
หัวใจสาคัญของการละิตคือประสิ ทธิภาพ
วิธีการละิตที่ถือว่ามีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด คือ
1. ได้ละละิตมากที่สุดภายใต้ปัจจัยการละิตจานวนหนึ่ง
(Max Q given inputs) หรื อ
2. ใช้ปัจจัยการละิตน้อยที่สุด เพื่อให้ได้ละละิตตามที่กาหนด
(Min inputs to produce given Q)
การละิตในทางเศรษฐศาสตร์แลบ่งออกได้เป็ น 2 ระยะ
1. การละิตในระยะสั้น (Short run production) คือ ระยะการ
ละิตที่ใช้ปัจจัยลันแลปร (variable inputs) ร่ วมกับปั จจัยคงที่
(fixed inputs)
2. การละิตในระยะยาว (Long run production) คือ ระยะการ
ละิตที่ทรัพยากรการละิตทุกชนิด สามารถเปะี่ยนแลปะงได้หมด
ดังนั้นในระยะยาวปั จจัยการละิตทุกอย่างจึงเป็ นปั จจัยลันแลปร
ทั้งหมด (variable inputs)
ก. การละิตในระยะสั้น
(Short-run production)
การผลิตในระยะสั้ น คือการผลิตทีใ่ ช้
ทั้งปั จจัยการละิตลันแลปร (Variable inputs) ร่ วมกับปั จจัยการ
ละิตคงที่ (fixed inputs)
- ปัจจัยลันแลปรคือ ปัจจัยการละิตที่มีปริ มาณการใช้แลปรลันตาม
ปริ มาณละละิตและะลูล้ ะิตสามารถปรับเปะี่ยนจานวนตามความ
ต้องการได้ทุกเวะา (ละิตมากใช้มาก ละิตน้อยใช้นอ้ ย)
- ปั จจัยคงที่ คือปั จจัยที่มีปริ มาณคงที่ไม่แลปรลันไปตามปริ มาณ
ละละิต
การละิตในระยะสั้นนั้นจะเกี่ยวข้องกับ กฎการลดลงของผลได้
(Law of Diminishing Returns)
คือ เมื่อลูล้ ะิตใช้ปัจจัยลันแลปรชนิดใดชนิดหนึ่ง เข้าไปใน
กระบวนการละิตในระยะแลรกละละิตที่ได้รับจะเพิม่ ขึ้นในอัตราที่
เพิ่มขึ้น
ต่อมา ถ้าลูล้ ะิตเพิม่ การใช้ปัจจัยการละิตชนิดนั้นในกระบวนการ
ละิตอย่างต่อเนื่อง ละละิตที่ได้รับจากปั จจัยการละิตแลต่ะะหน่วยที่
ใช้จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ะดะง
ความหมายและะความสัมพันธ์ของละละิตชนิดต่างๆ
1. ผลผลิตรวม (Total Product : TP) คือ ละละิตทั้งหมดที่ได้จาก
การละิต โดยใช้ปัจจัยการละิตจานวนหนึ่ง ละละิตรวมหาได้จาก
ละละิตรวมของละละิตเพิ่มหรื อละละิตหน่วยสุ ดท้าย TP = MP
2. ละละิตเฉะี่ย (Average Product : AP) คือ ละละิตเฉะี่ยต่อจานวน
ปั จจัยการละิต AP = TP/Q (Q ในที่น้ ีคือจานวนของปั จจัยการ
ละิต)
3.ละละิตเพิ่ม (Marginal Product : MP) คือ ถ้าปั จจัยการละิตลัน
แลปรเพิม่ ขึ้น 1 หน่วยละละิตรวมจะเปะี่ยนแลปะงไปอย่างไร
MPL = TPL/ L
ตัวอย่าง ละละิตข้าว (จานวนถัง) โดยใช้ปริ มาณปุ๋ ย (ปัจจัยแลปรลัน)ต่างๆ
กัน
เนื้ อที่ดิน
(ไร่ )
ปริ มาณปุ๋ ย
(กิโะกรัม)
ละละิตข้างทั้ง
หมด (ถัง)
ละละิตเฉะี่ย
(ถัง)
ละละิตหน่วยสุ ด
ท้าย (ถัง)
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
5
12
21
32
40
42
42
40
36
30
5
6
7
8
8
7
6
5
4
3
5
7
9
11
8
2
0
-2
-4
-6
Stage of Production โดยพิจารณา AP, MP ประกอบ
Stageที่ I MP และะ AP มีคา่ เป็ นบวก
Stage ที่ II MP และะ AP เป็ นบวกแลต่มีค่าะดะง หมายถึง output
ที่ได้เพิ่มขึ้นแลต่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ะดะง
Stage ที่ III ธุรกิจไม่ควรอยู่ เพราะเมื่อเพิ่มปั จจัยลันแลปรเข้าไป
แลต่ละละิตกะับะดะง (ธุรกิจควรหะีกเะี่ยง Stage นี้
Stage ที่ดีที่สุด คือ Stage II โดยเฉพาะ
ณ. ระดับการละิตที่ MP = 0
ละละิตรวม TP
TP
ละละิตเฉะี่ย AP, ละละิตเพิ่ม MP
I II III
ปัจจัยการละิต
ปัจจัยการละิต
กราฟแลสดง Stage of Production
ข. การละิตในระยะยาว (Long- run Production)
ในระยะยาวเป็ นระยะเวะาที่นานพอที่ลลู ้ ะิตจะสามารถเปะี่ยนแลปะง
ปริ มาณของละละิตโดยการเปะี่ยนแลปะงปั จจัยการละิตทุกชนิดได้
ดังนั้นในระยะยาวจึงเป็ นการวางแลลนการละิตเพื่อเะือกขนาดการละิตที่
เหมาะสม
อย่างไรก็ตาม สิ่ งที่เกิดขึ้นในระยะยาวคือ เมื่อลูล้ ะิตขยายขนาด
การละิตให้ใหญ่ข้ ึนไปเรื่ อยๆ ก็จะต้องประสบกับปั ญหาในเรื่ อง
กฎของละละิตที่ได้ จากการขยายขนาด (Low of Returns to Scale)
ซึ่งจะส่ งละให้ละละิตเปะี่ยนแลปะงไปดังนี้
กราฟแสดงกฎของผลผลิตที่ได้ จากการขยายขนาดการผลิต
กฎของละละิตที่ได้จากการขยายขนาดการละิต
(Low of Returns to Scale)
ระยะที่ 1 เป็ นระยะที่ละได้เพิ่มขึ้น (Increasing
Returns to Scale) คือ เมื่อขยายขนาดการละิตใน
ระยะแลรก จะปรากฎว่า ละละิตเพิม่ ขึ้นในอัตราที่สูง
กว่าอัตราการเพิ่มของปัจจัยการละิตทุกตัว เช่น
ปัจจัยการละิตทุกตัวเพิ่มขึ้น ตัวะะ 10% จานวน
ละละิตเพิ่มขึ้น 15% เป็ นต้น
ระยะที่ 2 เป็ นระยะที่ละได้คงที่ (Constant Returns to
Scale) เมื่อลูล้ ะิตขยายขนาดการละิตเกินระดับหนึ่งและ้ว
จะปรากฎว่าละละิตเพิ่มขึ้นในอัตราเดียวกับอัตราการ
เพิ่มของปัจจัยการละิต เช่น ปัจจัยการละิตทุกตัวเพิ่มขึ้น
ตัวะะ 10% จานวนละละิตจะเพิ่มขึ้น 10 %
เช่นกัน
ระยะที่ 3 เป็ นระยะที่ละได้ะดะง (Decreasing
Returns to Scale) คือ เมื่อธุรกิจขยายขนาด
การละิตออกไปอีกระดับหนึ่ง จะปรากฎว่า
ละละิตหน่วยสุ ดท้ายจะะดะง ซึ่งก็คือ อัตรา
การเพิ่มขึ้นของละละิตต่ากว่าอัตราการ
เพิม่ ขึ้นของปัจจัยการละิต เช่น ปัจจัยการละิต
ทุกตัวเพิม่ ขึ้น ตัวะะ 10% ละละิตเพิม่ ขึ้น
เพียง 6% เป็ นต้น
เหตุผลที่ในระยะยาวสามารถแบ่ งระยะการผลิตได้ จากการขยายขนาดการ
ผลิตออกได้ เป็ น 3 ระยะ เนื่องจากเกิดการประหยัดและไม่ ประหยัดอัน
เกิดจากการขยายขนาดการผลิต (Economies and Diseconomies of Scale)
- การประหยัดจากขนาด (Economies of Scale) เช่น เกิดการแลบ่งงานกัน
ทา ทาให้เกิดความชานาญเฉพาะอย่างมากขึ้น มีการนาเอาเครื่ องจักร
เครื่ องมือที่ทนั สมัยเข้ามาใช้ในการละิต, สามารถซื้อวัตถุดิบได้ถูกะง, ค่า
ขนส่ งวัตถุดิบถูกะง ซึ่งทาให้เกิดการประหยัดจากขนาดในระยะแลรก แลต่
ในระยะที่ 2 การประหยัดกับการไม่ประหยัดจากขนาดจะเท่ากันพอดี
- การไม่ ประหยัดจากขนาด (Diseconomies of Scale) จะเกิดในระยะที่ 3
เนื่องจากขนาดของกิจการใหญ่เกินไป ทาให้เกิดความยุง่ ยากในการจัดการ
และะเป็ นละให้ประสิ ทธิภาพการละิตะดะง
ต้นทุนการละิตในทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนการละิตในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ค่าใช้จ่าย
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการละิตสิ นค้าและะบริ การ ซึ่ง
หน่วยละิตได้จ่ายไป เพื่อดึงดูดทรัพยากรการละิตที่กาะัง
ถูกใช้งานในที่อื่น ให้เข้าสู่กระบวนการละิตของหน่วย
ละิต และะรายจ่ายในการละิตนี้จะมองเห็นหรื อมองไม่เห็น
ก็ได้
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = ต้นทุนทางบัญชี + ค่าเสี ยโอกาส
ต้นทุนการละิต (Cost of Production)
1. ต้นทุนชัดแลจ้งและะต้นทุนแลฝง
- ต้นทุนชัดแลจ้ง (explicit cost) คือ ค่าตอบแลทนปั จจัยการละิต
ต่างๆ ที่จ่ายเป็ นตัวเงินอาจมีหรื อไม่มีหะักฐานการรับและะรายจ่าย
เงินเพื่อบันทึกบัญชี
- ต้นทุนแลฝง (Implicit cost) หรื อต้นทุนไม่ชดั แลจ้ง คือต้นทุนของ
ปั จจัยการละิตที่ไม่มีการจ่ายค่าตอบแลทนเป็ นตัวเงิน หรื อจ่าย
ค่าตอบแลทนเป็ นตัวเงินต่ากว่าราคาตะาด ส่ วนที่จ่ายขาดไปอาจจะ
ประเมินค่าเป็ นตัวเงินได้
2. ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และะต้นทุนทางบัญชี
- ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic cost) คือ
