บทที่ 4 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง
Download
Report
Transcript บทที่ 4 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง
… บทที่ 4 …
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสู ง
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หาร
Management Information Systems for Administration
2552007 Management Information Systems for Administration
ระดับการบริหารและสารสนเทศที่จาเป็ น
EIS
MIS/GIS
ผู้บริหาร
ระดับวางแผน
กลยุทธ์ (CEO)
DSS
ผู้บริหารระดับวางแผน
การบริหารกลยุทธ์
TPS
ผู้บริหารระดับวางแผนปฏิบัตกิ ารบริหาร
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสู ง
หรือ ความชาญฉลาดเชิงธุรกิจ
Executive Information Systems-EIS
Executive Support Systems-ESS
เป็ นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ DSS ที่สนับสนุน
การทางานของผูบ้ ริ หารระดับสูง
จะจัดหาข้อมูลที่จาเป็ นสาหรับผูบ้ ริ หารในเวลารวดเร็ ว
มีรูปแบบที่ใช้งานง่าย
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสู ง
• เป็ นระบบสารสนเทศที่มีพ้นื ฐานการทางานด้วยคอมพิวเตอร์
• ช่วยให้ผบู ้ ริ หารสามารถเข้าถึง รวบรวม วิเคราะห์และประมวลผล
สารสนเทศทั้งภายในและภายนอกได้สะดวกและรวดเร็ ว
• เช่น งานกาหนดนโยบาย การวางแผนและจัดตั้งงบประมาณ
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสู ง
ความสามารถทัว่ ไปของ EIS
ความสามารถในการเจาะข้อมูล (Drill down)
การเข้าถึงดาต้าแวร์เฮาส์ (Data Warehouse)
ปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็ จ
การใช้โมเดลในการวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend analysis)
การขอเรี ยกดูขอ้ มูลแบบเฉพาะเจาะจง (An-hoc Analysis)
ความสามารถในการเจาะข้ อมูล (Drill down)
เป็ นเครื่ องมือที่ผบู ้ ริ หารสามารถดูรายละเอียดของข้อมูลที่ตอ้ งการได้
เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยดูขอ้ มูลเป็ นลาดับชั้น ดูขอ้ มูลจากระดับบน
แล้วค่อย ๆ ซอยย่อยเจาะลึกลงไปในระดับล่าง
เช่น เมื่อดูสรุปยอดขาย หากสงสั ยว่ าทาไมยอดขายในภาค
นั้นมีปัญหา ก็ต้องเข้ าไปดูรายละเอียดเพิม่ เติม ในส่ วน
ของสิ นค้ า พนักงาน ข้ อมูลต่ าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
ดูยอดขายประจาปี แล้วเจาะลึกลงไปดูรายเดือน รายสั ปดาห์
การเข้ าถึงดาต้ าแวร์ เฮาส์ Data Warehouse
ดาต้าแวร์เฮาส์ หรื อ คลังข้อมูล
•สารสนเทศจากภายใน
•สารสนเทศจากภายนอก
สามารถเข้าถึงสารสนเทศ
ได้ทุกประเภท
EIS
•วิเคราะห์/ตัดสิ นใจ
•เจาะลึกข้อมูล
•ซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ป
•ใช้ DSS และ AI
สนับสนุนการทารายงาน
ช่วยผูบ้ ริ หารระบุปัญหา
ในลักษณะยืดหยุน่ และ
และสร้างโอกาส
เป็ นเครื่ องมือวิเคราะห์สารสนเทศ
ที่มา:ปรั บจาก Haag et al.(2000:68).
