การนาเสนอ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกด้ วยวาจา (ประเมินซ้า) 23 กุมภาพันธ์ 2554 รายชื่อคณะกรรมการ รองศาสตราจารย์ ประดิษฐ์ มีสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีด์มิ น นครินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสั นต์ อติศัพท์ นางกันยปริณ ทองสามสี ประธานประเมินคุณภาพภายนอก กรรมการประเมินคุณภาพภายนอก กรรมการประเมินคุณภาพภายนอก เลขานุการประเมินคุณภาพภายนอก.

Download Report

Transcript การนาเสนอ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกด้ วยวาจา (ประเมินซ้า) 23 กุมภาพันธ์ 2554 รายชื่อคณะกรรมการ รองศาสตราจารย์ ประดิษฐ์ มีสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีด์มิ น นครินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสั นต์ อติศัพท์ นางกันยปริณ ทองสามสี ประธานประเมินคุณภาพภายนอก กรรมการประเมินคุณภาพภายนอก กรรมการประเมินคุณภาพภายนอก เลขานุการประเมินคุณภาพภายนอก.

การนาเสนอ
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกด้ วยวาจา
(ประเมินซ้า)
23 กุมภาพันธ์ 2554
รายชื่อคณะกรรมการ
รองศาสตราจารย์ ประดิษฐ์ มีสุข
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีด์มิ น นครินทร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสั นต์ อติศัพท์
นางกันยปริณ ทองสามสี
ประธานประเมินคุณภาพภายนอก
กรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
กรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
เลขานุการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอก กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ และ
สั งคมศาสตร์ (ประเมินซ้า)
สรุ ปผลการประเมินจาแนกรายมาตรฐาน
ลาดับ
ชื่อมาตรฐาน
ค่านา้ หนัก
1
มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต
30.00
2
มาตรฐานด้ านงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์
25.00
3
มาตรฐานด้ านการบริการวิชาการ
30.00
4
มาตรฐานด้ านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
15.00
ค่าเฉลีย่ ถ่ วงนา้ หนัก 4 มาตรฐานแรก
100.00
5
มาตรฐานด้ านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร
20.00
6
มาตรฐานด้ านหลักสู ตรและการเรียนการสอน
20.00
7
มาตรฐานด้ านระบบการประกันคุณภาพ
20.00
ค่าเฉลีย่ ถ่ วงนา้ หนัก 7 มาตรฐาน
ผลการตัดสิน
160.00
คะแนนที่ได้
ผลการประเมิน
4.00
4.20
ดี
ดี
3.50
5.00
4.05
4.18
3.44
5.00
4.11
พอใช้
ดีมาก
ดี
ดี
พอใช้
ดีมาก
ดี
รับรองมาตรฐาน
แนวปฏิบัติที่ดี
1.
2.
ระบบการอยู่ร่วมกันแบบเอือ้ อาทรของบุคลากรภายในคณะ
การพัฒนานักศึกษาและกิจกรรมพิเศษเน้ นนักศึกษาเป็ นสาคัญ
มาตรฐานที่ 1 ด้ านคุณภาพบัณฑิต
จุดเด่ น
1. ความพึงพอใจบัณฑิตในการปฏิบัติงาน ความอดทน คุณธรรมและ
จริยธรรม
2. ศิษย์ เก่าทีไ่ ด้ รับรางวัลทางวิชาชีพ วิชาการ และคุณธรรมจริยธรรม
3. การตีพมิ พ์บทความวิทยานิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษาในวารสารระดับชาติ
มาตรฐานที่ 1 ด้ านคุณภาพบัณฑิต (ต่ อ)
จุดทีค่ วรพัฒนา
1. การพัฒนาทางภาษาไทยและต่างประเทศให้นก
ั ศึกษาเพิ่มขึ้นเพื่อ
ประโยชน์ทางวิชาชีพทั้งในและต่างประเทศ
2. การส่ งเสริ มการตีพิมพ์งานวิจยั ทั้งจากวิทยานิ พนธ์และสารนิ พนธ์
3. การพิจารณาตลาดแรงงานในแต่ละสาขาที่เปิ ดสอน และปรับแผนการ
ผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับตลาดแรงงาน
มาตรฐานที่ 1 ด้ านคุณภาพบัณฑิต (ต่ อ)
โอกาสในการพัฒนา/ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
1. หลายสาขาวิชาสามารถนาไปสู่ อาชีพอิสระได้ เช่นศิลปะ
ภาษาต่างประเทศ ควรส่ งเสริ มให้นกั ศึกษามีเจตคติและทักษะด้านนี้
ด้วย
2. งานวิจยั วิทยานิ พนธ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและการแก้ปัญหาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
มาตรฐานที่ 2 ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์
จุดเด่ น
1. คณาจารย์ ในคณะมีศักยภาพในการผลิตผลงานสร้ างสรรค์ และส่ งเสริม
สนับสนุนการเผยแพร่ ผลงานสร้ างสรรค์ ด้านศิลปกรรม
2. ได้ รับงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ภายนอก
สถาบันจานวนมาก
3. มีอาจารย์ ทาวิจัยและงานสร้ างสรรค์ โดยได้ รับทุนวิจัยภายในและ
ภายนอกจานวนมาก ร้ อยละ 56 และ 23 ตามลาดับ
มาตรฐานที่ 2 ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ (ต่ อ)
จุดทีค่ วรพัฒนา
1.
