ปกป้องคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรง

Download Report

Transcript ปกป้องคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรง

ทักษะการให้ การปรึกษา
เพื่อคุ้มครองผู้ถูกกระทาความรุ นแรงในครอบครั ว
ความนา
 พระราชบัญญัตค
ิ ้ ุมครองผู้ถูกกระทาด้ วยความรุนแรง
ใน
ครอบครั ว พ.ศ. ๒๕๕๐ มี รูปแบบ วิธีการและขั น้ ตอนที่
แตกต่ างจากการดาเนินคดีอาญาทั่วไป โดยมุ่งประสงค์ ให้
ผู้กระทาผิดได้ รับโอกาสกลับตัวและยับยัง้ การกระทาผิด
ซ า้ เพื่ อ ให้ ส ามารถรั ก ษาความสั ม พั น ธ์ อั น ดี
ใน
ครอบครั วไว้ ขณะเดียวกัน ก็ต้องการยับยัง้ ปั ญหาความ
รุ นแรงไม่ ให้ เกิดซา้ หรื อยิ่งเลวร้ ายกว่ าเดิม ให้ ความ
คุ้มครองบุคคลในครอบครั วให้ ปลอดภัยจากการใช้ ความ
รุ นแรง ตลอดจนให้ ได้ รับการบาบัดฟื ้ นฟูให้ กลับสู่สภาวะ
ปกติ
พืน้ ฐานความชอบธรรมตามกฎหมาย
ในการให้ การปรึกษาสาหรับพนักงานเจ้ าหน้ าที่
 พนักงานเจ้ าหน้ าที่
 การให้ ก ารปรึ ก ษาเป็ นเครื่ องมื อ ที่ ส าคั ญ ในการ
ท างานของพนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ตามพ.ร.บ.ฉบั บ นี ้
ทัง้ นี ้ มาตรา ๓ ได้ กาหนดความหมายของ “พนักงาน
เจ้ า หน้ า ที่ ” ว่ า “ผู้ ซ่ึง รั ฐ มนตรี แต่ ง ตั้ ง ให้ ปฏิบัติการ
ตามพระราชบั ญ ญั ติ น้ี และ
ให้ ห มายความ
รวมถึ ง พนั ก งานฝ่ ายปกครองหรื อต ารวจตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณา ความอาญา”
พืน้ ฐานความชอบธรรมตามกฎหมาย
ในการให้ การปรึกษาสาหรับพนักงานเจ้ าหน้ าที่
 บทบาทการปฏิบัตงิ านของพนักงานเจ้ าหน้ าที่
 พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีบทบาทตามมาตรา ๕ ที่ต้องรั บแจ้ งเหตุ จาก
ผู้ ท่ ีถูก กระท าด้ ว ยความรุ น แรง หรื อผู้ พ บเห็น หรื อ ทราบ ด้ ว ย
ต น เ อ ง ถื อ เ ป็ น จุ ด เ ปิ ด ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น (Entry
point) ซึ่งมีความสาคัญ และต้ องมีแนวความคิดพืน้ ฐาน ที่
เข้ าใจเจตนารมย์ ของกฎหมาย จึงจะใช้ วิจารณญาณได้ ถูกต้ อง
ชัดเจน และเป็ นการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้ องกับทักษะการให้ การ
ปรึกษาด้ วยเช่ นกัน มิฉะนัน้ พนักงานก็จะเลือกกระทาในสิ่งที่ จะ
สะดวกปฏิบัติ แต่ ไ ม่ ค้ ุม ครองผู้ ถูก กระทาเท่ า ที่ควร ถือว่ า ผิด
เจตนารมณ์ ของกฎหมาย หรื อล้ มเหลวในการนานโยบาย ไป
ปฏิบัตติ งั ้ แต่ แรก
พืน้ ฐานความชอบธรรมตามกฎหมาย
ในการให้ การปรึกษาสาหรับพนักงานเจ้ าหน้ าที่

มาตรา ๖ ได้ ให้ อานาจพนักงานเจ้ าหน้ าที่เข้ าไปในเคหสถานหรื อสถานที่
เกิ ด เหตุ เพื่ อ สอบถามผู้ ท่ ี เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั ง้ มี อ านาจจั ด ให้ ผ้ ู ถู ก กระท า
ด้ วยความรุ นแรงเข้ ารั บการตรวจรั กษาจากแพทย์ และขอรั บการปรึ กษา
แนะนาจากจิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรื อนักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ ข้ อความ
ในมาตรา ๖ ทาให้ เ ราเห็น ชั ดเจนว่ า เป็ นการสื บเนื่ องจาก จุ ดเปิ ดของ
ระบบดาเนินการ (Entry point) ที่วางไว้ ในมาตรา ๕ พนักงาน
เจ้ าหน้ าที่
ต้ องปฏิบัติการ โดยให้ อานาจเข้ าไปในเคหสถาน ฯ ซึ่ง
กฎหมายเข้ าใจสถานการณ์ จริงที่เกิดขึน้ เป็ นอย่ างดี เพราะผู้ถกู กระทาด้ วย
ความรุ น แรง ส่ วนใหญ่ อยู่ ภายในเคหสถาน หรื อ บ้ าน อ านาจนี ้
