Physical Refinery Palm Oil

Download Report

Transcript Physical Refinery Palm Oil

การกลัน่ น้ามันปาล์ มและการใช้ เป็ นไบโอดีเซล
โดย สุ รัญ ชินพัฒนวานิช
รหัส 53402640
น้ามันปาล์ ม ( Palm oil)
นา้ มันปาล์ม เป็ นน้ ำมันที่ได้มำจำกเนื้อนอกของผลปำล์ม โดยผลปำล์มมีส่วนที่
ให้น้ ำมันอยู่ 2 ส่ วนคือ จำกเมล็ดใน (palm kernel oil) และเนื้อที่หุม้ เมล็ด (palm
oil)ซึ่ งเป็ นพืชน้ ำมันที่ให้ปริ มำณน้ ำมันสู งเมื่อเปรี ยบเทียบกับพืชน้ ำมันชนิ ดอื่น
กระบวนการกลัน่ บริสุทธิ์นา้ มันปาล์ ม (Refine Processing)
กำรกลัน่ บริ สุทธิ์ น้ ำมันปำล์ม เป็ นกระบวนกำรทำให้น้ ำมันปำล์มดิบ
และน้ ำมันเมล็ดในปำล์มดิบ เป็ นน้ ำมันปำล์มบริ สุทธิ์ พร้อมสำหรับ
กำรบริ โภค ซึ่งสำมำรถแบ่งได้เป็ น 3 วิธี คือ
(Physical refining)
- วิธีทางเคมี (Chemical refining)
- วิธีการแยกไข (Fractionation)
- วิธีทางกายภาพ
ที่มำ :
http://it.doa.go.th/palm/linkTechnical/oil%20palm%20processing.html
วิธีทางกายภาพ (Physical refining)
วิธีทางกายภาพ (Physical refining) เป็ นกระบวนกำรกำจัดกรดไขมันอิสระโดย
ผ่ำนไอน้ ำเข้ำไปในน้ ำมันร้อน แล้วกลัน่ แยกกรดไขมันอิสระและสำรที่ให้กลิ่น
ให้ระเหยออกไปภำยใต้สุญญำกำศ จึ งเป็ นกำรกำจัดกลิ่นและทำให้น้ ำมันเป็ น
กลำงไปพร้ อ มกัน กำรกลั่น น้ ำ มัน ปำล์ม โดยวิ ธี ท ำงกำยภำพภำยใต้ส ภำพ
สุ ญญำกำศ จะได้น้ ำมันปำล์มบริ สุทธิ์ (Refined Bleached and Deodorized Palm
Oil, RBD PO)
Physical Refinery Process