ปั จจัยที่มีผลต่ อความสาเร็จ (Critical Success Factors
ช่วยในการกาหนดเป้ าหมายขององค์การ นาไปสู่การ
กาหนดกลยุทธ์การบริ หารหรื อวางแผน โดยอาศัย
สารสนเทศ 3 ส่ วน คือ
ข้อมูลระหว่างการดาเนินงาน
ส่ วนการผลิต
สภาวะแวดล้อม
ปั จจัยที่มีผลต่ อความสาเร็จ (ต่ อ)
การกาหนดเป้ าหมายหรื อกลยุทธ์ ต้องติดตามสารสนเทศ
4 ชนิด คือ
รายงานปัญหาสาคัญที่เกิดขึ้น (Key Problem Narrative)
กราฟสรุ ปการดาเนินงานสาคัญด้วยการเน้นข้อความ (Height
Charts)
สารสนเทศทางการเงินในภาพรวม (Top-level Financials)
สารสนเทศชี้วดั ผลประกอบการ (Key Performance Factor)
ความสามารถในการวิเคราะห์ (Analysis)
ระบบวิเคราะห์ช่วยให้ผบู ้ ริ หารสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลในสภาวการณ์
ปัจจุบนั ได้ จะพบได้ในลักษณะงาน ดังนี้
• สามารถใช้ฟังก์ชนั่ แบบฝังตัว
• ความสามารถทางานงานร่ วมกับเครื่ องมือของระบบ DSS
• ความสามารถในการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสารสนเทศ
• ความสามารถในการนาเสนอสี และมัลติมิเดีย
• ความสามารถสื บค้นข้อมูลและท่องเที่ยว
• ความสามารถในการสื่ อสาร
ความสัมพันธ์ ระหว่ าง EIS กับ DSS
EIS - ผู้บริหารระดับสูง
ช่วยในการวิเคราะห์สารสนเทศเพื่อค้ นหาปั ญหาที่เกิดขึ ้น
DSS – ผู้บริหารระดับกลาง
ช่วยวิเคราะห์หาแนวทางแก้ ไขปั ญหาที่พบจากการ
วิเคราะห์ด้วย EIS
EIS ออกแบบให้ ง่ายต่อใช้ งาน โดยมีตาราง กราฟ
DSS จะให้ ข้อมูลการตัดสินใจตามลักษณะงาน
เปรียบเทียบและความสั มพันธ์ ระหว่ าง DSS กับ EIS
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
DSS
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
EIS
ช่วยให้สามารถแก้ไขและค้นหาปั ญหาที่
เกิดกับระบบย่อยได้
การพัฒนาระบบ DSS ต้องผ่าน
กระบวนการ Adaptive
มีแบบจาลองเป็ นส่ วนประกอบของระบบ
ไม่สามารถแก้ไขหรื อคาดการณ์ปัญหาที่
เกิดในระบบย่อยได้
ไม่จาเป็ นต้องใช้กระบวนการ
Adaptive
ไม่มีแบบจาลองเป็ นส่ วนประกอบ
ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและแบบจาลอง
ไม่ใช้ประโยชน์จากแบบจาลอง
ลักษณะของ DSS กับ EIS
มิติ
(ตัวนา - ตัวตาม)
ระบบสารสนเทศสาหรับ
ผู้บริหาร (EIS)
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(DSS)
ประโยชน์ที่มุ่งเน้น
ขุดเจาะข้อมูลและสารสนเทศ
วิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อตัดสิ นใจ
กลุ่มผูใ้ ช้
ผูบ้ ริ หารระดับสู ง
นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ผูจ้ ดั การ
การสนับสนุนการตัดสิ นใจ
สนับสนุนการตัดสิ นใจทางอ้อม สนับสนุนการตัดสิ นใจทุกรู ปแบบ
ในระดับสู งและการตัดสิ นใจ