ค่าตอบแลทนของปัจจัยการละิตทั้งหมดที่รวมค่าเสี ยโอกาส
ของปัจจัยการละิตนั้นเข้าไปด้วย ดังนั้น ต้นทุนในทาง
เศรษฐศาสตร์ จึงประกอบด้วยต้นทุนชัดแลจ้งและะต้นทุนแลฝง
- ต้นทุนทางบัญชี (Accounting cost) คือต้นทุนที่รวม
เฉพาะต้นทุนชัดแลจ้งส่ วนที่มีหะักฐานการรับและะจ่ายเงินที่
สามารถบันทึกบัญชีได้ และะอาจรวมต้นทุนแลฝงบางรายการ
ที่ประเมินมูะค่าได้ตามที่กฎหมายอนุญาต โดยทัว่ ไปต้นทุน
ทางบัญชีคานวณขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพือ่ การเสี ยภาษี
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์แลบ่งออกเป็ นต้นทุนระยะสั้นและะ
ต้นทุนระยะยาว ดังนี้
ก. ต้นทุนระยะสั้น
การละิตในระยะสั้นจะใช้ Fixed Inputs + Variable Inputs
Fixed Cost
Variable Cost
ข. ต้นทุนระยะยาว
การละิตในระยะยาวปัจจัยการละิตทุกอย่างสามารถ
เปะี่ยนแลปะงได้หมดดังนี้น ปัจจัยการละิตทุกตัวจึงเป็ น
Variable Inputs ฉะนั้นในระยะยาวจึงมีเฉพาะ Variable
Cost เท่านั้น
ต้นทุนการละิตในระยะสั้น (Cost in short- run)
1. ต้นทุนทั้งหมด (Total Cost)
-ะักษณะของTotal Fixed Cost จะเปะี่ยนแลปะงได้
ช้า ดังนั้นในระยะสั้นจะมองว่า คงที่ (TFC)
-ะักษณะของTotal Variable Cost จะออกจากจุด
Origin คือ ต้นทุนนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีการ
ละิตสิ นค้า (TVC)
- เมื่อต้นทุน 2 ตัวนี้มารวมกันจะได้เส้นต้นทุน
รวม (Total Cost) TC = TFC+TVC
ต้นทุน
TC
TVC
TFC
ปริ มาณละละิต
รู ปแสดงต้ นทุนทั้งหมด
ตารางต้นทุนในทุกระดับการละิตของลูร้ ับจ้างตัดเย็บเสื้ อล้า
ละละิต
0
10
15
20
30
40
ต้นทุนคงที่
FC
120
120
120
120
120
120
ต้นทุนลันแลปร ต้นทุนทั้งหมด
VC
TC
0
120
85
205
125
245
150
270
240
360
350
470
2. ต้นทุนเฉะี่ย (Average Cost) หรื อต้นทุนต่อ
หน่วย
- เส้น AFC มีะกั ษณะะาดะงอาจเป็ นเส้นตรงหรื อเส้นโค้ง
ก็ได้ เหตุที่ะาดะงเนื่องจาก เมื่อ TFC คงที่ แลต่เมื่อละิตสิ นค้า
มากขึ้นจะทาให้ตน้ ทุนต่อหน่วยะดะง AFC = TFC/Q
- เส้น AVC
AVC = TVC/Q
- เส้น ATC = AFC+AVC เมื่อ AFC ค่อยๆ ะดะง ช่วงห่าง
ระหว่างเส้น AVC และะ ATC จะค่อยๆ บีบตัวเข้าหากัน
3. เส้นต้นทุนหน่วยสุ ดท้ายหรื อต้นทุนเพิ่ม (Marginal
Cost) : MC
MC = TC/ Q (อัตราส่ วนต้นทุนทั้งหมดที่
เปะี่ยนแลปะงไปต่อปริ มาณละละิตที่เปะี่ยนแลปะงไป)
เส้น MC ในระยะแลรกจะะาดจากสูงะงมาต่า
เมื่อถึงจุดต่าสุ ดและ้ว เส้นจะะาดสูงขึ้นไปเรื่ อยๆ
การทีเ่ ส้น MC ะาดสูงขึ้นไป
เรื่ อยๆ แลสดงว่า
ต้นทุนหน่วยสุ ดท้ายเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น
(Increasing Marginal Cost)
กฎการะดะงของละได้ (Low of Diminishing Returns
ในระยะแลรกเมื่อเพิม่ ปั จจัยลันแลปรเข้าไปใน
กระบวนการละิต อัตราการเพิ่มขึ้นของละละิต
หน่วยสุ ดท้ายจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น (คือ
เส้น MP จะเพิ่มขึ้นในช่วงแลรก) ในขนะที่เส้น
MC จะะดะง
จนกระทัง่
Max MP = Min
MC
ในระยะต่อมาเมื่อเพิม่ ปั จจัยลันแลปรเข้าไปอีก จะเกิด
ปัญหาการะดะงของละได้ (Diminishing Returns)
คือ เส้น MP จะค่อยๆ ะดะง ซึ่งเป็ นขณะเดียวกัน
ต้นทุนการละิตในระยะยาว (Cost in long- run)
ในระยะยาวทรัพยากรการละิตทุกชนิด สามารถ
เปะี่ยนแลปะงได้หมด ดังนั้นปัจจัยการละิตทุกชนิดจึงเป็ น
ปัจจัยลันแลปรทั้งหมด ต้นทุนก็จะเป็ นต้นทุนลันแลปร
ทั้งหมด
การวิเคราะห์ตน้ ทุนในระยะยาวเพื่อการวางแลลนการละิต
และะเพื่อเะือกขนาดการละิตที่เหมาะสม
เส้นต้นทุนทั้งหมดในระยะยาว
เส้นต้นทุนการละิตในระยะยาว (Long run
cost Curves ) ในระยะยาวต้นทุนการละิต
ในแลต่ะะขนาดการละิตจะแลสดงได้ดว้ ย
ต้นทุนการละิตที่อาจจะเกิดขึ้นในระยะสั้น
สาหรับการละิตสิ นค้าจานวนต่างๆ กัน
ฉะนั้นต้นทุนการละิตระยะยาวจะแลสดงได้
โดยดูจากเส้นต้นทุนการละิตระยะสั้น ณ
ระดับการละิตต่างๆ กัน
ในระยะยาวขนาดของการผลิตสามารถเปลีย่ นแปลงได้ เช่นขนาด
ของเครื่ องจักร เมื่อมีการตัดสิ นใจและะดาเนินการเปะี่ยนแลปะงขนาด
การละิตครั้งใดและ้ว ก็เท่ากับว่าหน่วยธุรกิจจะดาเนินการละิตโดยมี
ต้นทุนการละิตในระยะสั้นในตอนนั้น ซึ่งจะเกิดเส้นต้นทุน SAC อัน
ใหม่เกิดขึ้น เมื่อะากเส้นเชื่อมต้นทุนเฉะี่ยในระยะสั้น ก็จะได้เส้น
ต้นทุนเฉะี่ยในระยะยาว LTC อย่างไรก็ตาม ถ้าขนาดการละิต
เปะี่ยนแลปะงทีะะน้อย ก็จะได้เส้น SAC ซ้อนกันจานวนหะายๆ เส้น
เมื่อะากเส้นเชื่อมจะทาให้ได้เส้น LAC ที่เป็ นเส้นโค้งดังรู ปข้างต้น
ตัวอย่าง เส้นต้นทุนเฉะี่ยในระยะยาว ของการละิตหมวก
เนื่องจากเส้นต้นทุนเฉะี่ยในระยะยาว (LAC)
แลสดงให้เห็นว่าควรจะเะือกขนาดของ
เครื่ องจักรแลค่ไหนในการละิตหมวกจานวน
ต่างๆ กัน เช่น ถ้าเะือกละิตหมวก 5 ใบ
ควรจะเะือกเครื่ องจักรที่ 1 แลต่ถา้ เะือกละิต
จานวน 20 ใบ ก็ควรจะเะือกเครื่ องจักรที่
4 จึงจะเสี ยต้นทุนการละิตต่าสุ ด ดังนั้น
เส้นต้นทุนเฉะี่ยในระยะยาว จึงเป็ นเส้นที่
ลูล้ ะิตใช้ในการวางแลลนเะือกการละิตของ
ตนเอง เพื่อจะได้รู้วา่ สมควรจะะดหรื อขยาย
ขนาดของเครื่ องจักรแลค่ไหนจึงจะเสี ยต้นทุน
ตารางต้นทุนการละิตระยะยาวในการละิตหมวก
จานวนละิต ขนาดของ ต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนเฉะี่ย ต้นทุนหน่วย
(ใบ)
เครื่ องจักร
(บาท)
ต่าที่สุด(บาท) สุดท้าย(บาท)
5
10
15
20
25
30
1
2
3
4
5
6
20
30
38
40
60
85
4.00
3.00
2.53
2.00
2.40
2.83
4.00
2.00
1.60
0.40
4.00
5.00
ต้นทุนรวม รายรับรวม และะกาไรสูงสุ ด
(Total Cost,Total Revenue and Profit Maximization)
โดยทัว่ ไปกาไร หมายถึง ละต่างระหว่างรายรับทั้งหมดกับต้นทุนทั้งหมด
กาไรรวม = รายรับรวม - ต้นทุนรวม
= TR - TC
แลต่ดว้ ยเหตุที่ตน้ ทุนทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง รายจ่ายทุกอย่างทั้งที่มองเห็น
ชัดแลจ้งรวมถึงต้นทุนแลอบแลฝง (ค่าเสี ยโอกาสต่างๆ) ดังนั้นต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จึงสูงกว่าต้นทุนทางบัญชี ต้นทุนทางบัญชีนอกจากจะไม่คานึงถึงต้นทุน
แลอบแลฝงและ้ว ยังไม่ถือว่าค่าตอบแลทนของลูป้ ระกอบการเป็ นต้นทุน แลต่กะับถือว่า
เป็ นกาไร ดังนั้น กาไรในทางบัญชี จึงสูงกว่ากาไรในทางเศรษฐศาสตร์
กาไร เป็ นเป้าหมายสูงสุดของผูประกอบการ
ดังนั้นสิ่ ง
้
ที่น่าสนใจคือ การหากาไรสูงสุ ด (Maximize Profit) จากการละิต โดยจะดูวา่
ปริ มาณและะราคาที่ก่อให้เกิดกาไรสูงสุ ดนั้น คือจุดใด
กาไรสู งสุ ด หาได้ 2 วิธี คือ
1. วิธีเปรี ยบเทียบรายรับรวม กับต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นจากการละิต
(Total Revenues-Total Cost Approach) คือ ปริ มาณการละิตที่รายรับรวม
แลตกต่างจากต้นทุนรวมมากที่สุด
รายรับ,ต้ นทุน
ผลผลิต
2. วิธีเปรี ยบเทียบรายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) กับต้นทุนหน่วยสุ ดท้าย (MC)
(Marginal Revenue - Marginal Cost Approach) โดยพิจารณาว่า เมื่อมีการละิต
สิ นค้าเพิ่มขึ้นแลต่ะะหนึ่งหน่วยนั้น จะทาให้รายรับหน่วยสุ ดท้ายเพิ่มขึ้นมากกว่า
ต้นทุนหน่วยสุ ดท้ายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะทาให้กาไรเพิ่มขึ้น ดังนั้นถ้าสิ นค้าหน่วย
