2 โครงสร้างระบบเอกสารคุณภาพ

Download Report

Transcript 2 โครงสร้างระบบเอกสารคุณภาพ

วิชา การพัฒนางานด้ วยระบบคุณภาพ และการเพิม่ ผลผลิต
• รหัส 3000 – 0101
(3–0–3)
นายสุ ชาติ รอดสุ วรรณ
ครูผู้สอน
086-864-8689
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
วิวฒ
ั นาการด้ านการบริหารคุณภาพ
การบริหารคุณภาพเริ่มขึน้ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
โดยกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา
หลังจากญีป่ ุ่ นแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ นาระบบบริหาร
คุณภาพมาใช้ ในอุตสาหกรรมจนประสบความสาเร็จ
สาหรับประเทศไทย นาระบบบริหารคุณภาพเข้ ามาใช้ ในปี
2518 โดยบริษทั บริดสโตน และบริษทั ฮีโนอุตสาหกรรม
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
1. แนวคิดการสร้ างคุณภาพสมัยเดิมกับสมัยใหม่
แบบดั้งเดิม
แบบสมัยใหม่
1. เป็ นภารกิจของฝ่ ายผลิต/โรงงานแก้ ปัญหาเอง
2. มีสายงานช่ วยฝ่ ายผลิตตรวจสอบคุณภาพ/
วิเคราะห์ /ปรับปรุ ง
3. ตรวจสอบหาของเสี ย ทาตามเกณฑ์ ทยี่ อมรับได้
4. ควบคุมคุณภาพโดยการตรวจสอบ
5. เน้ นคุณภาพจนทาให้ ต้นทุนสู ง
6. ควบคุมคุณภาพทาให้ การผลิตล่ าช้ า
1.
2.
3.
4.
เป็ นภารกิจของทุกฝ่ ายร่ วมกันแก้ ปัญหา
ทุกสายงานตรวจสอบคุณภาพ/วิเคราะห์ /ปรับปรุง
ปรับปรุงวิธีการทางานเพือ่ ให้ คุณภาพดีขนึ้
สร้ างคุณภาพในจิตสานึกไม่ ใช่ ควบคุม
5. ปรับปรุงคุณภาพทาให้ ต้นทุนการผลิตต่าลง
6. คุณภาพกับการผลิตถือปฏิบตั ิควบคู่กนั ไปทาให้
การผลิตไม่ ล่าช้ า
7. เป้ าหมายคุณภาพ คือ ระดับของเสี ยทีย่ อมรับได้ 7. เป้ าหมายของเสี ยเป็ นศูนย์
8. เน้ นลดต้ นทุนมากกว่ าปรับปรุงคุณภาพ
8. เน้ นปรับปรุงคุณภาพช่ วยลดต้ นทุนได้
9. มักจะขัดแย้ งกันระหว่ างฝ่ ายผลิตและฝ่ ายคุณภาพ 9. สามัคคีกนั ในกิจการกลุ่ม
10. ผู้รับผิดชอบคุณภาพมีจานวนน้ อย
10. ผู้รับผิดชอบคุณภาพมีทวั่ ทั้งองค์ กร
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2. ความหมายของวงจรเดมมิง่
1. วงจรเดมมิง่ (Deming Cycle) หมายถึง
กระบวนการทางานอย่ างต่ อเนื่องด้ วย
เหตุผล และมีประสิ ทธิภาพเพือ่ ให้ งาน
บรรลุเป้าหมาย ประกอบด้ วย 4 ขั้นตอน
หลักคือ การวางแผน การดาเนินการ การ
ตรวจสอบ การแก้ ไขปรับปรุง
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2. วงจรเดมมิง่ (Deming Cycle) ประกอบด้ วย
P = Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายทีไ่ ด้ กาหนดขึน้
D = Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้ เขียนไว้ อย่ างเป็ นระบบ
C = Check คือ การตรวจสอบผลการดาเนินงานในแต่ ละขั้นตอน
A = Action คือ การปรับปรุงแก้ไขส่ วนทีม่ ีปัญหา
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
3. ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากวงจรเดมมิง่ ( Demimg Cycle )
1. ทาให้ มีการดาเนินงานอย่ างเป็ นระบบ ตั้งแต่ ข้นั การศึกษางาน
ขั้นเตรียมงาน ขั้นดาเนินงาน ขั้นการประเมินผล
2. ทาให้ ทราบขั้นตอน วิธีการ และละสามารถเตรียมงานล่วงหน้ าได้
3. การปฏิบัติงานเกิดความราบรื่น และเรียบร้ อยนาไปสู่ เป่ าหมายทีไ่ ด้ กาหนดไว้
4. การตรวจสอบให้ ผลทีเ่ ทีย่ งตรงเชื่อถือได้ เช่ น ตรวจสอบจากเป้าหมายที่
กาหนดไว้ มีเครื่องมือทีเ่ ชื่อได้ มีเกณฑ์ ในการตรวจสอบทีช่ ั ดเจน
5. มีการปรับปรุงแก้ไข ข้ อบกพร่ องทีเ่ กิดขึน้
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
หน่ วยที่ 2 กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ
• 2.1 เข้ าใจกิจกรรมการดาเนิน 5 ส.