โดยตรง
แบบไม่มีโครงสร้าง
ชนิดของสารสนเทศที่ใช้
สารสนเทศทัว่ ไป เช่น ข่าว
ข้อมูลภายในภายนอกองค์กร
ข้อมูลลูกค้า
การทางานเบื้องต้น
ติดตามควบคุมการทางาน
วางแผน จัดการองค์กร บุคลากรและ
วางแผนและกาหนดทิศทางและ ควบคุม
โอกาสในการเกิดปั ญหา
สารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับปั ญหาที่
เกิดขึ้น
มิติ
(ตัวนา - ตัวตาม)
ระบบสารสนเทศสาหรับ
ผู้บริหาร (EIS)
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(DSS)
กราฟิ ก
มีรูปแบบเป็ นกราฟิ กทุกส่ วน
มีรูปแบบเป็ นกราฟิ กบางส่ วน
การใช้งาน
ใช้งานง่าย
ใช้งานง่ายเมื่อไม่มีการทางานร่ วมกับระบบ
อื่น
ระบบจัดการสารสนเทศ
มีระบบกรอง ตรวจสอบ ติดตาม
และเปรี ยบเทียบข้อมูล
จากปั ญหาที่คน้ พบด้วย EIS นามาค้นหา
แนวทางแก้ไขด้วย DSS
แบบจาลอง
จัดเป็ นเพียงส่ วนประกอบที่จะมี
การติดตั้งเมื่อผูใ้ ช้ตอ้ งการ
เป็ นส่ วนประกอบหลักของ DSS ที่
จะต้องมี
การพัฒนาระบบ
พัฒนาโดย
Information system
พัฒนาโดยส่ วนผูใ้ ช้ที่รับผิดชอบด้าน IS
อุปกรณ์ประกอบ
Mainframe
workstation LAN
เข้าถึงฐานข้อมูลได้ง่าย ออนไลน์
Mainframe workstation
PC LAN
มีฟังก์ชนั ที่สามารถสร้างแบบจาลองเองได้
ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์
แนวโน้ มของระบบสารสนเทศ
สาหรับผู้บริหารระดับสูง (EIS)
• EIS ในอนาคตจะต้องแจ้งความต้องการของผูบ้ ริ หารระดับสูงได้
• สามารถเชื่อมโยงกับระบบเครื อข่ายอิเทอร์เน็ตทัว่ โลกได้
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงจะมีดงั นี้
1. เครื่ องมือพัฒนาระบบสามารถดัดแปลงได้ตามความต้องการของ
ผูบ้ ริ หาร
2. มีความสามารถด้านมัลติมิเดียมีมากกว่าเดิม
3. รู ปแบบสามมิติ ซึ่งสามารถแสดงสารสนเทศได้หลายมุมมอง
แนวโน้ มของระบบสารสนเทศ
สาหรับผู้บริหารระดับสูง (EIS) (ต่ อ)
4. ซอฟต์แวร์ระบบจะมีลกั ษณะการทางานในรูปแบบเว็บมากขึน้
5. มีการรวบรวมระบบสานักงานอัตโนมัติเข้ากับระบบวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. สามารถสนับสนุนการตัดสิ นใจแบบกลุ่มมากขึ้น
7. องค์กรมีแนวโน้มขยายตัวสูง ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจก็ตอ้ งขยาย
ตามองค์กร
ระบบพอร์ ทัลองค์ กร
• เป็ นระบบแห่งอนาคต
• เป็ นส่ วนประกอบของ OLAP DSS และ EIS
• ระบบจะทาการเชื่อมโยงระบบภายใน ฐานข้อมูลและระบบ
จัดการเอกสารเข้ากับระบบงานภายนอก
เช่น ระบบพอร์ ทลั หลักด้านบริ หารทรัพยากรบุคคล
ความสามารถของระบบพอร์ ทัลองค์ กร
1. เทคโนโลยีสนทนากลุ่ม (Groupware Technologies)
2. การเป็ นส่ วนตัวและการแยกแยะลูกค้า (Personalization and
Customization)