จาเป็ นต้ องใช้ เพื่อยับยัง้ ไม่ ให้ ผ้ ูถูกกระทาต้ องบอบชา้ หรื อเป็ นอันตราย
มากไปกว่ านี ้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ต้องมีทักษะในการให้ การปรึ ก ษา และใช้
วิ จ ารณญาณเมื่ อเข้ าไปอยู่ ในเหตุ ก ารณ์ โดยเน้ นสวั ส ดิ ภ าพ ความ
ปลอดภัยของผู้ถูกกระทาก่ อน ส่ วนการดาเนินคดี ก็เพื่อให้ การยับยัง้ มี
ประสิ ท ธิ ผ ลขึ น้ และเพื่ อให้ เปิ ดไปสู่ ช่ องทางหรื อขั ้น ตอนของการ
บาบัดรั กษาผู้กระทาความรุ นแรง ทัง้ นี ท้ ัง้ นั น้ พนั กงานเจ้ าหน้ าที่ ต้ องมี
พืน้ ฐานของวิธีการให้ การปรึกษาตามกฎหมายฉบับนี้

พื้ น ฐานที่ ส าคัญ ที่ สุ ด คื อ ต้ อ งป้ องกัน
การถูกกระทารุนแรงซา้
 ตั ว บทกฎหมายฉบั บ นี ้
เราจะเห็ น แนวคิ ด ที่ มี ทิ ศ ทาง
ต่ างกัน ถ้ าไม่ ระมัดระวังให้ รอบคอบ พนั กงานเจ้ าหน้ าที่
ไม่ มีความแม่ นยาในการใช้ วิจารณาญาณ จะเกิด ความ
เสียหายแก่ ผ้ ูถูกกระทาด้ วยความรุ นแรงง่ ายมาก พนักงาน
เจ้ า หน้ าที่ ต้ อ งมี แ นวคิ ด ที่ ชั ด เจน และใช้ ทั ก ษะ ไปใน
ทิ ศ ทางที่ เ กี่ ย วข้ อง จุ ด ที่ น่ าจะส าคั ญ ที่ สุ ด และ พึ ง
ระมัดระวังการตีความที่อาจจะทาให้ เกิดอันตราย อย่ าง
ที่สุด คือ แนวคิดความเชื่ อที่ต้องการให้ โอกาสผู้กระทา
ความรุ น แรงได้ ก ลั บ ตั ว และยั บ ยั ง้ การกระท า ผิ ด ซ า้
พืน้ ฐานของวิธีการให้ การปรึกษาตามกฎหมายฉบับนี้
 พนั กงานเจ้ าหน้ าที่พึงตระหนั กว่ า
การรั กษาสัมพันธภาพ ใน
ครอบครั วเป็ นสิ่งที่ดี แต่ ต้องป้องกันผู้ถูกกระทาด้ วยความรุ นแรง
ให้ ปลอดภัยและไม่ ให้ ถูกกระทาซา้ เป็ นความสาคัญอันดับสูงสุด
ไม่ ควรดันทุรังรั กษาสัมพันธภาพในครอบครั ว แบบขาดความ
รอบคอบ
 ดังเช่ น กรณี เบบีพ
้ ีในประเทศอังกฤษ เมื่อ สิงหาคม
ค.ศ.
2008 (พ.ศ. ๒๕๕๑) เด็กอายุ ๑๗
เดือน ที่ถูกพ่ อเลีย้ งกระทา
ทารุ ณซา้ ซากจนตาย โดยเด็กอยู่ในมือแพทย์ หลายครั ง้ และนัก
สังคมสงเคราะห์ เยี่ยมบ้ านถึง ๖๐ ครั ง้ แต่ ไม่ สามารถปกป้อง
คุ้มครองชีวิตเด็กได้
พืน้ ฐานของวิธีการให้ การปรึกษาตามกฎหมายฉบับนี้
 พ.ศ.
๒๕๒๕ มีขาวปรากฏในหน
่
้ าหนังสื อพิมพ ์
ที่ย่านลาดพร้ าว เด็ ก ถู ก จับ ขัง ล่ามโซ่ เหมือ น
สุนัข เพือ
่ นบ้านในซอยทนไมไหว
โทรศั พท ์
่
แจ้ งต ารวจ พ่อแม่ถู ก ต ารวจเรีย กมาตัก เตือน
ขาวลงหนั
งสื อพิมพรายวั
นหน้า 1
สองวัน
่
์
ตอมา
เด็กถูกกระทืบตาย
่
 การตัก เตื อ นแบบใช้ อ านาจของต ารวจ - ไม่
เพี ยงพอจะยับยัง้ การกระทาความรุนแรงซ้า
ได้
การใช้ “อัตตาหรือตัวตน”

ทั ก ษะการเปิ ดเผยอั ต ตาหรื อ ตั ว ตนของ
พนักงานเจ้าหน้ าที่
(Self-disclosure)
 พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ ค วรได้ รับ การฝึ กฝนให้ มี
ทัก ษะในการเปิ ดเผยอัต ตาหรือ ตัว ตน (Selfdisclosure)
โดยปกติ การเปิ ดเผย อัต
ลัก ษณ ์ของตนเอง เหมือ นการแนะน าตัว ของ
พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ ซึ่ ง มี จุ ด หมายเชิ ง การ
หน้ าที่ เพื่ อ “เปิ ดประตู ใ จ ” หรื อ “ทลาย
กาแพง” ถ้าเป็ นการฝึ กอบรมธรรมดา อาจจะ
เ ป็ น ค ล า ย ๆ ก า ร ล ะ ล า ย พ ฤ ติ ก ร ร ม
กาแพงของการให้ การปรึกษา
พนักงาน
เจ้ าหน้ าที่
กาแพง
บรรทัด
ฐาน
ความเชื่อ
วัฒนธรรม
ทัศนคติ
ชายเป็ น
ใหญ่
ผู้ถูกกระทาด้ วย
ความรุ นแรง
กาแพงของการให้ การปรึกษา
 ก าแพงที่เ ป็ นบรรทัด ฐานในสั ง คม
ความเชื่อ
วัฒ นธรรม ทัศ นคติ ตลอดจนวิธค
ี ด
ิ ชายเป็ น
ใหญ่
 พนักงานเจ้าหน้าทีท
่ ใี่ นอัตลักษณของเราเองก็