สุ ดท้ายที่ละิตยังคงทาให้กาไรเพิม่ ขึ้นก็จะทาการละิต จนกระทัง่ รายรับหน่วย
สุ ดท้าย (MR) เท่ากับต้นทุนหน่วยสุ ดท้าย (MC) ซึ่งจะเป็ นจุดที่ลลู ้ ะิตได้รับกาไร
สูงสุ ด (จุดดุะยภาพของลูล้ ะิต)
ราคา
ผลผลิต
ตารางแลสดงดุะยภาพในการละิต ต้นทุน รายรับ และะกาไรจากการละิต
ปริ มาณ
(Q)
1
2
3
4
5
6
7
ราคา รายรับรวม ต้นทุนรวม กาไรสุ ทธิ รายรับหน่วย ต้นทุนหน่วย
(P)
(TR)
(TC)
(Prifit) สุ ดท้าย(MR) สุ ดท้าย(MC)
13
12
11
10
9
8
7
13
24
33
40
45
48
49
23
27
30
32
33
36
40
-10
-3
3
8
12
12
9
13
11
9
7
5
3
1
23
4
3
2
1
3
4
จากตาราง จะเห็นได้วา่ ณ ระดับละละิต 6 หน่วยนั้น จะมีกาไรรวม
สูงสุ ดและะค่าของรายรับหน่วยสุ ดท้ายเท่ากับต้นทุนหน่วยสุ ดท้ายพอดี
MR=MC
ราคา ละละิต และะการแลข่งขัน
โครงสร้างการตะาด (Market Structure)
ตะาดในทางเศรษฐศาสตร์สามารถเกิดขึ้นได้เสมอในทุกหนทุกแลห่ง ถ้ามี
อุปสงค์ และะอุปทานต่อสิ นค้า ก็ยอ่ มมีตะาดเกิดขึ้นในทุกสถานที่
ถ้าจัดประเภทของตะาดตามการแลข่งขันจะแลบ่งตะาดออกได้เป็ น 4
ประเภท คือ
1. ตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Market)
2. ตะาดลูกขาดสมบูรณ์ (Pure Monopoly)
3. ตะาดกึ่งแลข่งขันกึ่งลูกขาด (Monopolistic Competition)
4. ตะาดลูข้ ายน้อยราย (Oligopoly)
ตะาดทั้ง 4 ประเภทนี้ อาจแลบ่งได้เป็ น 2 กะุ่มใหญ่ๆ คือ
1. ตะาดสมบูรณ์ (Perfect Market) ได้แลก่ ตะาดแลข่งขันสมบูรณ์
2. ตะาดไม่สมบูรณ์ (Imperfect Market) ได้แลก่ตะาดลูกขาดสมบูรณ์
ตะาดกึ่งแลข่งขันกึ่งลูกขาด และะตะาดลูข้ ายน้อยราย
1. ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition)
เป็ นรู ปแลบบตะาดที่มีการแลข่งขันในอุดมคติของระบบเศรษฐกิจแลบบทุนนิยม
(Capitalism) กาหนดให้การแลข่งขันในตะาดขึ้นกับกะไกตะาดเสรี ได้แลก่ กะไก
ของอุปสงค์และะอุปทานในตะาด ะักษณะของตะาดแลข่งขันสมบูรณ์มีดงั นี้
1. มีลซู ้ ้ือและะลูข้ ายจานวนมาก (very large numbers of firms in the
industry)
2. สิ นค้าเหมือนกันทุกอย่าง ( identical products) สิ นค้าที่มีะกั ษณะเหมือนกัน
ทุกอย่างเรี ยกว่า “Homogeneous product”
3. ลูข้ ายแลต่ะะรายไม่สามารถมีอิทธิพะต่อราคาได้ (price taker)
4. ลูข้ ายเข้า-ออก จากอุตสาหกรรมโดยเสรี (freedom of entry and exit)
5. ลูซ้ ้ือและะลูข้ ายต่างรู ้สภาพของตะาดสิ นค้าอย่างดี (perfect knowledge of the
market)
กะไกราคาของตะาดแลข่งขันสมบูรณ์
- เส้นอุปสงค์ มีะกั ษณะขนานกับแลกนนอน แลสดงให้เห็นว่า ในตะาด
แลข่งขันสมบูรณ์น้ นั ลูซ้ ้ือและะลูข้ ายแลต่ะะรายไม่มีอิทธิพะเหนือราคาสิ นค้า
ราคาสิ นค้ากาหนดโดยกะไกราคา ที่มาจากดุะยภาพของอุปสงค์และะ
อุปทานอย่างแลท้จริ ง
เส้นอุปสงค์ที่ขนานกับแลกนนอนหมายถึง เมื่อใดที่บริ ษทั ก ขายล้า
ไหมของตนในราคาสูงกว่า Po จะขายไม่ได้เะย และะบริ ษทั ก ก็ไม่มีความ
จาเป็ นต้องขายล้าไหมในราคาที่ต่ากว่า Po เพราะขายได้หมดอยูแล่ ะ้วใน
ราคา Po
ความหมายของรายรับทั้งหมด(TR), รายรับเฉลีย่ ต่ อหน่ วย (AR) และ
รายรับหน่ วยสุ ดท้ าย (MR)
1. รายรับทั้งหมด (Total Revenue, TR) คือ จานวนเงินที่ลขู้ ายได้รับ
ทั้งหมดจากการขายสิ นค้า ก่อนหักค่าใช้จ่ายใดๆ
TR = PxQ ; P คือ ราคาสิ นค้าต่อหน่วย
Q คือ ปริ มาณสิ นค้าที่ขายได้ท้ งั หมด
2. รายรับเฉะี่ยต่อหน่วย (Average Revenue, AR) เนื่องจากการขายสิ น
สิ นค้าในแลต่ะะหน่วยจะขายได้ในราคาเดียวกันดังนั้น รายรับเฉะี่ยต่อ
หน่วยจึงมีค่าเท่ากับราคานั้น
AR = TR/Q ซึ่งในตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ = P
3. รายรับหน่ วยสุ ดท้ าย (Marginal Revenue : MR) คือ รายรับที่
เปะี่ยนแลปะงไป เนื่องจากมีการขายสิ นค้าเพิ่มขึ้นอีก 1 หน่วย ลูล้ ะิตแลต่
ะะรายจะขายสิ นค้าแลต่ะะหน่วยได้เพิ่มขึ้นในราคาที่เป็ นอยูใ่ นตะาด
รายรับที่เพิ่มขึ้นเมื่อขายสิ นค้าได้เพิ่มขึ้นแลต่ะะหน่วยจึงเท่ากับราคาของ
สิ นค้านั้น
MR = TR/ Q = P = AR
การคานวณรายรับ (Revenue) ในตะาดแลข่งขันสมบูรณ์
ตัวเะขสมมติของบริ ษทั ก ขายล้าไหมไทย (หน่วย: บาท)
P
Q
TR = PxQ
300
300
300
300
10
11
12
13
3000
3300
3600
3900
AR= TR/Q MR = TR / Q
300
300
300
300
300
300
300
จากตารางข้างต้น จะเห็นได้วา่ ในตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ เส้นอุปสงค์ มี
ราคาขายราคาเดียว (P) รายรับเฉะี่ยต่อหน่วย (AR) และะเส้นรายรับ
หน่วยสุ ดท้าย (MR) ะ้วนมีค่าเท่ากับ 300 ทั้ง 3 เส้น จึงเป็ นเส้น
เดียวกัน
ราคา
30
0
D = AR=MR=P
ปริมาณlสิ นค้ า
ดุะยภาพของหน่วยละิตในระยะสั้น
(The Firm’s Short-run Equilibrium Output)
ดุะยภาพของหน่วยละิตในระยะสั้น เป็ นการศึกษาถึงปริ มาณการละิตของหน่วย
ละิตว่าควรจะละิต ณ จุดใด จึงจะได้กาไรสูงสุ ด เนื่องจากในตะาดแลข่งขัน
สมบูรณ์ หน่วยละิตมีหน้าที่ยอมรับราคาที่กาหนดในตะาด การปรับตัวต่อความ
เคะื่อนไหวของตะาด หน่วยละิตจะทาได้โดยการปรับปริ มาณสิ นค้าที่เสนอขาย
อย่างเดียวเท่านั้น
ดังนั้น หน่วยละิตจะมองว่า ณ ระดับราคาหนึ่ง ๆ หน่วยละิตควรละิต
สิ นค้าจานวนเท่าไร จึงจะได้รับประโยชน์มากที่สุด และะอะไรเป็ นเครื่ องบ่งชี้วา่
หน่วยละิตได้มาถึงดุะยภาพในระยะสั้นเรี ยบร้อยและ้ว
ดุะยภาพระยะสั้นของหน่วยละิต พิจารณาออกได้เป็ น 3
กรณี
1. กาไรสู งสุ ด (Profit-maximizing Case) ใน
สภาวะการณ์ปกติ โดยแลยกเป็ น กาไรเกินปกติ และะกาไร
ปกติ
2. ขาดทุนน้ อยทีส่ ุ ด (Loss-minimizing Case)
ถ้าสถานการณ์ทางธุรกิจอยูใ่ นภาวะเะวร้าย
3. กรณีล้มเลิกกิจการ (Close-down Case) ดุะยภาพระยะ
สั้นจะเป็ นเครื่ องบ่งชี้วา่ ณ จุดใดธุรกิจควรจะะ้มเะิก
กิจการ
1. กรณี ได้กาไรสูงสุ ด
1.1 กาไรเกินปกติ
ดุะยภาพระยะสั้นของหน่วยละิตในตะาดทุกประเภท กาหนดที่จุด MC = MR แลต่
เนื่องจากในตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ค่า MR = P ดังนั้นดุะยภาพระยะสั้นของ
ตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ คือ MC = P ในกรณี ที่จุดตัดของเส้น MC กับ P อยูส่ ูงกว่า
ATC หน่วยละิตจะได้กาไรสูงราคา
สุ ด
ต้ นทุน
P = MC
P >ATC
ปริมาณสินค้ า
1.2 กรณี ได้กาไรปกติ
ดุะยภาพของหน่วยละิตจะเปะี่ยนแลปะงไป ถ้าราคาสิ นค้าะดะง หรื อ
ต้นทุนการละิตสูงขึ้น เมื่อใดก็ตามที่ราคาสิ นค้าะดะงเท่ากับต้นทุนเฉะี่ยต่อ
หน่วย (P=ATC) ณ จุดดุะยภาพของการละิต หมายความว่า หน่วยละิตอยูใ่ น
ดุะยภาพที่ได้รับกาไรปกติ (normal profit)
ราคา
ต้ นทุน
ปริมาณสินค้า
2. กรณีขาดทุนน้ อยทีส่ ุ ด
ถ้าราคาสิ นค้าะดะงต่ากว่าเส้น ATC หน่วยละิตจะประสบกับการขาดทุน แลต่
เป็ นการขาดทุนในต้นทุนคงที่ ดังนั้นนักเศรษฐศาสตร์ยงั คงแลนะนาให้ละิต
ต่อไป ตราบใดที่ราคายังคงอยูส่ ูงกว่าต้นทุนลันแลปรเฉะี่ย ( ATC>P>AVC)
แลสดงว่ารายรับที่ได้รับยังสามารถชดเชยต้นทุนคงที่ได้บางส่ วน โดยยังคงละิต
ที่จุด P=MC
ราคา
ต้ นทุน
ปริมาณสินค้า
3. กรณีล้มเลิกกิจการ
ถ้าราคาสิ นค้าในตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ะดะงเรื่ อยๆ จนกระทัง่ ต่ากว่าเส้น AVC
หมายถึง รายรับรวมที่ได้นอ้ ยกว่าต้นทุนลันแลปรเฉะี่ยธุรกิจควรจะเะิกกิจการ
P<AVC
Out of business
ราคา
ต้นทุน
ปริ มาณสิ นค้า