3. การนาเสนอถ่ายโอนข้อมูล (Distribution)
4. ระบบสื บค้นข้อมูล (Search)
5. การรวบรวมหมวดหมู่ขอ้ มูล (Integration)
ความสามารถของระบบพอร์ ทัลองค์ กร
เทคโนโลยีสนทนากลุ่ม (Groupware Technologies)
เช่น ระบบสัมมนากลุ่ม ห้องสนทนา ห้องสมุดเสมือน
ความสามารถของระบบพอร์ ทัลองค์ กร
การเป็ นส่ วนตัวและการแยกแยะลูกค้ า
(Personalization and Customization)
มีการแยกข้อมูล และเก็บข้อมูลไว้เป็ นรายการ
มีระบบแจ้งเตือนเมื่อถึงระดับที่กาหนด
เช่น แจ้งเตือนเมื่อลูกค้าค้างชาระเกินระยะเวลา
ความสามารถของระบบพอร์ ทัลองค์ กร
การนาเสนอถ่ ายโอนข้ อมูล (Distribution)
ระบบจัดเก็บข้อมูลของพอร์ทลั จะอนุญาตให้เข้าไปใช้ระบบ
ได้เฉพาะผูท้ ี่เป็ นสมาชิกหรื อผูท้ ี่ลงทะเบียนเท่านั้น
ความสามารถของระบบพอร์ ทัลองค์ กร
ระบบสื บค้ นข้ อมูล (Search)
ระบบสื บค้นข้อมูลภายในประกอบด้วย
ระบบสื บค้นอัตโนมัติ ที่สามารถสื บค้นได้หลายรู ปแบบ
ทั้งแบบเต็ม รู ปแบบและแบบดรรชนี พร้อมทั้งสามารถจัดทา
คาอธิบายสาหรับชุดต่าง ๆ
ความสามารถของระบบพอร์ ทัลองค์ กร
การรวบรวมหมวดหมู่ข้อมูล (Integration)
ความสามารถในการแยกแยะข้อมูล
จัดเก็บข้อมูลได้หลายรู ปแบบ
สามารถแยกชนิดและจัดหมวดหมู่ของข้อมูล
สามารถประมวลผลข้อมูลที่ต่างชนิดกันได้
ตัวอย่ างเว็บพอร์ ทลั ของจังหวัดลาปาง
สรุป
EIS คือ ระบบสารสนเทศสาหรับผูบ้ ริ หารระดับสู ง
ช่วยให้ผบู้ ริ หารใช้ในการตรวจสอบ ควบคุม หรื อดูทิศทาง
แนวโน้มขององค์กรโดยภาพรวม เพื่อให้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
ต่าง ๆ ได้อย่างทันท่วงที ข้อมูลที่ใช้ในระบบจะนามาจากภายใน
และภายนอกองค์กร และจัดอยูใ่ นรู ปแบบของข้อสรุ ปที่อ่านและดู
ข้อมูลได้ง่าย มีการใช้งานที่ไม่สลับซับซ้อน สารสนเทศส่ วนใหญ่
จะถูกกรองมาจากผูบ้ ริ หารระดับกลางและระดับปฏิบตั ิการ
สรุปศัพท์
OLAP (Online Analytical Processing)
คือ การใช้คาค้น (query) เพื่อค้นหาข้อมูลในคลังข้อมูลเหมือนใน
ฐานข้อมูล
DSS ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
EIS ระบบสารสนเทศสาหรับผูบ้ ริ หารระดับสูง
สรุปศัพท์
LAN Local Area Network เครื อข่ ายขนาดเล็ก
เป็ นการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ เข้ าด้ วยกันในระยะ
จากัด เช่น ในอาคารเดียวกัน หรือบริเวณอาคารใกล้ เคียง
ที่สามารถลากสาย ถึงกันได้ โดยตรง
สรุปศัพท์
PC คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) คอมพิวเตอร์
ขนาดเล็กที่นิยมใช้ทวั่ ไปในปัจจุบนั เป็ นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่
สามารถเคลื่อนย้ายไปไหนได้โดยง่าย ปกติจะมีผใู ้ ช้ครั้งละ 1 คนต่อ 1
เครื่ อง ปัจจุบนั