มี
์
ก าแพงขวางกั้น อยู่ อาทิ บุ ค ลิก ภาพ เพศ
สภาพ หรือทัศนคติ หรือวิธค
ี ด
ิ ทีต
่ าหนิผู้หญิง
ตาหนิเหยือ
่
 ผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ น แรงก็ ม ีก าแพง เช่ น
การต าหนิต นเอง
การกลัว ว่าลูก จะไม่ได้รับ
เงิน ค่าเลี้ย งดู จ ากสามี การต้ องพึ่ง พิง ทาง
เศรษฐกิจตอสามี
หรือ ยังคงรักและห่วงใยไม่
่
อยากให้ สามี ต้องติด คุ ก คิด ว่า ถ้าเรื่องถึง
กาแพงของการให้ การปรึกษา
 ตาม
พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระทาด้ วยความรุ นแรง ใน
ครอบครั ว พ.ศ. ๒๕๕๐ เราควรสนั บสนุ นหรื อ ฝึ กให้
พนั กงานเจ้ าหน้ าที่ให้ มีทักษะการเปิ ดเผยอัตลัก ษณ์ ของ
ตนเพื่อ
 (๑) ปกป้องคุ้มครองผู้ถูกกระทาด้ วยความรุ นแรง
 (๒) ยับยัง้ การกระทาความรุ นแรงซา้ ให้ โอกาสในการ ทา
รุ นแรงเหลือศูนย์ ได้ ย่ งิ เป็ นการดี และ
 (๓) รั กษาสัมพันธภาพอันดีภายในครอบครั ว –
หาก
เป็ นไปได้
ทักษะการเปิ ดเผยอัตตา
 เราต้องการให้ผู้ถูกกระทาฯ
มองตัวตนของเรา
อยางไร
่
 ผู้ถูกกระทาด้ วยความรุ นแรงได้ พบกับเรา พูดคุยตอบคาถาม ของ
เรา แล้ วรู้สึกได้ ว่า
 “ฉันปลอดภัย” หรื อ “ท่ านเป็ นใคร ท่ านจะมาซา้ เติมฉัน ใช่ ไหม”
 “ท่ านอบอุ่นและเป็ นที่พักพิงปกป้องคุ้มครองฉันได้ ” หรื อ “ฉันคิด
ว่ า ท่ านคงช่ วยฉันไม่ ได้ หรอก”
 “ท่ า นมี อ านาจมาก ท่ า นช่ ว ยฉั น ได้ แ น่ แต่ ฉั น ก็ ไ ม่ อ ยากให้ ผั ว
(หรือพ่ อ) ของฉัน ต้ องติดคุก หรอก”
ทักษะการเปิ ดเผยอัตตา
 พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ ต้ องมี ค วามคิ ด ที่ ชั ด เจนว่ า
จะปรากฏอัตลักษณ์ ต่อหน้ าผู้ถูกกระทาฯ อย่ างไร
 คุณ/หนูไว้ วางใจดิฉัน/ผมได้ อย่ างแน่ นอน ผม/ดิฉัน
ช่ วยให้ คุ ณ /หนู ป ลอดภั ย จากการกระท ารุ น แรง
ได้ อย่ างแน่ นอน
 ดิฉัน/ผม มีอานาจหน้ าที่ตามกฎหมาย แต่ ดิฉั น/ผม
ไม่ เป็ นอั น ตรายกั บ สามี / พ่ อของคุ ณ เพี ย งแต่
เ ร า ต้ อ ง ม า ช่ ว ย กั น บ า บั ด รั ก ษ า / เ ยี ย ว ย า
สามี/พ่ อของคุณ
ทักษะการเปิ ดเผยอัตตา
พนักงานเจ้าหน้าทีต
่ องพู
ดหรือกระทาอะไร ที่
้
แสดงวา่ ดิฉัน/ผมกาลัง: เขาใจในสิ
่ งทีเ่ กิดขึน
้ กับคุณ อยาง
“เอาใจ
้
่
คุณมาใส่ใจฉัน” (Empathic
understanding)
 ทาให้ คุณไว้วางใจ ดิฉัน/ผม จนสามารถให้
ข้อมูลข่าวสาร หรือ เลาเรื
่ ง (Narrative)
่ อ
ให้ดิฉัน/ผมรับรูได
้ ้

ประการที่ สาคัญที่ สุด พนักงานเจ้าหน้ าที่ ควร
หลีกเลี่ยงการซักถาม ที่ส่งผลเป็ นการกระทา
ความรุนแรงซา้ ต่อผูถ้ กู กระทาฯ
ทักษะการประเมินความรุ นแรง
ซักถามประวัตคิ วามรุ นแรงที่เกิดขึน้ ครอบคลุมประเด็นดังต่ อไปนี ้
 ประวัตค
ิ วามรุ นแรงที่มีความเป็ นมาจนถึงปั จจุบัน
 เน้ นข้ อสังเกต ขณะความรุ นแรงกาลังจะเกิดขึน
้
 ความรุ นแรงที่เกิดขึน
้ พัฒนาการขึน้ มาอย่ างไร
 ความถี่บ่อยที่ความรุ นแรงเกิดขึน
้
 ความถี่สูงสุดที่เคยเกิดขึน
้
 การบาดเจ็บจากความรุ นแรงมีมากน้ อยเพียงใด
 ผลกระทบทางกฎหมายมีหรื อไม่ ถ้ ามี เป็ นอย่ างไร
 มีการใช้ อาวุธหรื อไม่ ใช้ อะไร อย่ างไร
 มีการใช้ สารเคมี หรื อไม่ ใช้ อะไร อย่ างไร
 แบบแผนหรื อวงจรความรุ นแรงที่เกิดขึน
้ เป็ นอย่ างไร
ทักษะการประเมินความรุนแรง
 แบบแผนหรื อ วงจรความรุ น แรงที่ต้ อ งประเมิน เป็ นเรื่ อ งส าคั ญ
พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ ควรพิ จ ารณาเหตุ ก ารณ์ ที่ เกิ ด ขึ น้ ก่ อน