• 2.2 เข้ าใจการดาเนินกิจกรรมคุณภาพ QCC
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1 กิจกรรม 5 ส.
2.1.1 กิจกรรม 5 ส. หมายถึงอะไร
เป็ นกิจกรรมพืน้ ฐานในการเพิม่ ผลผลิตและเพิม่ คุณภาพช่ วยให้ มี
ประสิ ทธิภาพในการทางานดีขนึ้ อย่ างเสมอต้ นเสมอปลาย และยัง
ช่ วยให้ เกิดความปลอดภัยในการทางาน
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1 กิจกรรม 5 ส.
5 ส. ประกอบด้ วย
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1 กิจกรรม 5 ส.
2.1.2 ส 1 คือ สะสาง SEIRI หมายถึง
การสารวจสิ่ งของแล้ วคัดแยกของทีไ่ ม่ จาเป็ นและขจัดออกไป
2.1.3 ขั้นตอนการทาสะสาง
สารวจ
แยก
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
ขจัด
2.1 กิจกรรม 5 ส.
2.1.4 ส 2 คือ สะดวก SEITON หมายถึง
AA BB CC
AA BB CC
AA BB CC
AA BB CC
การจัดวางหรือจัดเก็บ
สิ่ งของให้ เป็ นระบบเพือ่
ความสะดวกและปลอดภัย
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1.4 ส 2 คือ สะดวก SEITON
ขั้นตอนการทาสะดวก
1.ของทีไ่ ม่ ต้องการขจัดทิง้ ไป
2. ของทีต่ ้ องการจัดไว้ ให้ เป็ นระเบียบ
MATCO
3. กาหนดที่วางให้ แน่ ชัด
4. ทาสี ตีเส้ นให้ เห็นชัดเจน
5. ติดป้ายแสดงที่วางของนั้นๆ
6. ของทีน่ ามาวางต้ องติดชื่อ
7. ที่วางต่ างๆ ให้ เขียนลงในตารางตรวจเช็ค
8. ตรวจเช็คพืน้ ที่โดยสม่าเสมอ
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1.5 ส 3 คือ สะอาด SEISO
การทาความสะอาดโดยการปัดกวาด เช็ดถู
บริเวณต่ างๆ โดยรอบบริเวณทางาน
อย่ างต่ อเนื่องสม่าเสมอ และมุ่งเน้ นการ
บารุ งรักษาเครื่องใช้ ให้ อยู่ในสภาพที่ใช้ งาน
ได้ ตลอดเวลา
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1.6 ส 4 คือ สุ ขลักษณะ SEIKETSU
คือ การทาสถานทีใ่ ห้ หน้ าอยู่ เมื่อเข้ าไปใน
สถานทีแ่ ล้ วเกิดความสุ ขกายสบายใจ
และมีบรรยากาศทีส่ ่ งเสริมมนุษย์ สัมพันธ์
ระหว่ างเพือ่ นร่ วมงาน
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1.7 ส 5 คือ สร้ างนิสัย SHISUKE
คือ การปลูกจิตสานึกของทุกคนในที่
ทางานให้ คานึงถึง 4ส. ให้ คงอยู่ตลอดไป
MATCO
MITSUBISHI
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1.8 ขั้นตอนการทากิจกรรม 5 ส.