เส้นอุปทานของหน่วยละิตในตะาดแลข่งขันสมบูรณ์
เส้นอุปทานของหน่วยละิตในตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ ก็คือเส้น MC (เส้นต้นทุน
หน่วยสุ ดท้าย)
โดยเริ่ มต้นที่จุดตัดระหว่างเส้น MC กับเส้น AVC ขึ้นไปตาม
เส้น MC โดยที่ความสัมพันธ์ระหว่างราคา กับปริ มาณคือ เมื่อราคาสู งขึ้น ธุรกิจก็
มีความต้องการเสนอขายเพิม่ ขึ้น และะเมื่อรวมเส้น supply ของแลต่ะะธุรกิจ ก็จะ
เป็ นเส้น supply ของอุตสาหกรรม
ดุะยภาพของหน่วยละิตในระยะยาว
หัวใจสาคัญของการละิตในระยะยาวภายใต้ตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ คือ การเข้าออกของหน่วยธุรกิจในอุตสาหกรรม (Entry & Exit) โดยมีกาไรเกินปกติเป็ น
สิ่ งจูงใจให้หน่วยละิตนอกอุตสาหกรรมเข้ามาดาเนินกิจการแลข่งขันกันมากขึ้น
เมื่อมีการละิตสิ นค้ากันมากขึ้นทาให้เส้น Supply เคะื่อนย้ายออกไปทางขวา ราคา
ดุะยภาพในตะาดจะะดต่าะงเรื่ อยๆ จนกระทัง่ ต่ากว่า ATC และะหน่วยละิต
บางส่ วนก็จะเริ่ มมองหาหนทางใหม่ในการละิต จะเกิดการย้ายออกจาก
อุตสาหกรรมในบางส่ วน ทาให้เส้น Supply เคะื่อนมาทางซ้าย และะเกิดดุะยภาพ
ใหม่ในตะาด โดยที่ในระยะยาวดุะยภาพจะเกิดที่ P= ATC ซึ่งเป็ นจุดที่หน่วยละิต
จะได้รับกาไรปกติ
(normal profit) เท่านั้น
ตะาดแลข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect Markets)
ตะาดแลข่งขันไม่สมบูรณ์ เป็ นตะาดที่ขาดะักษณะของตะาด
แลข่งขันสมบูรณ์อย่างน้อยข้อใดข้อหนึ่ง นัน่ คือ
1. มีลขู ้ ายจานวนไม่มาก เนื่องมาจากมีการกีดกันทางการค้า
2. สิ นค้าทัว่ ไปมีะกั ษณะไม่เหมือนกันทุกประการ (Heterogeneous
Products) เช่น เครื่ องหมายการค้า และะการโฆษณา
3. ความรู ้ในเรื่ องความเคะื่อนไหวของตะาดไม่สมบูรณ์
4. การเข้าหรื อออกจากอุตสาหกรรมในความเป็ นจริ งทาได้ยาก
ตะาดแลข่งขันไม่สมบูรณ์ แลบ่งได้เป็ น 3 กะุ่ม
1. ตะาดที่มีลขู ้ ายคนเดียว (Monopoly) หรื อตะาดลูกขาด
สมบูรณ์
2. ตะาดลูข้ ายมาก (Monopolistic Competition) หรื อตะาดกึ่ง
แลข่งขันกึ่งลูกขาด
3. ตะาดลูข้ ายน้อย (Oligopoly)
ตะาดลูข้ ายคนเดียว (Pure Monopoly) มีะกั ษณะดังนี้
1. มีลขู ้ ายคนเดียว (Single seller) หมายถึง ในอุตสาหกรรมนี้มีลู ้
ลูกขาดรายเดียว
2. สิ นค้าที่ละิตทดแลทนกันไม่ได้ (no close substitute)
3. ลูข้ ายเป็ นลูก้ าหนดราคา
4. สามารถยับยั้งไม่ให้มีลขู ้ ายรายใหม่ เข้ามาแลข่งขันใน
อุตสาหกรรมของตนเป็ นอันขาด (blocked entry)
เส้นอุปสงค์ และะรายรับหน่วยสุ ดท้ายในตะาดลูกขาด
เส้นอุปสงค์ในตะาดลูกขาด
เนื่องจากลูล้ กู ขาดเป็ นเพียงลูเ้ ดียวที่ละิตสิ นค้าออกจาหน่าย
เส้นอุปสงค์ที่ลซู ้ ้ือมีต่อลูล้ กู ขาด จึงเป็ นเส้นเดียวกับเส้นอุปสงค์ที่ลซู ้ ้ือมีต่อ
อุตสาหกรรม ะักษณะของเส้นอุปสงค์ จะะาดะงจากซ้ายมาขวา เพราะถึงแลม้
ลูล้ กู ขาดจะมีอิทธิพะในการกาหนดราคาสิ นค้าในตะาดได้ แลต่กไ็ ม่สามารถ
ควบคุมปริ มาณการซื้อของลูบ้ ริ โภคได้ ปริ มาณขาย(ปริ มาณซื้อของ
ลูบ้ ริ โภค) จะเป็ นเท่าใดจะขึ้นอยูก่ บั อุปสงค์ที่เป็ นอยู่ แลต่ลลู ้ กู ขาดจะกาหนด
ปริ มาณขายก็ได้ ถ้าปะ่อยให้ราคาเป็ นไปตามสภาพอุปสงค์ที่เป็ นอยู่ ลูล้ กู ขาด
จะต้องเะือกที่จะกาหนดราคา หรื อปริ มาณ อย่างใดอย่างหนึ่ง แลต่จะไม่
สามารถกาหนดทั้งราคาและะปริ มาณขายพร้อมๆ กันได้
ความสัมพันธ์ของราคา (P) รายรับรวม(TR) รายรับ
เฉะี่ย (AR) และะรายรับหน่วยสุ ดท้าย(MR)
ในตะาด
ลูกขาด P
Q
TR
AR
MR
8
7
6
5
4
3
2
1
3
4
5
6
7
8
9
10
24
28
30
30
28
24
18
10
8
7
6
5
4
3
2
1
4
2
0
-2
-4
-6
-8
เส้นรายรับหน่วยสุ ดท้ายของลูล้ กู ขาด
เส้นอุปสงค์หรื อเส้น AR ของลูล้ กู ขาดเป็ นเส้นที่ะาดะงจากซ้ายมาขวา จะมีละทา
ให้รายรับหน่วยสุ ดท้ายไม่ใช่เส้นเดียวกับเส้นอุปสงค์ เนื่องจากในตะาดลูกขาด
การขายสิ นค้าเพิม่ ขึ้นของลูล้ กู ขาดจะเกิดขึ้นได้กต็ ่อเมื่อลูล้ กู ขาดะดราคาสิ นค้าให้
ต่าะง และะการะดราคาให้ต่าะงจะเกิดขึ้นกับทุกๆ หน่วยของสิ นค้าที่ขาย ไม่ใช่
เฉพาะหน่วยที่ขายเพิ่มขึ้นเท่านั้น ดังนั้น รายรับที่เพิ่มขึ้นเมื่อขายสิ นค้าเพิ่มขึ้น
หนึ่งหน่วย (MR) ของลูล้ กู ขาด จึงเท่ากับรายรับของสิ นค้าหน่วยนั้น (ซึ่งเท่ากับ P)
หักด้วยส่ วนของรายรับที่ะดะงของสิ นค้าหน่วยก่อนๆ ที่เคยขายได้ในราคาที่สูง
กว่าราคาในขณะนี้ ดังนั้น MR จึงมีค่าต่ากว่า P ดังรู ป
เส้น AR และะ MR ในตะาดลูกขาด
รายรับ
MR
เส้นอุปสงค์ต่อสิ นค้าของหน่วยละิต คือเส้น
อุปสงค์ต่อสิ นค้าของอุตสาหกรรมนัน่ เอง
และะค่ารายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) ที่ได้รับ
เมื่อขายสิ นค้าได้มากขึ้น จะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า
ราคาสิ นค้า (P>MR) ในการที่ลลู้ ะิตใน
D = AR อุตสาหกรรมลูกขาดต้องะดราคาเพื่อเพิ่ม
ปริ มาณการขายให้มากขึ้น ทาให้รายรับ
ปริมาณสิ นค้ า
ส่ วนที่เพิ่มขึ้น คือ MR มีมูะค่าต่ากว่าราคา
ส่ วนราคาและะรายรับเฉะี่ย ต่อหน่วย (AR)
มีค่า เท่ากัน
ดุะยภาพระยะสั้นของลูล้ กู ขาดสมบูรณ์
ดุลยภาพระยะสั้ นของผู้ผูกขาดคนเดียว
มีหะักในการพิจารณาดังนี้ให้การละิตอยูท่ ี่จุด MC = MR
ดุะยภาพระยะสั้น คือจุดการละิตที่ทาให้ได้กาไรเกินปกติ (super
normal profit) จากรู ป ดุะยภาพการละิตของลูล้ กู ขาดจะอยูท่ ี่
ปริ มาณสิ นค้า Q หน่วย ซึ่งเป็ นจุดที่ MR = MC ราคาขายคือ OP
มูะค่ากาไรเกินปกติคือ พื้นที่ PABC เพราะว่ารายรับทั้งหมดคือ
พื้นที่ PAQO และะต้นทุนทั้งหมด คือ CBQO หักะบกันได้กาไร
เกินปกติคือ พื้นที่ PABC
ดังนั้นจึงเห็นได้วา่ กิจการที่ลกู ขาดมีลขู ้ ายรายเดียว ไม่ได้มี
ความสามารถขึ้นราคาได้ตามใจชอบอย่างที่เข้าใจกันโดยทัว่ ไป
เพราะมีขอ้ จากัดมากมายนัน่ เอง
การวิเคราะห์ตะาดลูกขาดในระยะยาว
สิ่ งที่แลตกต่างกันอย่างชัดเจนระหว่างตะาดลูกขาด และะ
ตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ในระยะยาวก็คือ เรื่ องของ
การเข้ามาของหน่วยธุรกิจใหม่ๆ ในอุตสาหกรรม
เพราะการเข้ามาของธุรกิจใหม่ๆ จะถูกขัดขวางด้วย
เหตุละต่างๆ นาๆ แลต่ไม่ได้หมายความว่าในระยะ
ยาวลูล้ กู ขาดจะยังคงนโยบายการละิตไว้ตามเดิม
ในระยะยาวลูล้ กู ขาดมีโอกาสปรับขนาดการละิต
และะขนาดของโรงงานที่ใช้ให้เหมาะสมได้ตามที่
ต้องการ คือจะเปะี่ยนจากการละิตที่จุด
SMC = MR มาอยูท่ ี่จุด LMC = MRและะใน
ขณะเดียวกัน ลูล้ กู ขาดก็จะเะือกใช้โรงงานที่ให้
ต้นทุนต่อหน่วยที่ต่าสุ ด สาหรับปริ มาณการละิต
จากตารางจะเห็นได้วา่ MR ในทุกๆ ระดับราคาสิ นค้า มีค่าต่ากว่าราคา หรื อ
AR โดยตะอด ซึ่งอธิบายได้วา่ ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่ง เช่น เท่ากับ 8
บาท ลูล้ กู ขาดจะขายสิ นค้าได้ 3 หน่วย รายรับทั้งหมดเท่ากับ 24 บาท เมื่อลู ้
ลูกขาดต้องการขายสิ นค้าเพิม่ ขึ้นเป็ น 4 หน่วย จากะักษณะของเส้นอุปสงค์
ที่เป็ นอยู่ เขาจาเป็ นต้องะดราคาสิ นค้าะงมาเหะือเพียง 7 บาท การะดราคา
ดังกะ่าวไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในหน่วยที่ 4 หน่วยเดียวเท่านั้น แลต่ลลู ้ กู ขาด
จะต้องขายสิ นค้าทั้ง 4 หน่วยในราคา 7 บาท เท่ากันหมด
เขาจะได้รายรับเท่ากับ 28 บาท
เท่ากับว่าเขาจะขาดรายรับจาก 3 หน่วยแลรกไปหน่วยะะ 1 บาท รวมเป็ น