เหตุ ก ารณ์ ค วามรุ น แรง ความคิ ด และพฤติก รรมของผู้ ก ระท า
ความรุ นแรงก่ อนเหตุความรุ นแรงและระหว่ างที่เกิดความรุนแรง
 ถามถึงเหตุการณความรุ
นแรงครัง้ หลังสุด
์
 ถามถึ ง ครั้ง แรกที่ สุ ด ที่ เ กิด เหตุ ก ารณ ์ ความ
รุนแรง
 เหตุการณความรุ
นแรง ครัง้ ใดทีม
่ ค
ี วามรุนแรง
์
อยางที
ส
่ ุด
่
นแรง ครัง้ ทีท
่ าให้ผู้ถูกกระทา
 เหตุการณความรุ
์
หวาดกลัว หรือบาดเจ็ บอยางมากที
ส
่ ุดนั้นเป็ น
่
อยางไร
่
ทักษะการจัดการกับแรงต้ าน/แรงเสี ยดทาน
ผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ น แรง แม้ ว่ า จะอยู่ ในภาวะที่ น่ าจะเป็ น
อันตรายอย่ างที่สุด จากความรุ นแรง แต่ ก็ไม่ ได้ ให้ ข้อมูลข่ าวสาร ที่
เป็ นประโยชน์ แก่ พนักงานเจ้ าหน้ าที่
 เรามั ก จะสะท้ อ นต่ อ พฤติก รรมที่ แ สดงการต้ า นหรื อ การเสี ย ดทาน
ของผู้ ถูกกระทาฯ ว่ า “ไม่ ให้ ความร่ วมมื อ ” ซึ่งเป็ นคาสรุ ป
ที่มี
ลักษณะตาหนิผ้ ูถูกกระทา
 อันที่จริ ง ตามหลักการให้ การปรึ กษา พนั กงานเจ้ าหน้ าที่ควร ยึด
หลักการไม่ ตาหนิติเตียน (Non-Judgemental attitudes) ดังนัน้ เราจึง
ควรแสดงความเข้ าใจ ยอมรั บ และถื อ เป็ นเรื่ องปกติ
ที่
ผู้ถูกกระทาด้ วยความรุ นแรง จะแสดงแรงต้ าน/แรงเสียดทาน ไม่ ได้
ให้ ข้อมูลข่ าวสารที่เป็ นประโยชน์ หรื อเงียบงัน หรื อปิ ดบังรายละเอียด
เป็ นประเด็นเรื่ องของ “กาแพง” ที่กล่ าวไว้ ตัง้ แต่ ข้างต้ น

ทักษะการจัดการกับแรงต้ าน/แรงเสี ยดทาน
แรงตาน/แรงเสี
ยดทานเกิดจาก:้
 (๑) ตนและลูกจาเป็ นต้องพึง
่ พิงเศรษฐกิจการเงิน
ของผู้กระทาจึงไมกล
่ ้าให้การปรักปราสามี หาก
สามีตองติ
ดคุก ตนและลูกจะเดือดรอน
้
้
 (๒) ถึงสามีจะทุบตีทาร้าย ตนก็ยง
ั รักผูกพันสามี
ทีเ่ ป็ นผู้กระท าอยู่ การให้ คนนอกเข้ ามาจัดการ
ตามกฎหมาย ยิง่ ทาให้เกิดกาแพงขวางกัน
้ จาก
ผูถู
นแรง และ
้ กกระทาดวยความรุ
้
 (๓) ผูถู
นแรง ปรักปราตนเอง
้ กกระทาดวยความรุ
้
เป็ นฝ่ ายผิด เป็ นภรรยาที่ไ ม่ ดี เป็ นแม่ บ้ านที่
บกพร่อง จึง สมควรแล้ วที่ต นจะถู ก ทุ บ ตีท าร้ าย
ทักษะการจัดการกับแรงต้ าน/แรงเสี ยดทาน
 พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ พ ึ ง ใช้ อั ต ลั ก ษณ ์ ในการ
เอาชนะแรงตาน/
แรงเสี ยดทาน
้
 อาการบาดเจ็ บทีเ่ กิด กับเธอหรือลูก ก็ เ ป็ นสิ่ ง ที่
ผู้ ถู ก ก ร ะ ท า เ กิ ด ค ว า ม รู้ สึ ก ส อ ง ฝั ก ส อ ง ใ ฝ่
(Ambivalence)
ทีจ
่ ะทาให้ยิง่ วิตกกังวล
(Anxiety) ดานหนึ
่งก็มค
ี วามคิดชุดทีส
่ ร้างแรง
้
ต้านและ แรงเสี ยดทาน ทวาอี
่ กด้านหนึ่ ง ก็
กลัว ว่าจะทนกับ อาการบาดเจ็ บ ที่เ กิด กับ ตน
และลูกไมไหว
หรือตนกับลูกอาจจะถึงแกชี
ิ
่
่ วต
 พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ เ มื่ อ ให้ การปรึ ก ษา พึ ง
วิ เ ค ร า ะ ห ์ จ า ก ค า บ อ ก เ ล่ า แ ล ะ อ วั จ น ภ า ษ า
(non-verbal)
เพือ
่ แสวงหาจังหวะเวลาที่
เ ห ม า ะ ส ม ที่ จ ะ ก ร ะ ตุ้ น ห รื อ ส นั บ ส นุ น ใ ห้
ผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงลดแรงต้านลดแรง
ทักษะการจัดการกับแรงต้ าน/แรงเสี ยดทาน
 พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ พ ึ ง สร้ างความมั่น ใจให้ กับ
ผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ น แรง ด้ วยการตอบ
คาถาม หรือรวมสนทนา
ในเชิงการบาบัดแบบ
่
เรือ
่ งเลา่ (Narrative
approach
for
counseling) เพือ
่ นาไปสู่การเสริมพลังอานาจ
(Empower)