1. ขั้นเตรียมการ ( PREPARATION )
2. ขั้นเริ่มดาเนินการ (KICK OFF PROJECT)
3. ขั้นตอนดาเนินการ (IMPLEMENTATION)
4. ขั้นการปรับปรุ งและสร้ างมาตรฐาน
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.1.9 ประโยชน์ ของการทากิจกรรม 5 ส.
1. บุคลากรทางานได้ เร็วขึน้
2. เกิดความร่ วมมือร่ วมใจในองค์ กร
3. บุคลากรปฏิบัตติ ามกฏและมีระเบียบวินัยมากขึน้
4. บุคลากรมีจติ สานึกในการปรับปรุง ซึ่งนาไปสู่
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของการทางาน
5. เป็ นการยืดอายุการทางานของเครื่องจักร เครื่องมือต่ างๆ
6.การไหลเวียนของวัสดุและ WORK IN PROCESS จะราบรื่นขึน้
7. พืน้ ที่ทางานเป็ นระเบียบ สถานที่ทางานสะอาด และปลอดภัย
8. ใช้ วสั ดุคุ้มค่ าต้ นทุนต่า
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2 การดาเนินกิจกรรมคุณภาพ (QCC:
QUALITY CONTROL CYCLY)
2.2.1 ความหมายของวงจรควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ คือ การบริหารงานด้ านวัตถุดบิ
กระบวนการผลิต และผลผลิตให้ ได้ คุณภาพ
ตามความต้ องการของลูกค้ า
กิจกรรมกลุ่ม คือ ความร่ วมมือร่ วมใจในการทางานหรือสร้ าง
ผลงานตามเป้าหมาย ซึ่งประกอบด้ วยผู้บริหาร พนักงาน
เครื่องมือ เครื่องใช้ ระเบียบกฎเกณฑ์ และอืน่ ๆ
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2.1 ความหมายของวงจรควบคุมคุณภาพ
ดังนั้น
กิจกรรม QCC คือ กิจกรรมที่สร้ างความร่ วมมือร่ วมใจใน
การสร้ างผลงานให้ ได้ คุณภาพตามเป้าหมาย โดยค้ นหา
จุดอ่ อนและหาสาเหตุแห่ งปัญหา แล้ วระดมปัญญา
แก้ ไขปรับปรุ งและวางแผนคุณภาพอย่ างเป็ นระบบ
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2.2 ความเป็ นมาของกิจกรรม QCC
วิชาสถิตถิ ูกนามาใช้ กบั การตรวจสอบคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกาโดย C.N.
FRAZEE ในปี 1916
ต่ อมาในปี ค.ศ. 1924 Dr.Walter A. Shewhart ได้
นาวิชาสถิตปิ ระยุกต์ และแผนภูมิควบคุมมาใช้ ใน
การควบคุมการผลิต
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2.2 ความเป็ นมาของกิจกรรม QCC
การพัฒนากิจกรรม QCC ในประเทศญีป่ ุ่ น
ช่ วงที่ 1 พ.ศ. 2489 – 2493 ดร.เดมมิ่ง ได้ นาความรู้
ด้ านการควบคุมคุณภาพมาเผยแพร่ ในประเทศญีป่ ุ่ น
ช่ วงที่ 2 พ.ศ. 2494 – 2497 มีการใช้ SQC ในประเทศญีป่ นุ่
ช่ วงที่ 3 พ.ศ. 2498 – 2503 การพัฒนาควบคุมคุณภาพให้
เป็ นความรับผิดชอบของพนักงานทุกคน
ช่ วงที่ 4 พ.ศ. 2503 ใช้ ระบบ QCC แล้ วพัฒนามาเป็ น TQM
