คลิก

Download Report

Transcript คลิก

การเลือกใช้วิธีวิเคราะห์ทางสถิติให้เหมาะสมกับแผนการทดลอง
และการแปรผลการวิเคราะห์
อ.สพ.ญ.ดร.กรรณิการ์ ณ ลาปาง
ภาควิชาชีวศาสตร์ ทางสัตวแพทย์ และสัตวแพทย์ สาธารณสุข
โทรศัพท์ 053-948083 ต่ อ 115
e-mail: [email protected]
1
การเลือกใช้วธิ วี เิ คราะห์ทางสถิตกิ บั งานวิจยั
พิจารณาจาก
วัตถุประสงค์ ของงานวิจัย / สมมติฐานของงานวิจัย
 มาตรวัดของตัวแปร
 จานวนกลุ่มตัวอย่ างและลักษณะของกลุ่มตัวอย่ าง
 การกระจายตัวของข้ อมูล

2
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั
บรรยายลักษณะของประชากร
ทดสอบความแตกต่ างระหว่ างกลุ่มประชากร
อธิบายความสัมพันธ์ และการทานาย
หาความสัมพันธ์ ระหว่ างตัวแปร




3
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั
บรรยายลักษณะของประชากร
ดูลักษณะของตัวแปรที่ศกึ ษา




จานวนฟาร์ มที่มีการใช้ ยาปฏิชีวนะ
จานวนไก่ ต่อฟาร์ ม
สถิตเิ ชิงพรรณนา



4
ค่ ากลางของข้ อมูล
ค่ าการกระจายตัวของข้ อมูล
การเลือกใช้สถิติ
Scale
Normal
Categorical
Continuous
5
Not normal
Proportion
Percent
ค่ากลาง
Mean
Median
(P50, Q2)
การกระจาย
SD
IQR
(Q3 – Q1)
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั
ทดสอบความแตกต่ างระหว่ างกลุ่มประชากร




6
เปรี ยบเทียบจานวนผลผลิตไข่ และคุณภาพของไข่ เมื่อเสริมอาหารด้ วยสมุนไพร
ความแตกต่ างของนา้ หนักสุกร เมื่อได้ รับสูตรอาหารต่ างกัน 3 สูตร
เปรี ยบเทียบการเกิดโรคในกลุ่มที่ไดรั บวัคซีนกับไม่ ได้ รับวัคซีน
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั
ทดสอบความแตกต่ างระหว่ างกลุ่มประชากร



ตัวแปรแบบต่ อเนื่อง
ตัวแปรแบบแบ่ งกลุ่ม
จานวนตัวแปรต้ น > 1


7
ระดับโปรตีนกับระดับพลังงานต่ อนา้ หนักตัว
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั
หาความสัมพันธ์ ระหว่ างตัวแปร


ปริมาณอาหารที่กินกับนา้ หนักตัว
การหาความสัมพันธ์


8
ชนิดหรื อมาตรวัดของตัวแปร
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั
อธิบายความสัมพันธ์ และการทานาย



9
ความเข้ มข้ นของแสงต่ อการเจริญเติบโต และทานายการเจริญเติบโตจากความเข้ มข้ น
ของแสง
ระยะเวลาการได้ รับแสงต่ อการเจริญเติบโต และทานายการเจริญเติบโตจากระยะเวลา
การได้ รับแสง
Correlation and regression
Experimental Factor
Outcome
Pearson Correlation
continuous (normal)
continuous (normal)
Rank Correlation
(Spearman)
continuous/categorical
continuous/categorical
Linear Regression
continuous/categorical
continuous (normal)
Logistic Regression
continuous/categorical
Binary
ประเภทและมาตรวัดของข้อมูล

ประเภทของข้ อมูล : ลักษณะของข้ อมูล



ข้ อมูลเชิงคุณภาพ
ข้ อมูลเชิงปริ มาณ
มาตรวัดข้ อมูล (Scale)


11
มาตรวัดแบบต่ อเนื่อง (Continuous scale)
มาตรวัดแบบไม่ ต่อเนื่อง (Categorical scale)
ลักษณะของมาตรวัด

มาตรวัดแบบต่อเนื่อง (Continuous scale)

มาตรวัดเชิงปริมาณ

Numerical scale
Discrete numerical scale


มาตรวัดแบบแบ่งกลุม่ (Categorical scale)

มาตรวัดเชิงคุณภาพ

Ordinal scale
Nominal scale

12
มาตรวัดแบบต่อเนื่ อง

Numerical scale




Discrete numerical scale


13
เป็ นตัวเลข
ค่ าของตัวเลขมีความหมาย
นา้ หนัก, ส่ วนสูง, อุณหภูมิ
ค่ าที่วัดได้ เป็ นจานวนเต็ม
จานวนลูก/คอก, จานวนตัวอย่ าง, จานวนโคโลนี
มาตรวัดแบบไม่ต่อเนื่ อง