2.
ควรพัฒนางานสร้ างสรรค์ของอาจารย์ เพือ่ ขอตาแหน่ งทางวิชาการ
เทียบเคียงงานวิจัย
ควรพัฒนางานวิจัยด้ านมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ เพิม่ ขึน้ ตาม
กรอบทิศทางของคณะและมหาวิทยาลัย
มาตรฐานที่ 2 ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ (ต่ อ)
โอกาสในการพัฒนา/ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
1.
2.
ควรพัฒนาวารสารวิจัยของมหาวิทยาลัยเข้ าสู่ ฐาน TCI โดยเร็วเพือ่
ยกระดับคุณภาพการเผยแพร่ ผลงานวิจัยของอาจารย์ และนักศึกษา
บัณฑิตศึกษา
ควรเพิม่ การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์
ของคณะและมหาวิทยาลัยเพิม่ ขึน้
มาตรฐานที่ 3 ด้ านบริการวิชาการ
จุดเด่ น
1. คณะได้ ดาเนินการบริการวิชาการอย่ างต่ อเนื่องและมีความหลากหลาย
สามารถตอบสนองความต้ องการของชุมชน และกลุ่มประชากรใน
พืน้ ทีไ่ ด้ เป็ นอย่ างดี
2. กลุ่มผู้รับบริการวิชาการในพืน
้ ทีพ่ หุวฒ
ั นธรรมมีความพึงพอใจ และให้
ความสนใจในบริการวิชาการที่จัดให้ อย่ างยิง่
จุดทีค่ วรพัฒนา
-
มาตรฐานที่ 3 ด้ านบริการวิชาการ (ต่ อ)
โอกาสในการพัฒนา/ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
การให้ บริการวิชาการทีม่ ีค่าใช้ จ่ายสู ง ควรได้ จัดเก็บค่ าบริการวิชาการ
เพือ่ ให้ คณะมีรายได้ มาเสริมรายจ่ ายของการบริการวิชาการได้ อย่ าง
ต่ อเนื่อง และสามารถใช้ พฒ
ั นาศักยภาพการบริการวิชาการของคณะให้
เข้ มแข็งยิง่ ขึน้
มาตรฐานที่ 4 ด้ านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
จุดเด่ น
คณะได้ รับงบประมาณอย่ างเพียงพอสาหรับจัดกิจกรรมและโครงการ
เพือ่ ทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมอย่ างมาก และต่ อเนื่องทั้งปี โดยมี
นักศึกษา บุคลากร ตลอดจนประชาชนและหน่ วยงานภายนอกเข้ าร่ วม
อย่ างเต็มใจและให้ การสนับสนุนการดาเนินงานในด้ านนีอ้ ย่ างดี
จุดทีค่ วรพัฒนา
-
มาตรฐานที่ 4 ด้ านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
โอกาสในการพัฒนา/ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
คณะควรสารวจสื บค้ นจัดกิจกรรมรื้อฟื้ นส่ งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม
ของท้ องถิ่น/ชุ มชนทีม่ ีอยู่ แต่ กาลังจะสู ญหายไป เพราะคนรุ่นใหม่ ไม่
รู้จัก เพือ่ ให้ ชุมชน/สั งคมได้ เรียนรู้ ซาบซึ้ง และชื่นชมอีก จะทาให้ คณะ
ได้ รับการยอมรับจากชุ มชนและพืน้ ทีใ่ นการเป็ นผู้ทานุบารุงศิลปะและ
วัฒนธรรมอย่ างดี
มาตรฐานที่ 5 ด้ านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร
จุดเด่ น
1. ผู้บริหารมีวส
ิ ั ยทัศน์ ขับเคลือ่ นพันธกิจ สามารถสะท้ อนนโยบายและ
นาไปสู่ เป้าหมายการบริหารจัดการทีด่ ี และมีผลการประเมินปฏิบัติงาน
โดยกรรมการทีแ่ ต่ งตั้งโดยสภามหาวิทยาลัยในระดับดีมาก (2.87)
2. มีการใช้ ทรัพยากรภายในและภายนอกร่ วมกันและมีผลการประหยัด
งบประมาณจากการใช้ ทรัพยากรร่ วมกันกับหน่ วยงานอืน่
มาตรฐานที่ 5 ด้ านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร (ต่ อ)
จุดทีค่ วรพัฒนา
มีการพัฒนาศักยภาพฐานข้ อมูลเพือ่ การบริหาร การเรียนการสอนและ
การวิจัย, e-Office, และระบบ MIS ใช้ ร่วมกับมหาวิทยาลัย แต่ ควรมีการ
ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ฐานข้ อมูลระดับคณะด้ วย เพือ่ นามา
ปรับปรุงระบบฐานข้ อมูล
มาตรฐานที่ 5 ด้ านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร (ต่ อ)
โอกาสในการพัฒนา/ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