ในประเทศไทยได้ นากิจกรรม QCC มาควบคุมคุณภาพโดย
บริษทั ในเครือของนักลงทุนของญีป่ ุ่ น
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2.3 หลักการพืน้ ฐานของกิจกรรม QCC
1. หลักการพัฒนาคุณภาพ
1.1 พัฒนาคน
1.2 พัฒนางาน
1.3 พัฒนาทีมงาน
2. หลักการจัดกิจกรรม QCC
2.1 การใช้ หลักสถิตใิ นการควบคุมคุณภาพ
2.2 การบริหารแบบมีส่วนร่ วม
2.3 กิจกรรมที่ต้องทาอย่ างต่ อเนื่อง
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2.4 ขั้นตอนและวิธีดาเนินกิจกรรม QCC
1. การจัดตั้งกลุ่มกิจกรรม QCC
1.1 พนักงานรวมตัวกัน 3- 10 คน
1.2 ตั้งชื่อกลุ่ม
1.3 จัดตาแหน่ งหน้ าทีร่ ับผิดชอบ
1.4กาหนดสั ญลักษณ์ และคาขวัญกลุ่ม
1.5 จัดการประชุ มกลุ่ม
2. ค้ นหาปัญหา
2.1การเสนอประเด็นปัญหา
ว่ าจะดาเนินการในส่ วนใดก่อน
2.2 เลือกประเด็นปัญหาที่จะ
ดาเนินการปรับปรุง
2.3 ทาการวิเคราะห์ ลาดับ
ความสาคัญของปัญหา
2.4 เลือกปัญหาทีม่ ีคะแนนสู งสุ ด
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2.4 ขั้นตอนและวิธีดาเนินกิจกรรม QCC
3.รวบรวมข้ อมูล
3.1 รวบรวมข้ อมูลจากความเป็ นจริง
3.2 บันทึกข้ อมูลด้ วยแผ่ นข้ อมูล
3.3 นาเสนอข้ อมูลด้ วยพาลาโตไดอะแกรม
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2.4 ขั้นตอนและวิธีดาเนินกิจกรรม QCC
4.ใช้ แผนภูมิก้างปลาทาการ
วิเคราะห์ และแก้ ไขปัญหาปัญหา
วิธีการ
กีการคิดแนวทางการ
แก้ปัญหาใหม่ ๆ
คน
การปฏิบตั ิงานจริ งไม่ตรง
กับขั้นตอนที่ระบุ
Work Intruction ไม่ชดั เจน
ไม่มีการสุ่ ม Recheck
Stock Cark
ต้องการทางานให้ได้
ตามเวลาที่กาหนด
ทางานตามความเคย
ชิน
ไม่ทางานตามขั้นตอน
ไม่ละเอียดรอบคอบ
ไม่มีการสอนงานที่ถูกต้อง
พนักงานใหม่
ขาด
ความ
ชานาญ
เครื่ องคิดเลข
เครื่ องจักร
ไม่มีการตรวจสอบการ
ใช้งานของเครื่ องคิดเลข
เอกสาร
ตัวเลขใน
เอกสารไม่
ชัดเจน
การแก้ไขเอกสาร
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
จานวนใน Stock Card
ไม่ตรงกับจานวน
วัตถุดิบ
ลาดับ
สาเหตุที่
Balance ไม่ตรง
วิธีการแก้ไข
ระยะเวลา
รู้ ับ ดิ ชอบ
1.
ไม่มี Standard Time
ในการทางาน
ทา Check Sheet การ
ทางานในแต่ละวันกับ
พนักงาน
23 กันยายน – 31 ตุลาคม
กั ดิชัย ริ ิ พร สุ า กา พัชรี
สมาชิกกลุ่ม
2.
ไม่มี รู ้ ับ ดิ ชอบใน ระบุ รู ้ ับ ดิ ชอบในการ
การ Train งานแก่
Train
พนักงานใหม่
2 ตุลาคม – 31 ตุลาคม
กั ดิชัย ิริพร สุ า กา พัชรี
23 กันยายน – 31 ตุลาคม
วิ ารัตน กั ดิชัย สมาชิกกลุ่ม
3.