 ให้ ผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ น แรงกลับ มามีค วาม
มั่น ใจ และเอาชนะความคิ ด สองฝั ก สองใฝ่
ตลอดจนปลดแรงต้าน ทลายกาแพงให้หมดสิ้ น
เพื่ อ การปกป้ องคุ้ มครองตามเจตนารมย ์ของ
กฎหมายจะได้บรรลุผล
ทีเ่ ป็ นประโยชนสู
์ งสุด
ทักษะการจัดการกับแรงต้ าน/แรงเสี ยดทาน
 ในการสนทนาเชิงลึก
พนักงานเจ้ าหน้ าที่พึงสร้ างความกระจ่ างชัด
กั บ ผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ นแรง ให้ สร้ างความเข้ าใจใหม่
(Redefine) ในประเด็นสาคัญ คือ สามีหรื อผู้กระทา ไม่ ใช่
ผู้ ร้ าย กฎหมายนี ้ต้ องการบ าบั ด แก้ ไขและฟื ้ นฟู ใ ห้ ผู้ กระท า
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดขี นึ ้ ไม่ เป็ นภัยคุกคามต่ อผู้ใดอีกต่ อไป
 พนั กงานเจ้ าหน้ าที่ต้องใช้ อัตลักษณ์ ให้ เป็ นประโยชน์ ในการสร้ าง
ความกระจ่ างชัด
ทักษะการสร้ างพลังอานาจ (Empowerment skills)
 การสร้ างพลั งอานาจเป็ นการสนทนาเชิงลึก
บนพืน้ ฐาน
ความเชื่อว่ า บุคคลทุกคนมีศักยภาพในการมีอานาจ แต่
เมื่อเผชิญกับเหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ ท่ ีคุกคาม บุคคล
นั ้ น จ ะ รู้ สึ ก ว่ า ต น ห ม ด พ ลั ง ห ม ด แ ร ง (powerless)
มักหมดความนับถือตนเอง และรู้สึ กวาตนไร
ค
่
้ า่
(Low self-esteem)
 ในกรณี ข องผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ น แรงใน
ครอบครัว ความรู้ สึ กเช่ นนี้ ท าให้ เรื่อ งราว
ความรุนแรงถูกปกปิ ด เก็ บเงียบ ผู้ถูกกระทา
ไดแต
้ ่ ยอมทน และปรักปราตนเองตลอดเวลา
ทักษะการสร้ างพลังอานาจ (Empowerment skills)
 ความรู้สึ กไร้พลังอานาจ
แสดงให้เห็ นจากการ
ที่ผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ น แรง ไม่ สามารถ
ควบคุมสภาพของการดาเนินชีวต
ิ ตนเอง (และ
ลู ก ) ให้ เป็ นไปโดยปกติโ ดยไม่ต้ องถู ก กระท า
นแรง
ดวยความรุ
้
 พนัก งานเจ้ าหน้ าที่พ ึง สนับ สนุ น ให้ ผู้ ถูก กระท า
ด้ วยความรุ น แรง กลับ มาควบคุ ม สภาพการ
ด าเนิ น ชีว ิต ในแต่ละวัน ของตนได้ พนั ก งาน
เ จ้ า ห น้ า ที่ พึ ง ม อ ง เ ห็ น ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง
(Strengths-based
approach)
ของ
ผู้ ถู ก ก ร ะ ท า ด้ ว ย ค ว า ม รุ น แ ร ง ค้ น ห า จุ ด ดี
มากกวาการเนนแตความออนแอ-เปราะบางของ
ทักษะการส่ งต่ อ (Referral skills)
 การส่ งต ่ อไม่ ใช่ การปั ด สวะ
หรื อ ผู้ ให้ การ
ปรึก ษาไม่มีเ วลาว่างพอ ทว่า พึง พิจ ารณา
ประโยชนสู
์ งสุด (Best interests) ของ
ผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงและครอบครัวเป็ น
สาคัญ
 การส่ งต ่ อผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ น แรงไปรับ
บริ ก ารจากหน่ วยงานอื่ น ต้ องได้ รับ ความ
ยินยอมจากผู้ถูกกระทากอน
และพึงชีแ
้ จงเรือ
่ ง
่
การรักษาความลับให้ชัดเจน นอกจากนั้น
 พึงพิจารณาติดตามผลและประเมินการส่งตอไป
่
รับบริการนั้น เป็ นไปเพือ
่ ประโยชนสู
์ งสุดของ
ผูถก
ู กระทาอยางแทจริง หรือไม
บทเรียนความไม่ พงึ พอใจของผู้ถูกูกกระทา
The Salvation Army Crisis
Service ใ น อ อ ส เ ต ร เ ลี ย ไ ด้ ร ว บ ร ว ม
ประสบการณ ์ ของเหยื่ อ และ ผู้ ผ่ านพ้ นความ
รุนแรงในครอบครัว ทีผ
่ านการให
่
้ การปรึกษา
ของพนักงานเจ้าหน้าทีอ
่ อสเตรเลีย(Seeley,&
Plunkett, 2002) พบความไม่พึง พอใจ ที่
บรรดาเหยื่อ และผู้ ผ่ านพ้ น ความรุ น แรงใน