1. ควรปรับปรุ งค่ าใช้ จ่ายทั้งหมดต่ อจานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ าให้
ใกล้เคียงกับค่ ามาตรฐาน
2. ควรส่ งเสริมสนับสนุนให้ อาจารย์ เข้ าร่ วมประชุ มวิชาการหรือนาเสนอ
ผลงานวิชาการทั้งในประเทศและต่ างประเทศมากขึน้
มาตรฐานที่ 6 ด้ านหลักสู ตรและการเรียนการสอน
จุดเด่ น
1. หลักสู ตรได้ มาตรฐานตามที่ สกอ กาหนด
2. รางวัลและความโดดเด่ น มีอต
ั ลักษณ์ ทางด้ านศิลปะและงานสร้ างสรรค์
ของนักศึกษา คณาจารย์
มาตรฐานที่ 6 ด้ านหลักสู ตรและการเรียนการสอน (ต่ อ)
จุดทีค่ วรพัฒนา
1. การพัฒนาคุณวุฒิ และตาแหน่งทางวิชาการของอาจารย์
2. การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญที่มีความหลากหลาย สภาพแวดล้อม
ใหม่การเรี ยนรู ้ นาไปสู่ การพัฒนานวัตกรรมการเรี ยนรู ้ ทั้งด้านรู ปแบบการเรี ยน
การสอน การบูรณาการเทคโนโลยีในการเรี ยนรู้ รวมถึงยกระดับคุณภาพของ
บทเรี ยนออนไลน์
3. การเน้น Authentic learning และ Authentic assessment
4. การขยายเวลาในการให้บริ การด้านห้องปฏิบตั ิการ ห้องคอมพิวเตอร์ แก่นก
ั ศึกษา
5. สร้างแรงผลักและแรงจูงใจการเรี ยนรู ้ และการใช้ทรัพยากรการเรี ยนรู ้ที่
หลากหลาย ทั้งในห้องสมุด และแหล่งสารสนเทศที่น่าเชื่อถือ
โอกาสในการพัฒนา/ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
มาตรฐานที่ 6 ด้ านหลักสู ตรและการเรียนการสอน (ต่ อ)
โอกาสในการพัฒนา/ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
ความร่ วมมือกับสานักวิทยบริ การในการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ที่มีเทคโนโลยี
เป็ นฐาน การเรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยน และการส่ งเสริ มการใช้ฐานข้อมูล
อิเล็คทรอนิคส์เพื่อการเรี ยนรู ้และการวิจยั
มาตรฐานที่ 7 ด้ านการประกันคุณภาพ
จุดเด่ น
คณะมีความตระหนักและความพยายามในการดาเนินงานการประกัน
คุณภาพภายในคณะอย่ างต่ อเนื่อง ได้ พฒ
ั นากลไก กระบวนการ
ตลอดจนส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของบุคลากร กระทัง่ สามารถผ่ านเกณฑ์
การประเมินคุณภาพภายนอกในรอบทีส่ องของการะประเมินได้
จุดทีค่ วรพัฒนา
-
มาตรฐานที่ 7 ด้ านการประกันคุณภาพ (ต่อ)
โอกาสในการพัฒนา/ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
1. คณะต้ องมีกลไกให้ บุคลากรทุกคนเห็นความสาคัญและมีส่วนร่ วมใน
กระบวนการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาของคณะ ตามคู่มือและ
มาตรฐานของสมศ.
2. ต้ องจัดระบบและกลไกการรวบรวมหลักฐานอย่ างถูกต้ องและครบถ้ วน
เพือ่ จัดทารายงานการประเมินตนเองได้ อย่ างมีคุณภาพ
3. รายงานการประเมินตนเองควรเพิม่ การสรุปคะแนนอิงมาตรฐาน อิง
พัฒนาการ และการบรรลุเป้าหมายในแต่ ละตัวบ่ งชี้ และเฉลีย่ ผลการ
ประเมินตอนท้ ายแต่ ละมาตรฐาน เพิม่ รายชื่อกรรมการประจาคณะใน
ภาคผนวก รวมทั้งพิสูจน์ อกั ษรและการใช้ ภาษาอังกฤษให้ ถูกต้ อง
ข้ อเสนอแนะและทิศทางพัฒนา (เร่ งด่ วน)
1.
2.
3.
พัฒนาการบริ การวิชาการแบบหารายได้เพิ่มขึ้นอย่างเป็ นระบบตาม
จุดเน้นของกลุ่มมหาวิทยาลัยที่เน้นผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม
เร่ งพัฒนาอาจารย์ท้ งั ด้านคุณวุฒิปริ ญญาเอกและผลงานวิชาการอย่าง
เป็ นระบบรายบุคคลและทาข้อตกลงร่ วมกัน
เร่ งปรับสัดส่ วนอาจารย์ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าตามมาตรฐาน
สกอ.และสมศาสตราจารย์ที่กาหนด 1:25 โดยเพิม่ อาจารย์บาง
สาขาวิชา