Work Instruction
ระบุไม่ชดั เจน
จัดทาขั้นตอนการ
ทางานแบบย่อ ๆ
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2.2.5 ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการทากิจกรรมกลุ่มวงจรคุณภาพ
1. ยกระดับคุณภาพของผลผลิต
2. ช่ วยให้ เกิดความปลอดภัยในการทางาน
3.ช่ วยให้ เกิดผลด้ านจิตใจ
4. บริหารงานโดยทุกคนมีส่วนร่ วน
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
σ
กลยุทธ์ การจัดการแบบ SIX SIGMA
ปี ค.ศ. 1931 Walter A shewhart ได้ แนะนาว่ า กระบวนการใดๆ ถ้ า
ค่ าเฉลีย่ ของคุณภาพการผลิตห่ างจากเป้าหมายเกิน 3 เท่ า ควรทาการ
ปรับปรุ งและแก้ ไข
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
1. ประวัตคิ วามเป็ นมาของ SIX SIGMA
ปี ค.ศ. 1733 นายดีโมรี เป็ นบุคคลแรกทีได้ ศึกษาและพัฒนาเส้ นโค้ ง
แจกแจงปกติ แต่ ความรู้ ทไี่ ด้ คดิ ค้ นได้ สูญหายไป
ปี ค.ศ. 1924 นายคาล เพียรซัล ได้ ค้นพบความรู้ ทนี่ ายดีโมรีทา
หายไปและได้ เป็ นผู้ตพี มิ พ์จนเป็ นทีร่ ู้ จกั กัน
ปี ค.ศ. 1931 Walter A shewhart ได้ แนะนาว่ า กระบวนการใดๆ ถ้ า
ค่ าเฉลีย่ ของคุณภาพการผลิตห่ างจากเป้าหมายเกิน 3 เท่ า ควรทาการ
ปรับปรุ งและแก้ ไข
ปี ค.ศ. 1998 นายมิเกล เจ แฮรี ได้ นาเข้ ามาใช้ ในบริษทั โมโตโรล่ าจน
ใช้ เครื่องหมาย SIX SIGMA มาเป็ นเครื่องหมายการค้ า
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
หลักการหรือแนวคิดของ SIX SIGMA
1. ทุกสิ่ งทุกอย่ างคือกระบวนการ
2. กระบวนการทุกกระบวนการมีการแปรปรวน
แบบหลากหลายอยู่ตลอดเวลา
3. การนาเอาข้ อมูลมาวิเคราะห์ เพือ่ ให้ เกิดความเข้ าใจธรรมชาติ
ของการแปรปรวนแบบหลากหลายจะนาไปสู่ การพัฒนา
และการปรับปรุงกระบวนการให้ ดียงิ่ ขึน้
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
ขั้นตอนการทางานของ SIX SIGMA
1. D = Define กาหนดปัญหาและเป้ าหมายอย่ างชัดเจน
2. M = Measure การวัดเป็ นสิ่ งทีจ่ าเป็ นทีจ่ ะทาให้ ทราบสภาพระบบ
3. A = Analyze เป็ นการนาเอาข้ อมูลทีไ่ ด้ มาวิเคราะห์ เพือ่ หาสาเหตุ
4. I = Improve การพัฒนาหรือการปรับปรุงสมรรถนะและประสิ ทธิ
ของกระบวนการ
5.C = control การควบคุม การรักษาระดับไว้
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการทา SIX SIGMA
1. ช่ วยลดข้ อบกพร่ อง / ของเสี ย ให้ น้อยทีส่ ุ ดจนมุ้งเข้ าศูนย์
2. ช่ วยลดทุน ทาให้ เกิดผลกาไร และสร้ างความพึงพอใจไห้ ลูกค้ า
3. ทาให้ ทุกคนมีความกระตือรือร้ น มีอสิ ระในการคิด ปฏิบตั ิ และทางานเป็ นทีม
4. หากคุณอยากให้ องค์ กรของคุณมุ่งสู่ ระดับโลกก็เป็ นสิ่ งทีค่ วรทา
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
หน่ วยที่ 4
ระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO
• 4.1 พืน้ ฐานของมาตรฐานคุณภาพ ISO
4.2 โครงสร้ างอนุกรมมาตรฐานคุณภาพ ISO
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
• 4.1 พืน้ ฐานของมาตรฐานคุณภาพ ISO
4.1.1 ความหมายของมาตรฐานคุณภาพ ISO
โครงสร้ างของมาตรฐาน ISO 9000 : 2000
องค์ กรระหว่ างประเทศ ว่ าด้ วยมาตรฐาน หรือ ISO