3 บาท ดังนั้น รายรับที่เพิม่ ขึ้นจริ งๆ จากการขายสิ นค้าหน่วยที่ 4 จึงเท่ากับ
รายรับของการขายสิ นค้าหน่วยที่ 4 ซึ่งเท่ากับ 7 หักด้วย 3 เท่ากับ 4 ซึ่ง
ต่ากว่า P ที่เท่ากับ 7 และะจะเป็ นเช่นนี้เสมอในทุกๆ ระดับของละละิต เส้น
MR จึงไม่ใช่เส้นเดียวกับเส้น AR แลต่จะอยูต่ ่ากว่า AR ดังรู ป
แลบบทดสอบ
1. ต้นทุนทางบัญชีแลตกต่างจากต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์อย่างไร จงอธิบาย
2. กฎการะดะงของละได้ (Law of Diminishing Returns) ใช้อธิบายเรื่ องใด
อธิบายพร้อมยกตัวอย่างและะวาดกราฟประกอบ
3. อธิบาย stage of production ในการละิตสิ นค้าในระยะสั้น พร้อมแลสดง
กราฟประกอบ
4. การวิเคราะห์ตน้ ทุนการละิตในระยะยาวเพื่อเหตุละใด และะทาไมจึงเกิด
Return to Scale และะ Economies of Scale และะ Diseconomies of Scale ขึ้น
5. จงอธิบายกาไรเกินปกติ และะกาไรปกติในตะาดแลข่งขันสมบูรณ์ ว่ามีความ
แลตกต่างกันอย่างไร และะกาไรในแลต่ะะแลบบจะเกิดขึ้นเมื่อใด อธิบายพร้อมทั้ง
วาดกราฟประกอบ
6. ตะาดลูกขาดมีะกั ษณะอย่างไร และะอานาจลูกขาดเกิดขึ้นอย่างไร ณ จุดใด
อธิบายพร้อมทั้งวาดกราฟประกอบ
ตะาดกึ่งแลข่งขันกึ่งลูกขาด
(Monopolistic Competition)
เป็ นตะาดที่มีสภาพคะ้ายคะึงกับความเป็ นจริ งมาก
ะักษณะของตะาดมีดงั นี้
1. มีลขู้ ายจานวนมาก
2.สิ นค้าแลตกต่างกันเะ็กน้อยแลต่ทดแลทนกันได้ ความ
แลตกต่างของสิ นค้าอาจเกิดจากตัวสิ นค้าเองหรื อการบรรจุ
หี บห่อ หรื อการโฆษณา
3. มีการเข้า-ออกจากตะาดได้อย่างเสรี
4.ลูข้ ายแลต่ะะคนไม่มีอิทธิพะต่อระดับราคาสินค้า
ะักษณะเส้นอุปสงค์ เส้นรายรับเฉะี่ย และะเส้นรายรับ
หน่วยสุ ดท้าย
- เส้นอุปสงค์ ะาดะงจากซ้ายไปขวาเป็ นการบ่ง
บอกว่าสิ นค้าของลูล้ ะิตแลต่ะะรายมีอานาจ
ลูกขาดในสิ นค้าของตนเองได้บา้ งหรื ออีกนัย
หนึ่งคือ การทดแลทนกันของสิ นค้าทดแลทนกัน
ได้แลต่ไม่สมบูรณ์ และะเส้นอุปสงค์เป็ นเส้น
เดียวกับเส้นรายรับเฉะี่ย (โดยทัว่ ไปเส้นอุปสงค์ในตะาดนี้เป็ นเส้นที่มีความยืดหยุน่
มากกว่าเส้นอุปสงค์ในตะาดลูกขาด แลต่มี
ยืดหยุน่ น้อยกว่าเส้นอุปสงค์ในตะาดแลข่งขัน
สมบูรณ์
- เส้น รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) หาได้ในทานองเดียวกับเส้น
MRในตะาดลูกขาดทุกประการ
***ตะาดชนิดนี้นิยมการโฆษณาและะการ
ส่ งเสริ มการขาย เพื่อเพิ่มอุปสงค์ เพราะถ้า
ประสบละสาเร็ จ อุปสงค์จะเพิม่ ขึ้นโดย
ไม่ตอ้ งะดราคา (เส้นอุปสงค์จะ Shift ขึ้นไป
ทางขวามือ จะทาให้ได้กาไรมากขึ้น หรื อขาดทุนน้อยะง
ถึงแลม้การโฆษณาจะทาให้ตน้ ทุนเพิ่มขึ้น เส้น Supply
จะ Shift ซ้ายจาก So เป็ น S1 แลต่ถา้ การโฆษณาทาให้เส้น
Demand Shift จาก Do เป็ น D1 จากกราฟ จะทาให้ราคา
สิ นค้า
ดุะยภาพระยะสั้นในตะาดกึ่งแลข่งขันกึ่งลูกขาด
มีหะักในการพิจารณา ดังนี้
จุดละิตที่ดีที่สุด อยูท่ ี่ MC=MR
และะการพิจารณากาไรจะพิจารณาต้นทุนเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
1. กาไร
- กาไรเกินปกติ
-กาไรปกติ
2. ขาดทุนน้อยที่สุด
3. การยกเะิกกิจการ
ดุะยภาพในระยะยาว
ในระยะยาวลูล้ ะิตในตะาดกึ่งแลข่งขันกึ่งลูกขาดจะได้รับกาไรปกติ ณ
ระดับการละิตที่ LMC =MR
(แลต่ในทางปฏิบตั ิลขู ้ ายในตะาดกึ่งแลข่งขันกึ่งลูกขาด อาจได้กาไรเกิน
ปกติได้แลม้เวะาล่านไปนานๆ ถ้าลูล้ ะิตสร้างให้บริ ษทั มีชื่อเสี ยงติด
ตะาดเป็ นเวะายาวนาน)
ตะาดลูข้ ายน้อยราย (Oligopoly)
มีลขู ้ ายประมาณ 3-4 บริ ษทั ที่ครอบครองสัดส่ วนการขายในตะาด
สาเหตุที่ทาให้เกิดตะาดลูข้ ายน้อยราย
1. การประหยัดจากขนาด
2. การกีดกันทางการค้า ทาให้ลลู ้ ะิตรายใหม่เข้าสู่ตะาดไม่ได้
3. การควบกิจการ
ลูล้ ะิตแลต่ะะรายมีความสัมพันธ์กนั การตัดสิ นใจของลูล้ ะิตรายหนึ่งจะ
กระทบต่อรายอื่นๆ เสมอ
ะักษณะของตะาดลูข้ ายน้อยรายที่ปรากฎออกมาจะมี 2 ะักษณะ
คือ
1. มีกลยุทธ์ ทางการตลาดต่ อกัน (Interrivalry) ตะาดลูข้ ายน้อย
รายจึงมีความลันลวนในเรื่ องของ ราคา ปริ มาณ และะละกาไร
2. มีความร่ วมมือกัน (Incentive to Form) เพื่อะดความลันลวน
ทางด้านราคา ปริ มาณการละิต และะกาไร หน่วยธุรกิจในตะาดจึง
ร่ วมมือกัน โดย
2.1 Cartel คือ การรวมตัวกันอย่างเป็ นทางการ เช่น
OPEC,
สมาคมธนาคารไทย
2.2 Collusion คือ การรวมตัวกันอย่างไม่เป็ นทางการ
หรื อ
เรี ยกว่า การฮั้วกัน
บัญชีรายได้และะละิตละของชาติ
(National Income and Product Accounts)
สมการผลิตผลของชาติเบื ้องต้ น (Basic GNP Identity)
บัญชีประชาชาติ ก็คือ บัญชีของชาตินนั่ เอง บัญชีประชาชาติเป็ นที่
รวบรวมตัวแปรรวม และตัวแปรย่อยที่สาคัญ เช่น รายจ่ายของผู้บริโภค
การลงทุนของภาคธุรกิจทังหมด
้
เป็ นต้ น บัญชีประชาชาติจงึ เป็ นเครื่ องมือ
วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจที่ผา่ นมาในอดีต และแนวโน้ มที่จะเกิดขึ ้นใน
อนาคต
ระบบบัญชีประชาชาติ แบ่งออกเป็ น 2 ส่วน คือ
1. บัญชีผลิตผลของชาติ (National Product Account)
2. บัญชีรายได้ ประชาชาติ (National Income Account)
บัญชีผลิตผลของชาติ เป็ นบัญชีที่รวบรวมข้อมูะเกี่ยวกับการ
หมุนเวียนของสิ นค้าและะบริ การ ซึ่งละิตขึ้นในช่วงเวะาหนึ่ง (ปกติใช้ 1 ปี
เป็ นเกณฑ์)
ส่ วนบัญชีรายได้ ประชาชาติ วัดรายได้ของประชาชน ที่ได้จาก
ละตอบแลทนจากการใช้ปัจจัยการละิตที่ตนเองมีกรรมสิ ทธิ์ในระยะเวะา
เดียวกัน ได้แลก่ ค่าตอบแลทนจากแลรงงงาน ดอกเบี้ยที่เจ้าของทุนได้รับ ค่าเช่า
ที่เจ้าของที่ดินได้รับ และะกาไรที่ลปู ้ ระกอบการได้รับ
ในทางทฤษฎี มูะค่าสิ นค้าและะบริ การทั้งหมด จึงเท่ากับมูะค่าของ
รายได้ประชาชาติ และะมูะค่าละิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) อาจ
แลยกพิจารณาได้เป็ น 3 ส่ วน โดยแลต่ะะส่ วนมีมูะค่าเท่ากัน เราจึงได้สมการ
ละิตละของชาติเบื้องต้น ดังนี้
C + I + G + (X – M) = GNP = C + S + T + R
จากสมการ
C + I + G + (X – M) = GNP = C + S + T + R
ทางด้านซ้ายของสมการวัดมูะค่า GNP ในด้านรายจ่าย ซึ่ง
C = รายจ่ายในการอุปโภคบริ โภค (Consumer Expenditures)
I = รายจ่ายเพื่อการะงทุนของภาคเอกชน (ได้แลก่ รายจ่ายทางธุรกิจ (เช่น การ
ตั้งโรงงาน การติดตั้งอุปกรณ์การละิต), มูะค่าสิ นค้าคงคะัง (inventories)
และะการก่อสร้างที่อยูอ่ าศัย
G = รายจ่ายซื้อสิ นค้าและะบริ การของภาครัฐบาะทุกระดับ
(X – M) = มูะค่าส่ งสิ นค้าออกสุ ทธิไปขายต่างประเทศ
จากสมการ
C + I + G + (X – M) = GNP = C + S + T + R
ในด้านขวามือของสมการ เป็ นการวัดละิตละของชาติในด้านรายได้
โดยพิจารณาว่า รายได้น้ นั ถูกใช้ไปในรู ปแลบบใดบ้าง
C = ใช้ไปในการอุปโภคและะบริ โภค (Consumer Expenditure)
S = ใช้ไปในการออมทั้งหมด ได้แลก่ การออมของลูบ้ ริ โภคและะการ
ออมของภาคธุรกิจรวมกัน การออมของธุรกิจอยูใ่ นรู ปของค่า
เสื่ อมราคา และะละกาไรที่เก็บสะสมไว้ (retained earnings)
T = ใช้ไปในการเสี ยภาษีอากรให้แลก่รัฐสุ ทธิ คือ มูะค่าภาษีอากรทั้งหมด
หักด้วยรายการเงินโอน ดอกเบี้ยรับจากรัฐบาะ เงินช่วยเหะือที่จ่าย
จากงบประมาณแลล่นดิน
R = เงินโอนของภาคเอกชนให้แลก่คนต่างประเทศ
แสดงการหมุนเวียนของผลิตผลและรายได้ เป็ นวงกลม
ค่ าใช้ จ่าย
ตลาดสิ นค้ าและบริการ
สิ นค้ าและบริการ