ครอบครั ว ชาวออสเตรเลี ย ประมวลได้ ๗
ประการ
 พนั ก งานเจ้ า หน้ าที่ ไ ม่ ค้ น หา / ไม่ ป ระเมิ น
 หน่วยงาน
ความรุนแรง
บทเรียนความไม่ พงึ พอใจของผู้ถูกูกกระทา
พนักงานเจ้าหน้ าที่ขาดความรู้เรื่องธรรมชาติ
พลวัต และผลกระทบของความรุน แรงใน
ครอบครัว
 พนั ก งานเจ้ า หน้ าที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ธิ บายประเด็ น
ปัญหาความปลอดภัยให้เหยื่อเข้าใจ ไม่ได้ให้
ข้ อ มู ล เรื่ อ งทรัพ ยากรและทางเลื อ กที่ เ หยื่ อ
สามารถไปใช้บริการ เพื่อความปลอดภัยได้
 พนั ก งานเจ้ า หน้ าที่ ไ ม่ ป ระสานงานกับ นั ก

บทเรียนความไม่ พงึ พอใจของผู้ถูกูกกระทา

พนักงานเจ้าหน้ าที่ กดดันทัง้ โดยตรงและโดย
อ้อม ให้ เหยื่อ/ผู้ผ่านพ้นทาตามที่ ตนแนะนา
เหยื่อ ไม่ ได้ รับ โอกาสให้ ตัด สิ นใจด้ วยตนเอง
ท า ใ ห้ เ ห ยื่ อ รู้ สึ ก สู ญ เ สี ย พ ลั ง อ า น า จ
(Disempowerment)
แทนทีจ
่ ะเป็ นการเสริม
พลังอานาจ

พนั ก งานเจ้ า หน้ าที่ ใ ห้ ก ารปรึ ก ษาไปตาม
พยาธิ สภาพ แต่ ข าด ความเชื่ อ มโยงกับ
ความรุนแรง
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
 ผู้ ให้ การปรึก ษา
ที่ด าเนิ น การให้ การปรึกษา
จากพืน
้ ฐานความเข้าใจทีว่ า่ (ก) ความรุนแรง
ในครอบครัว ครอบคลุมด้านการกระทาทารุณ
ทางร่ างกาย ทางเพศ และอารมณ ์ (ข)
ความรุนแรงทุกรูปแบบนาไปสู่บาดแผลทางใจ
(Trauma) และ (ค) ความรุนแรง ไมเป็
่ นที่
ยอมรับอยางเด็
ดขาด
่
 มีก ารคัด กรองความรุ น แรงในครอบครัว โดย
ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า
ถ า ม ผู้ ห ญิ ง โ ด ย ต ร ง
เกี่ ย วกับ ประสบการณ ์ ความรุ น แรงที่ เ กิ ด กับ
ผูหญิ
งนั้นเป็ นการเฉพาะ
้
 ผู้ให้ การปรึกษาแสดงจุด ยืน ทีม
่ ต
ี อความรุ
นแรง
่
ในครอบครัว อย่ างชัด เจน ผู้ ให้ การปรึ ก ษา
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
 ผู้ให้ การปรึก ษาตระหนัก ว ่า
ความรุนแรงทาง
ร่ า ง ก า ย แ ล ะ ก า ร ท า รุ ณ ท า ง เ พ ศ ถื อ เ ป็ น
อาชญากรรม และผู้ ให้ การปรึ ก ษาต้ องเข้ า
แทรกแซงอย่ างที่ ไ ม่ เป็ นการต าหนิ เ หยื่ อ ทั้ง
โดยตรงและโดยออม
วาเป็
่
้
่ นความผิดของเหยือ
ทีย
่ ว่ ั ยวน-ยัว
่ ยุให้ผู้ชายมาทาร้าย ให้เกิดความ
รุ น แรง หรือ ต าหนิ ท ี่ย งั คงอยู่กิน กับ ผู้ กระท า
ความรุนแรง
 ผู้ให้การปรึกษาต้องมีความชัดเจนวา
่ ผู้กระทา
ต้องเป็ นฝ่ายรับผิดชอบโดยเต็มตอความรุ
นแรง
่
ที่ ต น ก่ อ ขึ้ น ผู้ ห ญิ ง ที่ ต ก เ ป็ น ผู้ ถู ก ก ร ะ ท า
ยอมรับ ว่า ผู้ กระท าได้ เป็ นฝ่ ายควบคุ ม ความ
รุ น แรงของตน
ไม่ว่าผู้ กระท าจะมีปั ญ หา
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
 ผู้ให้ การปรึกษาต้องตระหนักว ่า
ความรุนแรง
ในครอบครัว เป็ นแบบแผนพฤติกรรมทีผ
่ ู้ชาย
ผู้กระทาใช้เพือ
่ ครอบงาและควบคุมคูครองของ
่
ต น ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ผู้ ห ญิ ง
ผู้ ถู ก กระท าสามารถแยกแยะแบบแผนการ
ควบคุ ม และความรุ น แรงนี้ แทนที่จ ะรวมศูน ย ์
ไปทีเ่ หตุการณความรุ
นแรงเป็ นการเฉพาะ
์
 ความปลอดภัย ของผู้ หญิง ผู้ ถู ก กระท าและเด็ ก
เป็ นล าดับ ความส าคัญ แรก ของการให้ การ
ปรึกษาทุกกรณี และผู้ให้การปรึกษาพึงแสดง
ความตระหนั ก ในการรัก ษาความปลอดภัย นี้
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
ก า ร ต ร ะ ห นั ก ใ น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ต้ อ ง มี ก า ร ใ ห้