(International Organization for
Standrdizaton) ได้ ประกาศใช้ มาตรฐาน
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
1. ISO 9000 เป็ นฉบับให้หลักการพื้นฐาน ของระบบการ
บริ หารงานคุณ าพ และให้นิยาม พั ทที่เกี่ยวข้อง
2. ISO 9001 เป็ นอนุกรมที่รวม ISO 9001, ISO 9000
และ ISO
9003 ปี 1994 เข้าไว้ดว้ ยกัน รวมทั้งยังให้เห็น
3. ISO 9004 เป็ นฉบับที่ปรับปรุ ง ISO 9004 - 1 : 1994
ถึง ความสามารถในการทา
เพื่อให้
ตามความต้องการของลูกค้า และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แนวทางในการเพิ่มประสิ ทธิ าพและประสิ ทธิ ลและ
และนาหลักการของการ
เพิ่ม กั ย าพในการพัฒนา
บริ หารคุณ าพ(Quality Management Principles
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
4. ISO 10011 หรือ ISO 19011 เป็ นอนุกรมที่มีเนื้ อหาสาระเกี่ยวกับ
มาตรฐาน ตู ้ รวจประเมิน
5. ISO 14001 (EnvironmentalManagement Systems)
ระบบการจัดการสิ่ งแวดล้ อม
6. มอก.18001, OHSAS 18001 (Occupational Health
and Safety management System)ระบบการจัดการอาชีว
อนามัยและความปลอดภัย
7. GMP, HACCP & ISO 22000 (Food Safety
Management Systems) ระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร
8. ISO 26000 (Social Responsibility : SR)
ความรับผิดชอบต่ อสั งคม :
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
ระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO 9000
• ระบบเอกสารคุณภาพ
คู่มอื คุณภาพ
(Quality Manual)
ระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(Work Procedure)
วิธีการปฏิบตั ิงาน
(Work Instruction)
เอกสารสนับสนุนอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วข้ องกับคุณภาพ
(Supporting Document)
เช่ น บันทึนายสุกช,รายงาน,ข้
ล,แบบฟอร์
ม, พิมพ์เขียว ฯลฯ
าติ รอดสุวรรณ วิทอ
ยาลัมูยการอาชี
พบัวใหญ่ 8068648689
• ระบบเอกสารคุณภาพ
1 ความหมายระบบเอกสาร
ระบบเอกสาร หมายถึง ระบบเกี่ยวกับ
การรวบรวมหนังสื อที่มีลกั ษณะ
ซับซ้อน โดยจัดให้เป็ นลาดับตามหลัก
และเหตุ ลทางวิชาการก่อให้เกิด
ระบบ ง่ายต่อการค้นหาหรื อหยิบใช้
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2 โครงสร้ างระบบเอกสารคุณภาพ
1.คู่มือคุณภาพ ( Quality Manual : QM ) ถือ
เป็ นแนวทางนาไปปฏิบัติตามข้ อกาหนดของ
ระบบคุณภาพ ISO 9000 มีสาระสาคัญดังนี้
1.1 นโยบายคุณภาพ ( Quality Policy )
1.2 กระบวนการธุรกิจ ( Business Process )
1.3 นโยบายกิจกรรม ( Operating Policy )
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2 โครงสร้ างระบบเอกสารคุณภาพ (ต่ อ)
2. คู่มือขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน ( Procedure Manual :
PM )ถือเป็ นแนวทางในการปฏิบัตงิ านและประสานงาน
เพือ่ ให้ บรรลุเป้าหมายกิจกรรม ประกอบด้ วยสาระสาคัญ
ดังนี้
2.1 นโยบายคุณภาพ ( Quality Policy )
2.2 วัตถุประสงค์ คุณภาพ ( Quality Purpose )
2.3 ขอบข่ ายการปฏิบัติงาน ( Scope )
2.4 เอกสารอ้ างอิง
2.5 เอกสารแนบ
