ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

ความคาดหวังในการเรี ยนวิชาฟิ สิ กส์พ้นื ฐานของนักศึกษา
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรด้วยอีเลิร์นนิ ง
โดย
พิสิษฐ์ สุวรรณแพทย์
ความสาคัญและที่มาของปัญหา
เกรด
A
B+
B
C+
C
D+
D
F
W
รวม
%
6
9
12
20
26
28
19
38
1
3.77
5.66
7.55
12.58
16.35
17.61
11.95
23.90
0.63
ภาคการศึกษาที่ 1/2552
ความคาดหวังในการเรี ยนวิชาฟิ สิ กส์พ้นื ฐาน
 ความคาดหวังของผู้เรี ยนนัน้ เป็ นสิ่งสาคัญพื ้นฐานในการ
สร้ างความเข้ าใจในการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน โดยผู้เรี ยนที่มีเจต
คติ ความเชื่อและความคาดหวังที่ตา่ งกันจะส่งผลต่อ
พฤติกรรมการเรี ยนรู้วิชาฟิ สิกส์ที่แตกต่างกัน และพฤติกรรม
การเรี ยนรู้วิชาฟิ สิกส์ที่แตกต่างกัน รวมถึงสิ่งที่ผ้ เู รี ยน
คาดหวังในการเรี ยนรู้วิชาฟิ สิกส์กบั สิ่งที่ผ้ สู อนคาดหวังให้
ผู้เรี ยนมีการเรี ยนรู้วิชาฟิ สิกส์ที่มีความแตกต่างกัน อาจส่งผล
ต่อความเข้ าใจหลักการทางฟิ สิกส์ของผู้เรี ยน(อัมพร วจนะ
และคณะ, 2550)
The Maryland Physics
Expectations(MPEX)
 การศึกษาความคาดหวังของผู้เรี ยนวิชาฟิ สิกส์สามารถทาได้ โดยการ
สัมภาษณ์ การสังเกต แต่วิธีดงั กล่าวไม่สะดวกต่อผู้สอนที่มีภาระ
งานมาก หรื อในห้ องเรี ยนที่มีผ้ เู รี ยนจานวนมาก ดังนันในการส
้
ารวจ
ความคาดหวังของผู้เรี ยนจึงนิยมใช้ แบบสารวจความคาดหวังเป็ น
ส่วนใหญ่ โดยที่แบบสารวจที่ผ้ สู อนวิชาฟิ สิกส์นาไปใช้ คือ The
Maryland Physics Expectations(MPEX) เป็ นแบบ
สารวจที่สร้ างขึ ้นมาในปี ค.ศ.1992 ที่ University of
Washington (Redish et al.,1992)เพื่อวัดความ
คาดหวังในการเรี ยนวิชาฟิ สิกส์ ผ่านการทดลองและการพัฒนาโดย
ใช้ ในมหาวิทยาลัยกว่า 15 แห่ง แบบสารวจนี ้ประกอบด้ วยข้ อความ
34 ข้ อความ
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
 Phisit Suvarnaphaet (2011) ได้ รายงานผลความคาดหวังในการเรี ยนวิชา






ฟิ สิกส์พื ้นฐานด้ วย e-Learning (ก่อนเรี ยน) ที่สารวจแบ่งเป็ น 6 ด้ าน คือ
1) ด้ านการเรี ยนรู้
2) ด้ านโครงสร้ างของความรู้
3) ด้ านเนื ้อหาความรู้
4) ด้ านการเชื่อมโยงระหว่างฟิ สิกส์และโลกของความเป็ นจริ ง
5) ด้ านความเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ ในการเรี ยนฟิ สิกส์
และ 6) ด้ านพฤติกรรมที่จาเป็ นต่อการเรี ยนรู้และเข้ าใจ
เปรี ยบเทียบกับความคาดหวังเห็นด้ วยและความคาดหวังไม่เห็นด้ วยของ
ผู้เชี่ยวชาญ จากผลการสารวจพบว่าร้ อยละ47.7%, 45.2%, 48.6%,46.5%, 41.0%และ
45.0% ของความคาดหวังเห็นด้ วยของผู้เรี ยนทัง้ 6 ด้ านและภาพรวม ตามลาดับตรงกับ
ความคาดหวังเห็นด้ วยของผู้เชี่ยวชาญ
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
 พิสิษฐ์ สุวรรณแพทย์และคณะ(2554) ได้ พฒ
ั นา e-
Learning courseware วิชาฟิ สิกส์พื ้นฐาน หลังจากที่
ผู้เรี ยนได้ เรี ยนฟิ สิกส์ด้วย e-Learning courseware
พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรี ยนของผู้เรี ยนหลังเรี ยนสูงกว่า
