ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน 19 พฤศจิกายน 2552 ดร.จิรัชฌา วิเชียรปัญญา

Download Report

Transcript ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน 19 พฤศจิกายน 2552 ดร.จิรัชฌา วิเชียรปัญญา

ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้
ดร.จิรชั ฌา วิเชียรปัญญา
กรมชลประทาน
19 พฤศจิกายน 2552
ความหมายของยุทธศาสตร์
แนวทางหรือเครื่องมือในการดาเนินงานให้ประสบผลสาเร็จ
และบรรลุเป้ าหมายภายใต้สภาพแวดล้อมที่เป็ นอยู่
 เป็ นเครื่องมือเพื่อช่วยชี้นาการบริหารงานขององค์กรที่เกิดจาก
การระดมสมองของผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมีส่วนร่วมโดย
ยึดหลักการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เพื่อชี้แนะเป้ าประสงค์
(วิสยั ทัศน์ พันธกิจ) และกลวิธีทางปฏิบตั ิ ที่สอดคล้องกับ
สภาวะแวดล้อม
ความสาคัญของยุทธศาสตร์
เป็ นเครื่องช่วยจากัดขอบเขตของสิ่งที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็ น
พืน้ ฐาน
สาหรับการวางแผนต่อไป
 เป็ นกระบวนการสร้างสรรค์ที่ม่งุ จะให้มีการใช้ความพยายามจาก
ภายในและแรงผลักดันจากภายนอกที่จะทาให้เกิดผลดีมากที่สดุ
เพื่อที่จะทาให้องค์กรพัฒนาไปสู่เป้ าประสงค์ที่วางไว้ได้
 เป็ นการกาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์กร
อย่างเป็ นระบบเพื่อให้องค์กรมีทิศทางและเป้ าหมายที่ชดั เจน
ประเภทของยุทธศาสตร์การจัดการความรู้
Codification Strategy
เป็ นยุทธศาสตร์ที่เน้ นในด้านการกาหนดรหัสและการทาให้เป็ น
มาตรฐาน และเก็บไว้ในฐานความรู้ซึ่งบุคลากรของหน่ วยงาน
สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ได้อย่างง่ายโดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศเข้ามาช่วย
 Personalization Strategy
เป็ นยุทธศาสตร์ที่เน้ นในด้านการติดต่อสัมพันธ์ การแบ่งปัน
ความรู้ระหว่างบุคคล รวมทัง้ มีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร
เข้ามาช่วย
ลักษณะของยุทธศาสตร์การจัดการความรู้
1. ยุทธศาสตร์ที่เน้ นความรู้ (Classification By Knowledge)
Nonaka & Takeuchi’s Matrix of Knowledge Type
2. ยุทธศาสตร์ที่เน้ นกระบวนการธุรกิจ (Classification By
Business Process)
 APQC International Benchmarking Clearinghouse
 McKinsey & Company
3. ยุทธศาสตร์ที่เน้ นผลลัพธ์สดุ ท้าย (Classification By End
Results)
 Treacy & Wiersema’s Value Disciplines
 Zack’s Knowledge Strategy
1. ยุทธศาสตร์ที่เน้ นความรู้
Nonaka & Takeuchi’s Matrix of Knowledge Type
เน้ นถึงความสามารถในการเข้าถึงความรู้ และการเปลี่ยน
รูปแบบของความรู้ผา่ นการมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างความรู้ที่ชดั แจ้ง
(Explicit Knowledge) กับความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge)
 Socialization
 Externalization
 Combination
 Internalization
2. ยุทธศาสตร์ที่เน้ นกระบวนการธุรกิจ - 1
 APQC International Benchmarking Clearinghouse
กลยุทธ์ความรู้ในฐานะที่เป็ นกลยุทธ์ธรุ กิจ
 กลยุทธ์การจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
 กลยุทธ์ที่รบั ผิดชอบเกี่ยวกับทรัพย์สินความรู้ส่วน
บุคคล
 กลยุทธ์การสร้างความรู้
 กลยุทธ์การเคลื่อนย้ายความรู้
กลยุทธ์ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า
2. ยุทธศาสตร์ที่เน้ นกระบวนการธุรกิจ - 2
 McKinsey & Company
การพัฒนาและการเคลื่อนย้ายวิธีปฏิบตั ิ งานที่เป็ นเลิศ
(Best Practices)
 สร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่จากความรู้ที่ฝังอยู่ใน
องค์กร
 การทาให้กลยุทธ์องค์กรเต็มไปด้วยความรู้
 การสนับสนุนและทาให้นวัตกรรมเป็ นการค้า
 การสร้างมาตรฐานจากความรู้ที่ครอบครองหรือฝังอยู่ใน
องค์กร
3. ยุทธศาสตร์ที่เน้ นผลลัพธ์สดุ ท้าย - 1
 Treacy & Wiersema’s Value Disciplines
ยุทธศาสตร์การจัดการความรูท้ ี่เน้ นลูกค้า
(Customer Intimacy)
 ยุทธศาสตร์การ
จัดการความรูท้ ี่เน้ นความเป็ นผูน้ า