Nominal scale


Ordinal scale



14
sex, disease status (binary), serotype
เป็ นมาตรวัดแบบแบ่ งกลุ่มที่มีระดับชัน้
แสดงความแตกต่ างระหว่ างกลุ่มได้
ระดับการศึกษา, body condition score (BCS)
จานวนกลุ่มตัวอย่างและลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง

จานวนกลุม่ ตัวอย่าง




1 กลุม่
2 กลุม่
> 2 กลุม่
ลักษณะของกลุม่ ตัวอย่าง


15
Pair/ match sample
Un match sample
การกระจายตัวของข้อมูล

การกระจายตัวแบบปกติ


Parametric statistic
การกระจายตัวไม่ปกติ

16
Non-parametric statistic
สถิติกลุ่มพาราเมตริก
 ข้ อมูลของตัวแปรตามเป็ นข้ อมูลเชิงปริมาณ
 ข้ อมูลควรมีการกระจายแบบปกติ (Normal Distribution)
 หากการกระจายต่ างไปจากแบบปกติกย็ ังใช้ ได้ หากจานวนตัวอย่ างมากพอ (> 30
ตัวอย่ าง)
 ข้ อดีคือ
 วิเคราะห์ ง่าย
 ให้ อานาจการบอกนัยสาคัญสูง
17
สถิตกิ ลุ่มพาราเมตริก

Z-Test

Student’s t-Test
Analysis of Variance (One-Way, Multi-Way)
Regression
Pearson Correlation



18
สถิติกลุ่มนอนพาราเมตริก
Sign Test
 Wilcoxon Signed Rank Sum Test
 Mann-Whitney U Test
 Kruskal-Wallis Test
 Friedman’s Test

19
การเลือกใช้สถิติสาหรับตัวแปรแบบต่อเนื่ อง
Normally
distributed
NO
YES
*Independent ttest with
-Equal variance
-Unequal variance
Parametric
test
1 group
2 groups
>2 groups
Match
YES
One sample
T-test
Non
parametric
20 test
Match
NO
Paired
T-test
Independent
sample
T-test*
Signrank
test
Wilcoxon
Ranksum
test
YES
Repeat
Measured
ANOVA
NO
ANOVA
Kruskal
Walis
test
การเลือกใช้สถิติสาหรับตัวแปรแบบแบ่งชัน้
1 group
Binomial
test
Independence
test
Test for
trend
21
2 groups
>2 groups
Match
YES
McNemar
test
Match
NO
Fisher’s
Exact test /
Corrected
Chi-square
YES
Logistic
Regression
With
Random
effect
NO
Fisher’s
Exact test /
Pearson
Chi-square
Mantel
Haenszel
Chi-square
การแปรผลการวิเคราะห์ข้อมูล
22
การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ




ตัง้ สมมติฐาน (H0 และ Ha)
กาหนดระดับนัยสาคัญของการทดสอบ ()
คานวณค่ า p-value
สรุ ปผลการทดสอบ
สมมติฐานทางสถิติ

Null hypothesis (H0)
 ไม่ มีความสัมพันธ์ ระหว่ างปั จจัยกับ outcome
 ไม่ มีความแตกต่ างของผลการศึกษาระหว่ างกลุ่มที่ศึกษา

Alternative hypothesis (Ha)
 มีความสัมพันธ์ ระหว่ างปั จจัยกับ outcome
 มีความแตกต่ างของผลการศึกษาระหว่ างกลุ่มที่ศึกษา
 กลุ่มที่ได้ รับอาหารสูตรใหม่ มีนา้ หนักมากกว่ ากลุ่มที่ไม่ ได้ รับอาหารสูตรใหม่
 กลุ่มที่ได้ รับ vaccine เกิดโรคน้ อยกว่ ากลุ่มไม่ ได้ รับ vaccine
การทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบแบบทางเดียว (one-sided test)
 มีการระบุค่าไม่ มากกว่ าหรื อน้ อยกว่ าของความสัมพันธ์ หรื อความแตกต่ าง
H0 : 1 = k
 Ha : 1 > k
การทดสอบแบบสองทาง (two-sided test)
 การหาความสัมพันธ์ & การหาความแตกต่ าง




H0 : 1 = k
Ha : 1  k
การสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
สรุปตาม H0 เมื่อ p-value > alpha ()
 สรุ ปตาม Ha เมื่อ p-value  alpha ()


นิยมกาหนด alpha () ไว้ ที่ 0.05
26