ความสาคัญดังตอไปนี
้:
่
 ผูให
้ ้การปรึกษาช่วยให้ผู้หญิงผู้ถูกกระทาสามารถ
ประเมินระดับความเสี่ ยงและประเมินความรุนแรงที่
จะเพิม
่ มากขึน
้ เพียงใด เมือ
่ เวลาผานไป
่
 ผู้ ให้ การปรึก ษาสนั บ สนุ น ให้ ผู้ หญิง ผู้ ถู ก กระท า
พัฒ นาแผนความปลอดภัย ของตนและสามารถ
แยกแยะสั ญญาณเตื อ นภัย จากความรุ น แรงที่
อาจจะกาลังคุกรุนอยู
่
่ ทัง้ นี้ ผูให
้ ้การปรึกษาต้อง
ชัด เจนว่ า ถึ ง แม้ จะมีแ ผน ความปลอดภัย ที่ ด ี
อย่ างที่ สุ ด ก็ อาจจะไม่ สามารถรั ก ษาความ
ปลอดภัยไวได
้ ้
 ผู้ ให้ การปรึก ษาต้ องให้ ข้ อมู ล ข่าวสารแก่ผู้ หญิง
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
 ผู้ ให้ การปรึ ก ษาจะด าเนิ น การด้ วยวิ ธ ี ก ารที่
คานึงถึงความปลอดภัย ของผู้หญิงผู้ถูกกระทา
เ ป็ น ล า ดั บ แ ร ก ห า ก ก า ร เ ข้ า ถึ ง ผู้ ห ญิ ง
ผู้ถูก กระท าของผู้ ให้ การปรึก ษาอาจจะน าไปสู่
ความไม่ปลอดภัย อาทิ การค านึ ง ถึง ความ
ปลอดภัยเมือ
่ ต้องฝากข้อความในโทรศั พทระบบ
์
ฝากข้อความ หรือยินยอมทีจ
่ ะติดตอผ
อ
่ น
่ านเพื
่
ข อ ง ผู้ ถู ก ก ร ะ ท า แ ท น ที่ จ ะ ติ ด ต่ อ กั บ
ผูถู
้ กกระทาโดยตรง
 ผูให
้ ้การปรึกษาให้ความสนใจกับสวัสดิภาพของ
เด็กทีอ
่ ยูในความดู
แลของผู้หญิงผู้ถูกกระทา มี
่
การหารือ กับผู้หญิง ผู้ถูก กระทาถึงผลกระทบ ที่
เกิดจากเด็กไดรั
ความรุนแรงในครอบครัว
้ บรูเหตุ
้
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
 ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ร ว ม ศู น ย ์ ค ว า ม ส น ใ จ ไ ป ที่
สภาพการณ ์ปัจ จุ บ น
ั ของผู้ หญิง ผู้ ถูก กระท าด้วย
ความรุนแรง ในกรณีทค
ี่ วามรุนแรงเกิดขึน
้ อยาง
่
ต่อเนื่ อ ง เพราะว่ า การให้ ความช่ วยเหลือ ที่
ผานมา
อาจส่งผลกระทบเป็ นบาดแผลใจและทา
่
ให้ ความสามารถในการจัด การกับ ปั ญ หาของ
ผูถู
้ กกระทาลดลงได้
 ผู้ ให้ การปรึก ษาต้ องให้ ข้ อมู ล ข่ าวสารเกี่ย วกับ
วิธก
ี ารตอบสนองตอ
่ ช่วยให้
่ ความรุนแรง เพือ
ผู้ หญิง ผู้ ถู ก กระท าเข้ าใจในปฏิก ิร ิย าที่เ กิด ขึ้น
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
ผูให
้ ้การปรึกษาใช้ทักษะของตนในการสนับสนุ น
การเสริม พลัง อ านาจให้ กับ ผู้ หญิง ผู้ ถู ก กระท า
การเสริมพลังอานาจเกิดขึน
้ โดยการดาเนินการ
ตอไปนี
:้
่
 ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ ห ญิ ง ผู้ ถู ก ก ร ะ ท า
แยกแยะความเข้มแข็งของตน มีทก
ั ษะในการ
เผชิญปัญหา และรูจั
้ กใช้ทรัพยากรบุคคล
 ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ผู้ ห ญิ ง ผู้ ถู ก ก ร ะ ท า ใ ห้ มี ค ว า ม
ตระหนักในสิ ทธิของตน ความคิดเห็ นของตน
และทรรศนะทีม
่ ต
ี อตนเองและโลก
่
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
 ใ ห้ ก า ร ย ก ย่ อ ง ผู้ ห ญิ ง ผู้ ถู ก ก ร ะ ท า เ ส มื อ น
ผู้เชี่ยวชาญในชีวต
ิ ของเธอเอง และสนับสนุ น
ผูหญิ
งให้สามารถเลือกทางเลือกของตนได้
้
 ตระหนักในความสลับซับซ้อนของสถานการณ ์
ที่ ผู้ ห ญิ ง แ ต่ ล ะ ค น เ ผ ชิ ญ แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ว่ า
ในขณะที่ พ ฤติ ก รรมความรุ น แรงของสามี /
คู่ ครอง เป็ นสิ่ งที่ ย อมรับ ไม่ ได้ อย่ างเด็ ด ขาด
ความสั มพัน ธ ์ระหว่ างผู้ หญิ ง ผู้ ถู ก กระท ากับ
ผูกระท
าอาจจะมีหลายดานมุ
มทีเ่ ป็ นดานดี
้
้
้
มาตรฐานในการให้ การปรึกษา
 ผู้ให้การปรึกษามีความมัน