ผลิตภัณฑ์ (Product Leadership)
ยุทธศาสตร์การจัดการความรูท้ ี่เน้ นการเป็ น
องค์กรที่มีการปฏิบตั ิ เป็ นเลิศ (Operational
3. ยุทธศาสตร์ที่เน้ นผลลัพธ์สดุ ท้าย - 2
 Zack’s Knowledge Strategy
✰ Core Knowledge
เป็ นความรู้ในระดับพืน้ ฐานที่ทุกคนในองค์กรต้องการเป็ น
ความรู้ที่ไม่ได้ให้ประโยชน์ ต่อการแข่งขัน
✰ Advanced Knowledge
เป็ นความรู้ที่ทาให้องค์กรไปสู่จดุ ของการแข่งขันได้
มีความเฉพาะเจาะจงซึ่งแตกต่างจากคู่แข่งขัน
✰ Innovative Knowledge
เป็ นความรู้ที่จะทาให้องค์กรเป็ นผูน้ าทางการตลาด
สรุป...ลักษณะของยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ - 1
1. ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ทวทั
ั ่ ง้ องค์กร
2. ยุทธศาสตร์การถ่ายทอดความรู้และวิธีปฏิบตั ิ ที่ดีที่สดุ
3. ยุทธศาสตร์ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า การจัดการความสัมพันธ์
กับลูกค้า
4. ยุทธศาสตร์ปัจเจกบุคคล เป็ นกลยุทธ์ที่เน้ นการจัดการความรู้
ระดับบุคคล และการถ่ายทอดความรู้ระหว่างบุคคลโดยผ่าน
ระบบการสอนงาน (coaching) การเป็ นพี่เลี้ยง (mentoring)
และการพัฒนาตนเอง
สรุป...ลักษณะของยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ - 2
5. ยุทธศาสตร์จดั การสินทรัพย์ทางปัญญา เน้ นการจัดการเพื่อ
เพิ่มมูลค่าของสินทรัพย์ สิทธิบตั ร ขัน้ ตอนการทางาน
ลูกค้าสัมพันธ์ และสินทรัพย์เชิงโครงสร้าง การดาเนินการเน้ น
การประเมิน การจัดระบบ การตีค่า การรักษาความปลอดภัย
การเพิ่มความพร้อมในการส่งมอบ
6. ยุทธศาสตร์สร้างความรู้และนวัตกรรม เน้ นการสร้างความรู้ใหม่
โดยการยกระดับความรู้เดิม เครื่องมือที่ใช้คือ “เกลียวความรู้”
เป็ นยุทธศาสตร์ที่ต้องใช้นวัตกรรมและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
วัฒนธรรม และความสัมพันธ์เป็ นองค์ประกอบสาคัญ
การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการความรูส้ ่กู ารปฏิบตั ิ - 1
1. การรวบรวมสารสนเทศ (Information Gathering)
1.1
1.2
1.3
1.4
ข้อมูลพืน้ ฐานขององค์กร
ยุทธสาสตร์ทางธุรกิจ ขัน้ ตอนการดาเนินธุรกิจหลัก
โครงสร้างองค์กร อานาจการดาเนินการ รวมถึงวัฒนธรรมองค์กร
นโยบาย เป็ นนโยบายในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การใช้ข้อมูล
สารสนเทศ การบริหารทรัพย์สิน เป็ นต้น
1.5 ความรู้ที่จาเป็ น เป็ นการแสดงถึงความรู้อะไรที่จาเป็ นสาหรับการ
ดาเนินธุรกิจ หรือการพัฒนางาน
1.6 การดาเนินงานในปัจจุบนั และแผนการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
1.7 กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการความรู้ที่มี
การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการความรูส้ ่กู ารปฏิบตั ิ - 2
1. การรวบรวมสารสนเทศ (Information Gathering) - ต่อ
1.8 ความสามารถในการจัดการความรู้ขององค์กร
1.9 สารสนเทศที่มี และความรู้ด้านโครงสร้าง ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้
สารสนเทศ
1.10 มุมมองและความคาดหวังของผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
2. การวิเคราะห์และการวินิจฉัย (Analysis and Diagnosis)
3. การวางแผน (Planning and Approach)
4. การจัดทารายละเอียดเอกสาร (Documenting the Detail)
4.1 บทสรุปของผูบ้ ริหาร
4.2 ภูมิหลัง เช่น กิจกรรม บุคลากร หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการความรูส้ ่กู ารปฏิบตั ิ - 3
4. การจัดทารายละเอียดเอกสาร (Documenting the Detail) - ต่อ
4.3 กรณี ศึกษาของการจัดการความรู้ เริ่มตัง้ แต่การนิยามปฏิบตั ิ การ
โอกาส ประโยชน์ และความสาเร็จของการจัดการความรู้
4.4 สถานการณ์ของการจัดการความรู้ในปัจจุบนั
4.5 สิ่งที่ผม้ ู ีส่วนได้ส่วนเสียต้องการและความรู้ที่ต้องมี
4.6 วิสยั ทัศน์ ของการจัดการความรู้
4.7 รายละเอียดของยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยกิจกรรมและโครงการ
ที่มีความหลากหลาย
5. การสื่อสารและสร้างการยอมรับ (Communicating and Gaining
Acceptance)
Q&A
Sawadee