สิ นค้ าและบริการ
ครัวเรือน
ปัจจัยการผลิต
รายได้
หน่ วยธุรกิจ
ปัจจัยการผลิต
ตลาดปัจจัยการผลิต
ลักษณะการหมุนเวียนของผลิตผลและรายได้
(The Circular Flow of Product and Income)
หะักการทางานของระบบเศรษฐกิจอย่างง่าย แลสดงการหมุนเวียนของ
ละิตภัณฑ์และะรายได้ในเศรษฐกิจ 2 ภาค ได้แลก่ ภาคครัวเรื อน (Households)
และะภาคธุรกิจ (Firms)
จากรู ป การหมุนเวียนของเศรษฐกิจในช่ วงบนนั้นแลสดงตะาดละิตละ (Product
Markets) อันเป็ นตะาดซึ่งบุคคะในครัวเรื อนจ่ายเงินเพื่อซื้อสิ นค้าและะ
บริ การจากหน่วยธุรกิจ การหมุนเวียนของละิตละในช่วงบนนี้ เป็ นกระแลส
การไหะเวียนของการใช้จ่ายเพื่อซื้อสิ นค้าและะบริ การ
ส่ วนการไหลเวียนในส่ วนล่างแลสดงถึงตะาดปัจจัยการละิต (Factor
Markets) อันเป็ นตะาดซึ่งธุรกิจใช้จ่ายเงินเพื่อและกเปะี่ยนกับบริ การของ
ปัจจัยการละิตของสมาชิกในครัวเรื อน การวัดในส่ วนะ่างนี้เป็ นการวัด
รายได้ที่หมุนเวียนจากภาคธุรกิจไปยังภาคครัวเรื อน
สรุ ปก็คือ การวัดในส่ วนบนเป็ นข้อมูะรายจ่ายซื้อสิ นค้าและะบริ การในรอบ 1 ปี
ของครัวเรื อน ซึ่งในทางทฤษฎีจะมีมูะค่าเท่ากับละิตละของชาติเบื้องต้น
หรื อบางตาราเรี ยกว่า ละิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) และะการวัดใน
ส่ วนะ่างเป็ นข้อมูะรายได้ที่ครัวเรื อนได้รับจากภาคธุรกิจทั้งหมด แลต่ไม่วา่
เราจะใช้เกณฑ์ประเมินค่า GNP แลบบใด ค่าของ GNP จะต้องออกมาเท่ากัน
เสมอ นัน่ คือ
Total Expenditure = GNP = Total Income
ดังนั้น บัญชีประชาชาติ ก็คือ บัญชีของชาติ ซึ่งมีขอ้ มูะเกี่ยวกับ
1) มูลค่าสินค้ าและบริการที่ประชาชนทุกคนช่วยกันผลิตในรอบปี ที่
ผ่านมา เรี ยกว่า ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (national product)
2. รายได้ ที่ประชาชนทุกคนได้ รับในรอบปี ที่ผา่ นมา เรี ยกว่า รายได้
ประชาชาติ (national income)
3 รายจ่ายที่ประชาชนทุกคนได้ จ่ายออกไปในรอบปี ที่ผ่านมา เรี ยกว่า
รายจ่ายประชาชาติ (national expenditure)
ซึง่ ทัง้ 3 ด้ านนี ้ เมื่อวัดออกมาแล้ วจะต้ องมีคา่ เท่ากัน
วิธีคานวณบัญชีประชาชาติ มี 3
วิธี คือ
1. คานวณในด้านการละิต
2. คานวณในด้านรายจ่าย
3. คานวณในด้านรายได้
ซึ่งการคานวณทั้ง 3 ด้านนี้ จะต้องเท่ากัน
โดยกองบัญชีประชาชาติ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ
และะสังคมแลห่งชาติ (สศช.) มีหน้าที่จดั ทาสถิติต่างๆ ตามระบบบัญชี
ประชาชาติ เริ่ มตั้งแลต่ปี 2493 เป็ นต้นมา
1. การคานวณด้ านผลผลิต
วิธีน้ ีได้แลก่ การหาละรวมมูะค่าของสิ นค้าและะบริ การขั้นสุ ดท้ายที่
ประเทศละิตขึ้นได้ในระยะเวะา 1 ปี การหามูะค่าด้านละละิตแลบ่งออกเป็ น 2
วิธียอ่ ย คือ
1) คิดเฉพาะมูลค่ าของสิ นค้ าและบริการขั้นสุ ดท้ าย (final goods and services)
รวมทั้งส่ วนเปะี่ยนสิ นค้าคงเหะือด้วย ซึ่งถือว่าเป็ นสิ นค้าขั้นสุ ดท้าย
2) คิดแบบมูลค่ าเพิม่ (Value added method) วิธีน้ ีคิดขึ้นมาเพื่อขจัดปัญหาการ
นับซ้ า (double counting) การคานวณตามวิธีมูะค่าสิ นค้าและะบริ การขั้นสุ ดท้ายจะ
เกิดปัญหาการนับซ้ าได้ง่าย เพราะอาจมีการนามูะค่าของสิ นค้าขั้นกะาง
(intermediate goods) รวมไว้ในรายได้ประชาชาติดว้ ย ทาให้มูะค่าของละละิตสูง
กว่าความเป็ นจริ ง ด้วยเหตุน้ ีการคานวณในด้ านผลผลิต นักเศรษฐศาสตร์ จึงนิยม
ใช้ วธิ ีรวมมูลค่ าเพิม่
การคานวณรายได้โดยวิธีรวมมูะค่าเพิ่ม
ขั้นการละิต มูะค่าขาย มูะค่าสิ นค้าขั้นกะาง
ข้าวสาะี
แป้ง
ขนมปั ง
รวม
4
6
20
30
0
4
6
10
มูะค่าเพิม่
4
2
14
20
(20 =มูะค่าละละิต)
2. วิธีการคานวณด้านรายจ่าย
วิธีน้ ีคานวณจากรายจ่ายทั้งสิ้ นที่นามาซื้อสิ นค้าและะบริ การของระยะเวะาเดียวกัน
ซึ่งแลยกออกเป็ น 4 ประเภท คือ
1) รายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริ โภคของภาคเอกชน (C)
2) รายจ่ายเพื่อการะงทุนของภาคเอกชนและะรัฐบาะ (I)
3) รายจ่ายเพื่อซื้อสิ นค้าและะบริ การภาครัฐบาะ (G)
4) การส่ งออกสุ ทธิ (X-M)
การคานวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่ายนี้มีค่าเท่ากับละรวมของการใช้จ่าย
ของบุคคะทั้ง 4 กะุ่ม ซึ่งเขียนออกมาเป็ นสมการได้ดงั นี้
GNP = C + I + G + (X-M)
การคานวณรายได้ประชาชาติจากด้านรายจ่าย
รายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของภาคเอกชน
รายจ่ายเพื่อการะงทุน
รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าและะบริการภาครัฐบาะ
การส่งออกสุทธิ
GNP
หัก ค่าเสื่อมราคา
NNP
หัก ภาษีทางอ้อมธุรกิจ
NI
(หน่วย : ะ้านบาท)
267.2
65.9
80.2
1.4
414.7
34.3
380.4
36.8
343.6
3. การคานวณด้านรายได้
การคานวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายได้ เป็ นการคานวณรายได้รวม
ทั้งหมดซึ่งเจ้าของปัจจัยการละิตได้รับจากการขายหรื อการให้บริ การปัจจัย
การละิตเหะ่านั้น แลก่หน่วยธุรกิจต่าง ๆ เพื่อการละิตสิ นค้าและะบริ การ ได้แลก่
-ค่ าจ้ าง หมายถึง ค่าตอบแลทนการใช้ทรัพยากรแลรงงาน ซึ่งอาจจะอยูใ่ นรู ป
ของเงินเดือน รวมถึงที่อยูใ่ นรู ปอื่นๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาะ บาเหน็จ เป็ นต้น --ค่ าเช่ า หมายถึง ค่าตอบแลทนการใช้ปัจจัยที่ดินในการละิต
- ดอกเบีย้ หมายถึง ละตอบแลทนจากการใช้ทุน ทุนในทางเศรษฐศาสตร์กค็ ือ
สิ นค้าทุน ได้แลก่ เครื่ องจักร อุปกรณ์การละิตต่างๆ เป็ นต้น (เนื่องจาก
ละตอบแลทนจากการใช้ทุนเป็ นสิ่ งที่วดั ได้ยาก ดังนั้นจึงใช้ละตอบแลทนจาก
การใช้เงินทุนเป็ นตัววัด )
- กาไร หมายถึง ละตอบแลทนจากการประกอบการของลูป้ ระกอบการ
เมื่อรวมรายได้ ประเภทต่ างๆ เข้ าด้ วยกันแล้ว จะได้ เป็ นรายได้ ประชาชาติ
NI = ค่ าจ้ าง + ค่ าเช่ า + ดอกเบีย้ + กาไร
การคานวณรายได้ ประชาชาติ (National Income) ทั้ง 3 วิธี มี
หลักการสาคัญอย่ างหนึ่ง คือ จะต้ องรวมเฉพาะรายได้ หรือผลตอบแทนจาก
ปัจจัยการผลิตทีม่ ีส่วนช่ วยให้ การผลิตสิ นค้ าและบริการเพิม่ ขึน้
ดังนั้น จึงไม่รวมเงินได้ที่ได้รับมาเปะ่าๆ โดยไม่มีส่วนทาให้ละละิต
เพิม่ ขึ้น เงินที่ได้มาเปะ่าๆ ถือเป็ นการโอนอานาจซื้อ (purchasing power) จาก
บุคคะหนึ่งไปยังบุคคะหนึ่ง เงินได้ประเภทนี้ ได้แลก่ เงินโอน (transfer
payment) ซึ่งมีท้ งั เงินโอนรัฐบาะ เช่น เงินสงเคราะห์ทหารล่านศึก เงิน
บาเหน็จบานาญ เงินประกันสังคม เป็ นต้น และะเงินโอนเอกชน เช่น เงิน
บริ จาคการกุศะ เงินถูกะอตเตอรี่ การได้รับมรดก การชนะการพนัน เป็ นต้น
(เงินโอนต่างๆ เหะ่านี้จะรวมอยูใ่ นบัญชีประชาชาติ ในส่ วนที่เป็ นรายได้ส่วน
บุคคะ PI)
บัญชีประชาชาติ มีด้วยกัน 8 แบบ ดังนี ้
1. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product, GDP) คือ มูลค่าของ
สินค้ าและบริ การขันสุ
้ ดท้ ายที่ผลิตขึ ้นได้ ใหม่ด้วยปั จจัยการผลิตที่อยูภ่ ายในประเทศ
สินค้ าและบริ การใดก็ตามที่ผลิตขึ ้นภายในประเทศใด ก็นบั เป็ นผลผลิต
ภายในประเทศนัน้ โดยไม่คานึงว่าทรัพยากรที่นามาผลิตสินค้ านันเป็
้ นกรรมสิทธิ์ของ
ชนชาติใด พลเมืองของประเทศนันหรื
้ อชาวต่างชาติ
2. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติิ (Gross National Product : GNP)