่ ใจวา่
ตนได้รับการ
ฝึ กอบรมอย่ างเหมาะสมและมีค วามรู้ ในเรื่อ ง
ความรุนแรงในครอบครัว รวมทัง้ มีความรู้ ที่
ทันสมัยในประเด็นทีเ่ กีย
่ วของ
้
 ๑๕.ด้ วยความยิน ยอมของผู้ หญิง ผู้ ถู ก กระท า
ผู้ ให้ การปรึก ษาร่วมมือ กับ นัก วิช าชีพ อื่น ๆ ที่
ผู้หญิงผู้ถูกกระทามีการติดต่อใช้บริการ อาทิ
แพทย ์ เจ้ าหน้ าที่ บ้ านพัก ฉุ กเฉิ น เป็ นต้ น
และ
 ๑๖. หากมีค วามจ าเป็ น ผู้ ให้ การปรึก ษาอาจ
แ ส ว ง ห า ที่ ป รึ ก ษ า ที่ เ ป็ น ผู้ ป ฏิ บั ต ิ ง า น ที่ มี
ประสบการณและความรู ด านความรุ น แรงใน
ความคาดหวังต่ อการให้ การปรึกษา
 ได้ รับ การปฏิบ ต
ั ิอ ย่างเคารพนั บ ถือ
(respect)
จากผูให
้ ้การปรึกษา
 ได้ รับ ความเข้ าใจและได้ รับ ความสนใจจากผู้ ให้
การปรึกษา
 ไดรั
้ จงอธิบายประเด็นการรักษาความลับ
้ บการชีแ
 ได้ รั บ การยื น ยั น และเคารพในความเชื่ อ ด้ าน
วัฒ นธรรม และบริก ารล่ ามแปลที่เ หมาะสมใน
กรณีทผ
ี่ ถู
ู้ กกระทามีความตองการ
้
 ได้รับการพิจารณาจากผู้ให้การปรึกษาวา
่ ความ
ปลอดภัยของผู้ถูกกระทา (และลูก) เป็ นประเด็น
สาคัญทีส
่ ุด
 ไดรั
ให
้ บคาบอกเลาจากผู
่
้ ้การปรึกษาถึง ทัศนคติท ี่
ผู้ ให้ การปรึก ษามีต่อ ความรุ น แรงในครอบครัว
ความคาดหวังต่ อการให้ การปรึกษา
 ไมถู
่ กตาหนิวาเป็
่ นต้นเหตุแห่งความรุนแรงเสี ย
เอง และได้ รับ การสนใจห่ วงใย (จากผู้ ให้
การปรึกษา) ถึงผลกระทบจากความรุนแรง
 ได้รับความช่วยเหลือจากผู้ให้การปรึกษา ให้
เข้ าใจประสบการณ ์ ความรุ น แรง โดยไม่ใช่
ปัญหาลิน
้ กับฟันระหวางคู
ครอง
ทวา่ ในฐานะ
่
่
ปัญ หาทีเ่ กิด ขึ้นได้กับผู้หญิง จากทุก ภูมห
ิ ลังทุ ก
ความเป็ นมา
 ได้ รับ ข้ อมู ล ข่ าวสารเกี่ ย วกับ ผลกระทบของ
ค ว า ม รุ น แ ร ง ที่ ช่ ว ย ใ ห้ เ ข้ า ใ จ ป ฏิ ก ิ ร ิ ย า ที่
ความคาดหวังต่ อการให้ การปรึกษา
 ได้ รับ ความช่ วยเหลื อ ให้ ตรวจสอบทางเลือ ก
ตางๆ
โดยผู้ถูกกระทา ได้รับสิ ทธิทจ
ี่ ะตัดสิ นใจ
่
เลือกทางเลือกเหลานั
่ ้ นด้วยตนเอง และสิ ทธินี้
ไดรั
้ บการเคารพนับถือโดยตลอดเวลา
 ไดรั
่ จ
ี งั หวะก้าว ทีท
่ าให้
้ บการให้การปรึกษาทีม
ผู้ถูกกระทา ด้วยความรุนแรงมีความสบายใจ
และรู้ สึ กอิส ระอย่างเต็ ม ที่ท ี่จ ะหยิบ ยกประเด็ น
ปัญ หาความต้องการของตนเข้าสู่กระบวนการ
ให้การปรึกษา
 ไ ด้ รั บ ก า ร ส่ ง ต ่ อ ไ ป รั บ บ ริ ก า ร ห รื อ ข้ อ มู ล
ข่าวสารเกี่ย วกับ บริก าร ด้ านความรุ น แรงใน
ความคาดหวังต่ อการให้ การปรึกษา
 ผู้ ให้ การปรึ ก ษาของผู้ ถู ก กระท าด้ วยความ
รุนแรง ได้รับการฝึ กอบรมอยางทั
นสมัยและมี
่
ความรูเรื
่ งความรุนแรงในครอบครัวเป็ นอยางดี
้ อ
่
 ด้ วยความยิน ยอมจากผู้ ถู ก กระท า ผู้ ให้ การ
ป รึ ก ษ า ท า ง า น ร่ ว ม กั บ นั ก วิ ช า ชี พ อื่ น ๆ ที่
เกี่ย วข้ อง ที่ม ีก ารติด ต่ อกับ ผู้ ถู ก กระท าด้ วย
ความรุนแรง เป็ นอยางดี
่
สรุป
 ทักษะการให้การปรึกษาของพนักงานเจ้าหน้าที่
ตามพ.ร.บ.คุ้ มครองผู้ ถู ก กระท าด้ วยความ
รุ น แรง พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็ นสิ่ งที่ล ะเอีย ดอ่อน
และเป็ นการเรียนรู้ทีไ่ มมี
ั จบสิ้ น สมควรทีจ
่ ะ
่ วน
มีการยกระดับมาตรฐานของการให้การปรึกษา
ของพนัก งานเจ้ าหน้ าที่ ตามพ.ร.บ.คุ้ มครอง
ผู้ ถู ก กระท าด้ วยความรุ น แรงฉบับ นี้ อย่ าง
ต่อเนื่ อ ง และสมควรที่จ ะมีก ารถอดบทเรีย น
ถายทอดไปสู
ในวงกวางต
อไป
่
่ บุคลากรตางๆ
่
้
่