2.6 คานิยาม
2.7 ขั้นต้ อนการทางาน
2.8 บันทึกคุณภาพ
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2 โครงสร้ างระบบเอกสารคุณภาพ (ต่ อ)
3. คู่มือวิธีการปฏิบัตงิ าน ( Work Instructions : WI )
เป็ นการแสดงรายระเอียดหรือวิธีการทางานอย่ างระ
เอียดของแต่ ละงาน ระบุอุปกรณ์ และเทคนิคทีใ่ ช้
4. เอกสารสนับสนุน ( Supporting Document ) เป็ น
เอกสารทีใ่ ช้ ในการปฏิบัติเพือ่ ให้ มีความสมบูรณ์ และ
เป็ นไปตามข้ อกาหนดของระบบคุณภาพ ISO 9000
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
2 โครงสร้ างระบบเอกสารคุณภาพ (ต่ อ)
ขั้นตอนการเตรียมเอกสาร
ความต้ องการของ
ISO 9000
เอกสารงานปัจจุบัน
ผู้ประสารงานคุณภาพ
คณะทางาน
ตรวจเอกสาร
วิเคราะห์
ปัจจุบันเทียบกับ
กระบวนงาน
สิ่ งที่ ISO ต้ องการ
ทีเ่ กีย่ วข้ อง
เตรียมจัดลาดับกระบวนงานใหม่
เขียนคู่มอื คุณภาพ คู่มอื ขั้นตอนการทางาน คู่มอื วิธีการทางาน
อนุมตั ิ ทาการฝึ กอบรม
นาไปปฏิ
บัติ แก้ไข อบรม ปฏิบัติ
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
3 ประโยชน์ ของเอกสาร
1. ประโยชน์ ของคู่มือคุณภาพ
1.1 คู่มือคุณภาพเป็ นแบบฉบับของเอกสารทีใ่ ช้ ในการ
จัดทาระบบคุณภาพและนาระบบคุณภาพนั้นไปใช้
1.2 มีรายละเอียดของระบบการบริหารครบถ้ วน
1.3 เป็ นเอกสารอ้างอิงในการใช้ ระบบคุณภาพและ
คงไว้ ซึ่งระบบคุณภาพ
1.4 ใช้ เป็ นสื่ อประสารงาน
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
3 ประโยชน์ ของเอกสาร (ต่ อ)
2. ประโยชน์ ของนโยบายคุณภาพ
2.1 ทราบแนวทางในการการดาเนินงานด้ านคุณภาพ
ทั่วทั้งองค์ กร
2.2 ทราบความมุ่งมัน่ และความต้ องการขององค์ กร
2.3 ได้ มาซึ่งคุณภาพตามทีป่ ระสงค์ ไว้
2.4 เกิดความร่ วมมือและมีความผูกพันของมวลชลทัว่ ทั้งองค์กร
2.5 ผู้บริหารมีความรับผิดชอบด้ านการบริหารคุณภาพ
2.6 เกิดความพร้ อมในการเตรียมทรัพยากรและกิจกรรมอืน่ ๆ
2.7 เป็ นสื่ อประสารงานได้
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
3 ประโยชน์ ของเอกสาร (ต่ อ)
3. ประโยชน์ ของกระบวนการธุรกิจ
3.1 ทราบแนวทางในการดาเนินงานด้ านคุณภาพ
3.2 ผู้บริหารและผู้ร่วมงานมีความรับผิดชอบร่ วมกัน
3.3 เป็ นสื่ อประสารงานได้
4. ประโยชน์ ของนโยบายกิจกรรม
4.1 ผู้ปฏิบัติทราบข้ อมูลรายละเอียดทีต่ ้ องใช้
ในการดาเนินกิจกรรม
4.2 ผู้ปฏิบัติ ปฏิบัติได้ ถูกต้ องครบถ้ วนตามกระบวนการ
ของกิจกรรมนั้น
4.3 เกิดความรับผิดชอบในกิจกรรมนั้น
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
3 ประโยชน์ ของเอกสาร (ต่ อ)
5. ประโยชน์ ของวิธีการปฏิบัติ
6.1
6.2
6.3
6.4
6.5
6.6
ผู้ปฏิบัติงานทราบรายละเอียดและปฏิบัติได้ อย่ างถูกต้ องชัดเจน
ทราบขอบข่ ายตาแหน่ งทีร่ ับผิดชอบ
ทราบเทคนิควิธีการปฏิบัติงาน
ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงการป้องกันเพือ่ ความปลอดภัยในขณะปฏิบัติ
เป็ นเอกสารอ้างอิงในการปฏิบัติงาน
ใช้ เป็ นสื่ อในการประสานงาน
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689
นายสุ ชาติ รอดสุวรรณ วิทยาลัยการอาชี พบัวใหญ่ 8068648689