หมายถึง มูลค่าของสินค้ าและบริ การขันสุ
้ ดท้ ายทังหมดที
้
่ผลิตขึ ้นใหม่ ด้ วย
ปั จจัยการผลิตที่ถือกรรมสิทธ์โดยประชาชนของประเทศนัน้ ภายในระยะเวลา 1 ปี
เช่น GNP ของประเทศไทย ก็คือ สินค้ าและบริ การทุกชนิดที่ผลิตขึ ้นโดยประชาชนไทย
และทรัพยากรของประชาชนไทย ทังที
้ ่ผลิตขึ ้นภายในและภายนอกประเทศ คูณด้ วย
ราคาของสินค้ าและบริ การนัน(
้ ซึง่ เป็ นราคาตลาด)
** ชาวต่างชาติที่นาปั จจัยการผลิต (ได้ แก่ ผู้ประกอบการ เงินทุน และแรงงาน
ผลตอบแทนได้ แก่ กาไร ดอกเบี ้ย และเงินเดือน) เข้ ามาตังโรงงานผลิ
้
ตสินค้ าใน
ประเทศไทย หรื อมีกรรมสิทธ์ในปั จจัยการผลิตในไทย ผลผลิตที่ได้ จะไม่รวมอยูใ่ น GNP
ของไทย (แต่รวมอยูใ่ น GDP ของไทย) ในทางตรงข้ ามคนไทยนาปั จจัยการผลิตที่ตน
เป็ นเจ้ าของออกไปผลิตสินค้ าในต่างประเทศ หรื อมีกรรมสิทธ์ในปั จจัยการผลิตใน
ต่างประเทศ ผลผลิตที่ได้ จะรวมอยูใ่ น GNP ของประเทศไทย
ฉะนัน้ GNP จะเท่ากับ GDP ก็ตอ่ เมื่อไม่มีการเคลื่อนย้ ายปั จจัยการผลิตระหว่าง
ประเทศ แต่ถ้ามีการเคลื่อนย้ ายปั จจัยการผลิตระหว่างประเทศแล้ ว ส่วนต่างระหว่าง
GDP กับ GNP จะเท่ากับส่วนต่างระหว่างผลตอบแทนปั จจัยการผลิตของไทยใน
ต่างประเทศ และผลตอบแทนปั จจัยการผลิตของชาวต่างชาติในไทย ซึง่ เรี ยกว่า รายได้
สุทธิของปั จจัยการผลิตจากต่ างประเทศ (net factor income from abroad)
= ผลตอบแทนปั จจัยการผลิตของไทยในต่างประเทศที่สง่ กลับมา - ผลตอบแทนของ
ปั จจัยการผลิตของชาวต่างชาติในไทยที่สง่ กลับไปต่างประเทศ
รายได้ สุทธิของปั จจัยการผลิตจากต่ างประเทศ (net factor income
from abroad)
= ผลตอบแทนปั จจัยการผลิตของไทยในต่างประเทศที่สง่ กลับมา ผลตอบแทนของปั จจัยการผลิตของชาวต่างชาติในไทยที่สง่ ออกไป
ต่างประเทศ
ซึง่ รายได้ สทุ ธิของปั จจัยการผลิตต่างประเทศอาจเป็ นบวกหรื อเป็ นลบก็ได้
ถ้ าเป็ นบวก หมายถึงผลตอบแทนที่นาเข้ าในประเทศมากกว่า
ผลตอบแทนที่สง่ ออก
ถ้ าเป็ นลบ หมายถึง ผลตอบแทนที่สง่ ออกนอกประเทศ
มากกว่าผลตอบแทนที่นาเข้ าในประเทศ
เขียนเป็ นสมการได้ ดงั นี ้
GNP = GDP+ รายได้ สุทธิของปั จจัยการผลิตต่ างประเทศ
3. ผลิตภัณฑ์ ในประเทศสุทธิิ (NDP) คือผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หักด้ วยค่า
เสื่อมราคา (depreciation or capital consumption allowance)
NDP = GDP - Depreciation
4. ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติสุทธิ (Net National Product , NNP) คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ประชาชาติ หักด้ วย ค่าเสื่อมราคา (depreciation or capital consumption allowance)
NNP = GNP - Depreciation
การหา NNP และ NDP เป็ นแนวคิดทางเชิงทฤษฎี เนื่องจากการหาค่าเสื่อม
ราคาที่ถกู ต้ องตรงกับความเป็ นจริ งของระบบเศรษฐกิจทังหมดท
้
าได้ ยาก นัก
เศรษฐศาสตร์ จงึ นิยมใช้ GNP และ GDP มากกว่า NNP และ NDP เพราะถือว่าในแง่
สถิติ GNP และ GDP มีความถูกต้ องมากกว่า
5. รายได้ ประชาชาติ (National Income, NI) หมายถึง รายได้ ที่เกิดขึ ้นจริ ง
จากการผลิต
NI และ NNP มีความหมายใกล้ เคียงกันมาก กล่าวคือ
ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติสุทธิ (NNP) เป็ นการพิจารณารายได้ ตามราคา
ตลาด (NNP at market prices)
ส่ วนรายได้ ประชาชาติ (NI) เป็ นการพิจารณารายได้ ตามราคาปั จจัย
การผลิต (NNP at factor costs)
(* ราคาปั จจัยการผลิต (factor costs ) หมายถึง ค่ าใช้ จ่ายที่จ่ายให้ ปัจจัย
การผลิต ได้ แก่ ค่ าจ้ าง ค่ าเช่ า ดอกเบีย้ และกาไร ส่ วนราคาตลาด
(market prices) เป็ นราคาปั จจัยการผลิตบวกด้ วยภาษีทางอ้ อมธุรกิจ
(indirect business tax) )
NI = NNP – ภาษี ทางอ้ อมธุรกิจ
(กรณีไม่มีการเก็บภาษี ทางอ้ อมธุรกิจ NI = NNP)
NI = GNP – ค่ าเสื่อมราคา – ภาษีทางอ้ อมธุรกิจ
6. รายได้ ส่วนบุคคล (Personal Income , PI) คือ รายได้ ทงั ้ หมดก่ อนหัก
ภาษี รายได้ สว่ นบุคคลยังรวมรายได้ ที่รับมาเปล่าๆ เช่น เงินโอนต่างๆ (เงิน
โอนต่างๆ ได้ แก่ เงินโอนรัฐบาลและเงินโอนเอกชน ซึง่ เงินโอนรัฐบาล เช่น
เงินสงเคราะห์ทหารผ่านศึก เงินบาเหน็จบานาญ เงินประกันสังคม เป็ นต้ น
เงินโอนเอกชน เช่น เงินบริจาคการกุศล เงินถูกลอตเตอรี่ การได้ รับมรดก
การชนะการพนัน เป็ นต้ น)
รายได้ สว่ นบุคคลแตกต่างจากรายได้ ประชาชาติ (NI) คือ รายได้
ประชาชาติเป็ นสิง่ ซึง่ ไม่จาเป็ นต้ องเป็ นรายได้ สว่ นบุคคลทัง้ หมด เพราะแม้
รายได้ จะเกิดขึ ้นแล้ วก็ตาม แต่ถ้าหน่วยผลิตไม่จ่ายรายได้ สว่ นนันให้
้ แก่
ครัวเรื อน ก็ไม่ถือเป็ นรายได้ สว่ นบุคคล
7. รายได้ ส่วนบุคคลสุทธิ (Disposable Personal Income , DPI) หรื อ
รายได้ พงึ ใช้ จ่ายได้ คือ รายได้ ของบุคคลที่สามาถนาไปใช้ จ่ายได้
เป็ นรายได้ ที่แสดงถึงอานาจซื ้อ (Purchasing power) ที่แท้ จริงของ
ประชาชน ที่สามารถใช้ จ่ายหรื อเก็บออมได้
รายได้ สว่ นบุคคลสุทธิ (DPI) = รายได้ สว่ นบุคคล (PI) – ภาษี เงิน
ได้ บคุ คลธรรมดา
8. รายได้ เฉลี่ยต่ อบุคคล (per capita income) รายได้ เฉลี่ยต่อบุคคล คานวณ
จากผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ(GNP) หรื อรายได้ ประชาชาติ (NI) หรื อรายได้
ส่วนบุคคล (PI) หารด้ วยจานวนประชากร
รายได้ เฉลี่ยต่อบุคคล = ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ปี ที่ n
จานวนประชากรปี ที่ n
ความสาคัญและะประโยชน์ของบัญชีประชาชาติ
บัญชีประชาชาติเป็ นข้อมูะสถิติที่จดั ทาขึ้นโดยอาศัยแลนวคิดและะทฤษฎีทาง
เศรษฐศาสตร์มหภาค ที่สามารถพิสูจน์และะทดสอบกับความเป็ นจริ งได้ อีกทั้ง
เป็ นข้อมูะสถิติที่มีระบบมาตรฐานในการจาแลนกรายการและะการคานวณ บัญชี
รายได้ประชาชาติที่ประเทศต่างๆ จัดทาขึ้น จึงสามารถใช้เปรี ยบเทียบกันได้
และะใช้ประโยชน์ในการตัดสิ นใจต่างๆ ในทางเศรษฐกิจและะสังคม
สรุ ปประโยชน์ของบัญชีประชาชาติดงั นี้
1. รายงานภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อให้ทราบว่าการพัฒนาประเทศใน
ระยะที่ลา่ นมาจนถึงปัจจุบนั มีสถานการณ์อย่างไร
2. เป็ นแลนวทางในการวางแลลนส่ วนรวมของประเทศ เพื่อกาหนดเป้ าหมายของ
แลลนพัฒนาเศรษฐกิจและะสังคมว่า จะเพิ่มขึ้นในอัตราเท่าไรจึงจะเหมาะสม
3. ใช้ประกอบการปรับปรุ งแลลนงานและะโครงการต่างๆ เพื่อให้บรระุ
เป้ าหมายที่วางไว้ โดยการวิเคราะห์เฉพาะเรื่ อง เช่น การใช้จ่ายของรัฐบาะ
รายได้จากภาษีอากร การออม และะการะงทุน เป็ นต้น
4. วิเคราะห์ความแลตกต่างของรายได้ระหว่างสาขาการละิต ทั้งใน
ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และะจังหวัด หรื อระหว่างกะุ่มอาชีพ เช่น ระหว่าง
ะูกจ้างกับลูป้ ระกอบการอิสระ เพื่อประกอบการวางแลลนการละิตของประเทศ
ตะอดจนะดช่องว่างของรายได้ของประชาชนในภูมิภาคต่างๆ เป็ นต้น
5. ใช้เปรี ยบเทียบรายได้ของคนไทยกับคนต่างประเทศ เพื่อวัดระดับการ
พัฒนา โดยใช้ขอ้ มูะละิตภัณฑ์มวะรวมประชาชาติต่อบุคคะ (GNP per
Capita)
6. การวางแลลนการละิต การจาหน่าย ในภาคเอกชน
ข้ อพึงระวังในการใช้ บัญชีประชาชาติเพือ่ การวิเคราะห์ ภาวะเศรษฐกิจ
บัญชีประชาชาติเป็ นเครื่ องมือวัดที่มีประโยชน์อย่างยิง่ และะสามารถใช้วดั