แบ่ งเป็ น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มพีซี (personal computer)
และกลุ่มแมคอินทอช (Macintosh) ใช้เกี่ยวกับงาน
กราฟิ คเป็ นส่ วนใหญ่
สรุปศัพท์
Mainframe คือ
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีอุปกรณ์ต่อพ่วงเป็ นจานวนมาก
คอมพิวเตอร์ประเภทนี้มกั จะใช้ในกิจการขนาดใหญ่ เช่น
ระดับกระทรวง สามารถทางานได้ดว้ ยความเร็ วสู ง
ประมาณไม่ต่ากว่า 5 ล้านคาสัง่ ต่อวินาที
สรุปศัพท์
Workstation หรื อ สถานีงาน
หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกับ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้ าที่เป็ นสถานีปลายทางหรื อสถานีงานที่
ได้ รับการบริการจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย
ทาไมหมากับแมวจึงไม่ ถูกกัน
กาลครั้งหนึ่ง เศรษฐีได้ เลีย้ งแมวและหมาไว้ บนบ้ านของตน เศรษฐีมแี ก้ วที่มคี ่ าดวงหนึ่ง วันหนึ่ง
เศรษฐีไม่ อยู่บ้าน พวกพ่อค้ าต่ างเมืองได้ นาดวงแก้ วปลอมมาขอแลกกับเมียเศรษฐี เมียเศรษฐีเห็นว่ าเป็ น
ดวงแก้ วลูกใหญ่ กว่ าของเดิมก็ยอมแลกเมือ่ เศรษฐี กลับบ้ านรู้ว่าเมียแลกดวงแก้ วมีค่ากับดวงแก้ วปลอม จึง
ใช้ หมากับแมวไปตามหาแก้ วมีค่าคืนมาให้ ได้ หมาจากลิน่ ชายพ่ อค้ าได้ จึงสู ดดมกลิน่ ตามไปจนถึงบ้ านและ
ได้ รู้ว่าพ่อค้ าเก็บดวงแก้ วมีค่าไว้ ในกาปั่น แมวจึงอาสาไปจับหนูแล้ วสั่ งให้ หนูไปกัดกาปั่นให้ ขาด แมวเห็น
ดวงแก้ วนั้นแล้ วคาบออกมาหมาเห็นดวงแก้ วจึงเข้ าชิงจากแมวเพราะอยากเอาหน้ า คิดจะคาบดวงแก้ วเอา
มาให้ เจ้ านายตนเอง ระหว่ างทางหมาหิวนา้ จึงไปทีล่ าธารบังเอิญเห็นปลาตัวใหญ่ จึงเห่ าเป็ นเหตุให้ ดวงแก้ ว
หลุดจากปากลงไปในนา้ ปลาคิดว่ าเป็ นอาหารจึงกลืนดวงแก้ วเข้ าไปในท้ อง แมวพยายามจะหาวิธีจะนาดวง
แก้ วกลับคืนมาให้ ได้ จึงไปจับกานา้ ได้ ตัวหนึ่ง สั่ งให้ กานา้ ไปดานา้ จับปลาตัวที่กลืนดวงแก้ วมาให้ ได้ แล้ วจะ
ไว้ ชีวติ กานา้ ดานา้ หาปลาอยู่หลายวัน จนได้ ปลาตัวทีก่ ลืนดวงแก้ ว แมวจึงได้ ดวงแก้ วคืน หมาอาสาคาบ
ดวงแก้ วกลับบ้ านอีกแมวก็ยอมหมารีบวิ่งกลับบ้ านนาดวงแก้ วกลับมาให้ เจ้ านายส่ วนแมววิ่งไม่ ทนั หมา จึง
มาถึงบ้ านช้ ากว่ าหลายวัน หมาฟ้องเจ้ านายว่ า แมวไม่ ใส่ ใจหาดวงแก้ วและยังเถลไถลอีกด้ วย ครั้นเมือ่ แมว
มาถึงบ้ านเจ้ าของจึงถามแมว แมวจึงเล่ าความจริงทุกประการ เจ้ าของฟังคาของแมวเห็นว่ าจริง จึงเตะหมา
ตกบ้ านแล้ วสั่ งไม่ ให้ หมาขึน้ บ้ านอีก ตั้งแต่ น้ันมาหมาจึงถูกเลีย้ งไว้ ใต้ ถุนบ้ าน หมาโกรธแมวมาก คอยหา
โอกาสเล่ นงานอยู่เสมอตั้งแต่ น้ันเป็ นต้ น มาหมากับแมวจึงเป็ นศัตรู ตราบเท่ าทุกวันนี้