ก่อนเรี ยน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 และผลจากการประเมินความ
พึงพอใจ พบว่าผู้เรี ยนมีความพึงพอใจในด้ านเนื ้อหา ด้ านการ
นาเสนอ ด้ านการใช้ งานและด้ านความพึงพอใจในภาพรวม มี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90, 3.88, 4.07 และ 3.93 ซึง่ อยูใ่ นระดับพึง
พอใจมาก
วัตถุประสงค์การวิจยั
 เพื่อสารวจความคาดหวังในการเรี ยนวิชาฟิ สิกส์พื ้นฐานของนักศึกษาคณะสัตว
ศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตรที่ผ่านการเรี ยนวิชาฟิ สิกส์พื ้นฐานด้ วย eLearning
วิธีดำเนินกำรวิจัย
1. ประชากรที่ใช้ ในการวิจยั เป็ นนักศึกษาจากคณะสัตวศาสตร์ และ
เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่
ลงทะเบียนเรี ยนรายวิชาฟิ สกิ ส์พื ้นฐาน ในภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2553โดย
ที่กลุม่ ตัวอย่างผ่านการเรี ยนการสอนวิชาฟิ สิกส์พื ้นฐานด้ วยอีเลิร์นนิง จานวน 42
คน โดยกาหนดให้ เป็ นกลุม่ ตัวอย่างในวิจยั ทังหมด
้

2. นาแบบสารวจ The Maryland Physics Expectations
(MPEX) แปลเป็ นภาษาไทย โดยให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านภาษาตรวจสอบโดยคง
ความหมายเดิมไว้ และจัดทาเป็ นแบบสารวจความคาดหวังฉบับภาษาไทย
ประกอบด้ วยข้ อความ 34 ข้ อความ เป็ นแบบมาตราประมาณค่าความคิดเห็น 5
ระดับโดยให้ ผ้ เู รี ยนแสดงความคิดเห็นตังแต่
้ ระดับ 5 เห็นด้ วยมากที่สดุ ถึงระดับ 1 ไม่
เห็นด้ วยมากที่สดุ โดยแบ่งความคาดหวัง 6 ด้ าน

กลุม่ ความคาดหวัง
เห็นด้ วย
การเรี ยนรู้ฟิสิ กส์ คาดหวังว่าเป็ นการเรียนรู้อย่างอิสระ
สามารถตอบ สนองต่อการสร้ าง
ความรู้ด้วยตนเอง
โครงสร้ างความรู้
มีความเชื่อว่าความรู้ทาง
ฟิ สกิ ส์ทั ้งหมดเป็ นสิง่ ที่เชื่อมโยงและ
เกี่ยวข้ องกัน
เน้ นความเข้ าใจความคิดวิเคราะห์และ
เนื ้อหาความรู้
ความคิดรวบยอด
การเชื่อมโยงระหว่าง มีความเชื่อว่าการเรี ยนฟิ สกิ ส์มี
ฟิ สกิ ส์และโลกของความ ความสัมพันธ์และนาไปใช้ ประโยชน์
เป็ นจริง
ในชีวิตจริงได้
ไม่เห็นด้ วย
คาดหวังว่าเป็ นการเรี ยนรู้ที่เกิดจาก
ครูผ้ สู อนหรื อเอกสารตาราต่างๆ
ข้ อความที่*
8,13,14,17,
27
มีความเชื่อว่าความรู้ทางฟิ สกิ ส์
12,15,16,2
กล่าวถึงความจริงที่แยกออกเป็ นส่วนๆ 1,29
อย่างอิสระต่อกันได้
เน้ นการจดจาและนาสูตรไปใช้
4,14,19,23,
26,27
มีความเชื่อว่าการเรี ยนฟิ สกิ ส์ไม่
10,18,22,2
สามารถเชื่อมโยงกับสิง่ ต่างๆที่เกิดขึ ้น 5
หรื อประสบการณ์ที่จะได้ รับใน
ชีวิตประจาวันได้
ความเชื่อมโยง
เข้ าใจว่าคณิตศาสตร์ เป็ นเครื่ องมือที่ เข้ าใจว่าฟิ สกิ ส์และคณิตศาสตร์ เป็ น 2,8,15,16,1
คณิตศาสตร์ ในการเรี ยน ช่วยอานวยความสะดวกในการ
อิสระต่อกันไม่มีความเกี่ยวข้ อง
7,20
ฟิ สกิ ส์
อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ สัมพันธ์กนั
พฤติกรรมที่จาเป็ นต่อ มีความพยายามที่จะใช้ ข้อมูลที่มีอยู่ ไม่มีความพยายามที่จะใช้ ข้อมูลที่มีอยู่ 3,6,7,24,31
เดิมทาให้ เกิดความหมายต่อการ