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างถูกต้องพอสมควร แลต่กไ็ ม่ใช่
เครื่ องมือวัดสวัดิการทางเศรษฐกิจที่สมบูรณ์ (economic wesfare) เนื่องจากมี
จุดบกพร่ องดังนี้
1. รายได้ประชาชาติไม่ได้รวมสิ นค้าและะบริ การขั้นสุ ดท้ายที่ละิตได้ท้ งั หมด
แลท้จริ ง เฉพาะสิ นค้าและะบริ การที่ลา่ นตะาดเท่านั้นที่จะปรากฎอยูใ่ นรายได้
ประชาชาติ แลต่ยงั คงมีสินค้าและะบริ การอีกมากมายที่ไม่ได้ลา่ นตะาด จึงไม่ได้
รวมอยูใ่ นรายได้ประชาชาติ เช่น การทางานบ้านของแลม่บา้ น การเพาะปะูก
เพื่อบริ โภคเอง การสร้างที่อยูอ่ าศัยเอง เป็ นต้น
2. รายได้ประชาชาติไม่ได้คานึงถึงการพักล่อนหย่อนใจ
3. รายได้ประชาชาติวดั ปริ มาณของสิ นค้าและะบริ การแลต่ไม่ได้วดั คุณภาพ
ของสิ นค้า
4. รายได้ประชาชาติไม่สามารถแลสดงให้เห็นถึงส่ วนประกอบของละละิต
สวัสดิการทางเศรษฐกิจอาจเพิม่ ขึ้น เนื่องจากส่ วนประกอบของละละิต
เปะี่ยนแลปะงทั้งที่ละละิตคงเดิม
5. รายได้ประชาชาติไม่แลสดงให้เห็นการกระจายรายได้ระหว่างบุคคะ
6. รายได้ประชาชาติไม่คานึงถึงค่าเสี ยหายที่การละิตก่อให้เกิดแลก่สงั คม
สรุป การอ้างอิงตัวเะขทางสถิติบญั ชีรายได้ประชาชาติ
จะต้องใช้ดุะยพินิจโดยรอบคอบ เนื่องจากวิธีการคานวณ
รายได้ประชาชาติยงั มีขอ้ จากัด
รายได้ ประชาชาติท่ เี ป็ นตัวเงินและรายได้ ประชาชาติแท้ จริง
รายได้ ที่คานวณโดยวิธีที่กล่าวมาแล้ ว เป็ นรายได้ ในรูปตัวเงิน
(money GNP) หรื อผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติตามราคาปั จจุบนั หรื อ
ราคาตลาด (GNP at current or market prices) ทังนี
้ ้เพราะคานวณจาก
ราคาปั จจุบนั นัน่ คือ รายได้ ของปี ใดก็คานวณจากราคาในปี นัน้ การใช้ ราคา
ปั จจุบนั มีข้อเสียคือ ราคาสินค้ าแต่ละปี ไม่เท่ากัน บางปี สูงบางปี ต่า
ดังนัน้ จึงไม่สามารถบอกให้ ทราบได้ วา่ ในแต่ละปี ผลผลิตที่แท้ จริง
ของประเทศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรและเท่าไร การแก้ ปัญหานี ้คือ การ
ปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติตามราคาปั จจุบนั ให้ เป็ น
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติตามราคาคงที่ โดยใช้ ดชั นีราคา (price index)
ดัชนีราคาที่นิยมใช้ ในการปรับ คือ ดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
(GDP deflator) ซึง่ มีสตู รดังนี ้
ดัชนีผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ
GDP deflator
= GDP ตามราคาปี ปั จจุบนั x 100
GDP ตามราคาปี ฐาน
สาหรับการปรับผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติตามราคาปั จจุบนั ให้ เป็ นราคา
คงที่ มีสตู ร ดังนี ้
real GNP ปี ที่ n = money GNP ปี ที่ n x 100
GDP deflator
ยกตัวอย่าง กาหนดให้ money GNP ในปี 2535 มีมลู ค่า 1,500 ล้ าน
บาท ดัชนีราคาของปี 2535 เท่ากับ 150 จงหา real GNP
real GNP 2535 = money GNP 2535 x 100
GDP deflator 2535
= 1,500 x100
150
= 1,000 ล้ านบาท
อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
แสดงถึงความสามารถในการผลิตของระบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไปนัน้ แสดงได้
ด้ วยอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth Rate : G)
หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์ประชาชาติที่แท้ จริง โดยอาจจะ
แสดงด้ วยอัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่
แท้ จริง หรื ออัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติที่แท้ จริง
ระหว่างปี ต่างๆ ซึง่ แสดงความสัมพันธ์ได้ ดงั นี ้
อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่แท้ จริง
G = real GDP ปี ที่ n - real GDP ปี ที่ n-1 x100
Real GDP ปี ที่ n-1
หรื อ อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติที่แท้ จริง
G = real GNP ปี ที่ n - real GNP ปี ที่ n-1 x100
Real GNP ปี ที่ n-1
ตัวอย่ าง ผลิตภัณมวลรวมภายในประเทศที่แท้ จริง ในปี พ.ศ. 2538
เท่ากับ 3,959,000 ล้ านบาท และในปี พ.ศ 2539 เท่ากับ 4,106,000
ล้ านบาท อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจภายในประเทศเป็ น
เท่าใด
อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
= 4,106,000 – 3,959,000 x 100
3,959,000
= 3.71
เป้าหมายของนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
1. ความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic growth)
2. ภาวการณ์มีงานทาเต็มที่ (full employment)
3. เสถียรภาพของราคา (price stability)
4. ดุะการชาระเงินและะอัตราและกเปะี่ยนที่ไม่ข้ ึนเร็ วะงเร็ ว
จนเกินไป
เป้ าหมายทางเศรษฐกิจเหะ่านี้เป็ นเป้ าหมายมาตรฐาน
ซึ่งจะพบทัว่ ไปในแลลนพัฒนาเศรษฐกิจและะสังคมแลห่งชาติทุก
ฉบับ และะเป้ าหมายเหะ่านี้จะต้องสอดคะ้องกัน มิฉะนั้น
เป้ าหมายทางเศรษฐกิจจะไม่สามารถบรระุได้
การให้ ประชาชนกินดีอยู่ดี หมายความว่า ประชาชนมีสนิ ค้ าและ
บริการนามาอุปโภคบริโภคอย่างพอเพียง ไม่อตั คัดขัดสน ราคาสินค้ าไม่สงู
จนเกินรายได้ ที่มี ซึง่ การที่จะบรรลุเป้าหมายนี ้ได้ นนั ้ รัฐบาลจะต้ องมี
มาตรการทางเศรษฐกิจสนับสนุนให้ มีการผลิตสินค้ าและบริการให้ พอเพียง
แก่ความต้ องการของประชาชน ในเวลาเดียวกันก็ต้องพยายามควบคุมไม่ให้
ราคาสินค้ าสูงจนเกินไป ดังนัน้ นโยบยายให้ ประชาชนกินดีอยูด่ ี คือ
นโยบายเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) หรื อนโยบายเพิ่ม
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) นัน่ เอง
ค่าเฉลี่ยมูลค่าสินค้ าและบริ การต่อประชากร 1 คน จึงเป็ นดัชนีวดั
มาตรฐานการครองชีพ (standard of living) ของประชากรในประเทศได้ วิธีการ
คานวณ GNP ต่อประชากร 1 คน ทาได้ โดยการนามูลค่า GNP หรื อ GDP มาหาร
ด้ วยจานวนประชากรของประเทศนัน้ ก็จะได้ คา่ เฉลี่ยของ GNP หรื อ GDP ต่อ
ประชากร 1 คน ตามตาราง
เพื่อให้ ประชาชนส่ วนใหญ่ มีงานทา เป็ นเป้าหมายที่สาคัญพอๆ กับ
เป้าหมายแรก โดยรัฐบาลจาเป็ นที่จะต้ องทาให้ ประชาชนส่วนใหญ่มีงานทาควบคู่
ไปกับการส่งเสริ มการผลิตสินค้ าและบริ การ มิฉะนันจะถื
้ อว่ารัฐบาลไม่มี
ประสิทธิภาพ และมักมีผลกระทบต่อรัฐบาลในทางการเมืองเสมอ ตามทฤษฏีการ
จ้ างงานในอดีตเชื่อว่า การผลิตสินค้ าและบริ การในระบบเศรษฐกิจทาให้ คนมีงาน
ทามากขึ ้น หมายความว่า ยิ่งมีการผลิตสินค้ าและบริ การมากขึ ้นเพียงใด ก็ยิ่งมี
ตาแหน่งงานรองรับคนงานเพิ่มมากขึ ้น จึงเป็ นผลทาให้ ประชากรในวัยทางานมีงาน
ทาเสมอ แต่เมื่อเกิดการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมในศตวรรษที่ 20 ปรากฎว่า การผลิต
สินค้ าและบริ การที่เน้ นการแบ่งงานกันทา (Division of labour) ทาให้ คนว่างงาน
เป็ นจานวนมากและสินค้ าที่ผลิตออกมาก็ขายไม่ได้ ทาให้ เกิดสินค้ าล้ นตลาด ดังนัน้
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ระยะหลังจึงเชื่อว่า การมีงานทามากขึ ้นน่าจะมีผลมาจาก
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ตอ่ สินค้ าและบริ การในตลาด มากกว่าจะเป็ นผลจาก
การเปลี่ยนแปลงในด้ านการผลิตหรื อในด้ านอุปทาน