เดิมทาให้ เกิดประสิทธิภาพต่อการ
การเรี ยนรู้
เรี ยนรู้ฟิสกิ ส์
เรี ยนรู้
Learning management System ของ
มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผลการวิจยั
กลุ่มควำมคำดหวัง
เห็นด้ วย
การเรี ยนรู้ฟิสิ กส์
30
โครงสร้างของความรู้ทางฟิ สิ กส์
55
เนื้อหาความรู้ทางฟิ สิ กส์
59
การเชื่ อ มโยงระหว่ า งฟิ สิ ก ส์ แ ละโลกของ
54
ความเป็ นจริ ง
บทบาทของคณิ ตศาสตร์ในการเรี ยนฟิ สิ กส์
58
พฤติ กรรมที่ จาเป็ นต่อ การเรี ยนรู้ และเข้าใจ
43
ฟิ สิ กส์
ไม่ เห็นด้ วย
12
3
1
1
ปำนกลำง
58
42
40
45
1
3
41
54
**ค่าร้ อยละของความคาดหวังเห็นด้ วย/ไม่เห็นด้ วยของผู้เรี ยน
Independence
Coherent
Concept
Reality link
Math link
Effort
ผู้เชี่ยวชาญ
Overall
ผลการวิจยั
87/6
93/3
85/12
89/6
93/3
92/4
85/4
กลุม่ เป้าหมาย 50/4
30/12 55/3
59/1
54/1
58/1
43/3
ผลเปรียบเทียบค่าร้อยละของความคาดหวังเห็นด้วย /ไม่เห็นด้วยของ
ผู เ้ ชีย่ วชาญและนักศึกษา
ผลการวิจยั
ผลการเรี ยนของนักศึกษาที่เรี ยนวิชาฟิ สิ กส์ดว้ ย
e-Learning ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2553
เกรด
A
B+
B
C+
C
D+
D
F
ช่วงเกรด T-SCORE รวม %
<<->>
13 31.71
<<->>
8 19.51
<<->>
7 17.07
<<->>
5 12.20
<<->>
7 17.07
<<->>
1 2.44
<<->>
0 0.00
<<->>
0 0.00
สรุป
 กลุม
่ ความคาดหวังเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ฟิสิกส์ สาหรับกลุม่ การเรี ยนรู้ ฟิ สิกส์เป็ นการเรี ยนรู้
โดยการได้ รับข้ อมูลจากการอ่านหนังสือหรื อจากผู้ร้ ู หรื อเป็ นการเรี ยนรู้ที่เกี่ยวข้ องกับ
กระบวนการสร้ างความเข้ าใจด้ วยตัวเอง โดยได้ คะแนนร้ อยละ 30 นันคื
้ อผู้เรี ยนคาดหวัง
ว่าความรู้ในวิชาฟิ สิกส์พื ้นฐานที่ผ้ เู รี ยนได้ รับไม่สามารถเกิดจากการเรี ยนรู้ด้วยตนเองซึง่
พบว่าต่ากว่าก่อนเรี ยนคือร้ อยละ 48.2 จากผลงานวิจยั เบื ้องต้ นของ Phisit
Suvarnaphaet (2011) แต่พบว่ามีค่าใกล้ เคียงกับรายงานความคาดหวังในการ
เรี ยนฟิ สิกส์ของกาญจนา จันทร์ ประเสริ ฐ(2553) ซึง่ ความคาดหวังกลุม่
Independence หรื อกลุม่ ความคาดหวังเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ฟิสิกส์ได้ รายงานอยู่ที่ร้อย
ละ 27 ซึง่ เป็ นผลจากการสารวจความคาดหวังในการเรี ยนวิชาฟิ สิกส์วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ
ของนักศึกษาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ดังนันการใช้
้
อีเลิร์นนิงนันท
้ าให้ ความคาดหวังในกลุม่
ดังกล่าวต่าแต่ขณะที่ด้านอื่นๆ มีคะแนนสูงกว่าก่อนเรี ยนซึง่ กล่าวได้ ว่าการนาอีเลิร์นนิงมา
ใช้ นนสามารถพั
ั้
ฒนาความคาดหวังในด้ านอื่นๆให้ เกิดขึ ้นกับผู้เรี ยนได้ ดังนันการน
้
าอีเลิร์
นนิงมาใช้ ในการเรี ยนการสอนฟิ สิกส์ควรมีการวิจยั ต่อไป เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความคาดหวังที่
เพิ่มสูงขึ ้นมากกว่าเดิมทุกด้ านโดยเฉพาะด้ านความคาดหวังเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ฟิสิกส์ให้
สูงขึ ้นต่อไป