Degumming
Bleacher
Filtration
Deodorized
RBD PO
Crystallization
Filter press
Palm Olein
Bleacher Process
แสดงขั้นตอนกำรกำจัดกรดไขมันอิสระ, กำรฟอกสี น้ ำมันปำล์มดิบและกำรกรองผงแป้ งฟอกสี
ที่มำ:
http://www.chempro.in/images/bleaching.jpg
Filtration Tank
แสดงกำรกรองน้ ำมัน BPO กับ Slurry
ที่มำ : http://www.azaquar.com/en/iaa/index.php?cible=ta_huilerie_05
Deodorized
แสดงขั้นตอนกำรกำจัดกลิ่นและกรดไขมันอิสระภำยใต้สุญญำกำศ
ที่มำ:
http://www.chempro.in/images/deodorization.jpg
By Product From Refining
Free Fatty Acid Palm Oil
ที่มำ:
Refined Bleached Deodorized
Palm Oil (RBDPO)
http://www.alibaba.com/product-free/115011006/Palm_Fatty_Acid_palm_Acid_Oil/showimage.html
http://rannms.en.busytrade.com/products/info/1029125/Palm-Cooking-Oil.html
Dry Fractionation
เป็ นวิ ธี ก ำรแยกส่ ว นโดยใช้วิ ธี ก ำรให้ ค วำมร้ อ นแก่ น้ ำ มัน ปำล์ม ให้ มี อุ ณ หภู มิ
ประมำณ 75 ถึง 90 องศำเซลเซี ยส เพื่อให้น้ ำมันปำล์มหลอมรวมเป็ นเนื้ อเดียวกัน
จำกนั้นนำไปใส่ ในถังตกผลึกทำให้เย็นที่อุณหภูมิ 25 ถึง 30 องศำเซลเซี ยสอย่ำง
ช้ำๆ น้ ำมันปำล์มจะกลำยเป็ นผลึกสเตียรี น จำกนั้นแยกผลึกออกโดยใช้เครื่ องกรอง
(Filter Press) จะได้โอเลอิน (จุดขุ่น 8 องศำเซลเซี ยส) 60 เปอร์ เซ็นต์ และสเตียรี น
40 เปอร์ เซ็นต์ และถ้ำต้องกำรโอเลอินที่มีคุณภำพสู ง (Super Olein) ต้องแยกส่ วน
เป็ นครั้งที่ 2 โอเลอินที่แยกส่ วนในครั้งที่ 2 มีจุดขุ่นต่ำลง (4 องศำเซลเซี ยส) เช่น
เดี ย วกับ สเตี ย รี น เมื่ อ มี ก ำรแยกส่ ว นจ ำนวนหลำยครั้ ง จะได้ส เตี ย รี น ที่ มี ค่ ำ IV
แตกต่ำงกันไป
Crystallization
ที่มำ: http://www.muezhest.com/dewaxing-winterization.html
http://www.btb-group.com/index.php?id=103
แสดง RBDPO ที่ผำ่ นกำรทำเย็นใน
CSTR เพื่อแยก stearin ออกจำก
Olein
Filtration by filter press
แยกผลึกสเตียรี น
ออกโดยใช้เครื่ อง
กรองบีบอัด
(Filter Press) จะ
ได้น้ ำมันโอเลอิน
ที่มำ:
http://membranefilterpress.com/membrane-filterpress.html
Filtration by filter press
หลักกำรทำงำนกำรกรองของ
แผ่น filter press
ที่มำ:http://www.chemchinanet.com/wholesale-gaskets_plates/
http://www.filterinternational.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=3&Id=538633465
By Product From Dry Fractionation
Palm Stearin
Palm Olein
ที่มำ:
http://jutawan.com.my/palm_oil_products.php
http://www.hiwtc.com/products/rbd-palm-olein-201998-24813.htm
การแยกส่ วนประเภทนา้ มันปาล์ ม
ที่มำ :
http://it.doa.go.th/palm/linkTechnical/oil%20palm%20processing.html
การนาน้ามันปาล์ มมาใช้ เป็ นพลังงาน
ต้องผ่ำนกระบวนกำรทำงเคมีที่เรี ยกว่ำ Transesterification คือ กำรน้ ำเอำน้ ำมัน
จำกพืชหรื อสัตว์ไปทำปฏิกิริยำกับ แอลกอฮอล์ โดยใช้กรดและด่ำงเป็ นตัวเร่ ง
ปฏิกิริยำ ทำให้ได้เอสเทอร์ จะเรี ยกว่ำ ”ไบโอดีเซล” เอสเทอร์ที่ได้ตำมชนิด
ของแอลกอฮอล์ที่ใช้ทำปฏิกิริยำ ถ้ำเป็ นเมทิลแอลกอฮอล์ เรี ยกเมทิลเอสเทอร์
และถ้ำเป็ นเอทิลแอลกอฮอล์ ก็จะเรี ยกว่ำเอทิลเอสเทอร์ นอกจำกนี้ยงั ได้ "กลี
เซอรี ล" เป็ นผลพลอยได้ ซึ่ งใช้ในอุตสำหกรรมยำ และอุตสำหกรรม
เครื่ องสำอำงค์
กระบวนการ Trans-Esterification
NaOH หรื อ KOH
Catalysts
heat
กระบวนกำรทรำนเอสเทอริ ฟิเคชัน่ ผลิตไบโอดีเซลจำกน้ ำมันพืชมีกลีเซอรี นเป็ นผลพลอยได้
ที่มำ:http://science.uru.ac.th/pro_doc/doc/15.doc
ขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซล





อุ่นน้ ำมันพืชที่เตรี ยมไว้ให้ได้อุณหภูมิประมำณ 45 - 50 องศำเซลเซี ยส
ชัง่ สำรโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 1 % โดยน้ ำหนักต่อปริ มำตรของน้ ำมันพืช (g/ml)
ตวงเมทำนอลประมำณ 25 % ของน้ ำมันพืช แล้วผสมโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่เตรี ยมไว้คน
ให้เข้ำกัน เทสำรละลำยโซเดียมไฮดรอกไซด์กบั เมทำนอลลงในน้ ำมันพืชที่อนุ่ คนเข้ำกัน
ยกส่ วนผสมลงจำกเตำตั้งทิ้งไว้จะเกิดกำรแยกชั้นระหว่ำง เมทิลเอสเทอร์ กับ กลีเซอรี น
แยกน้ ำมันไบโอดีเซล (เมทิลเอสเทอร์ ) ส่ วนบนออกจำกกลีเซอรี นด้ำนล่ำง แล้วผ่ำน
กระบวนกำร Washing เพื่อกำจัดแอลกอฮอล์และโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ตกค้ำง
การแยกชั้นไบโอดีเซล
เมทิลเอสเทอร์ มีลกั ษณะ
เป็ นของเหลวใส ประมาณ
80-90%
กลีเซอลีน มีลกั ษณะ
เหนียวข้ น ประมาณ
10-20%
ที่มำ:http://www.vcharkarn.com/vcafe/62205/1
วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ ผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทย






ถั่วเหลือง
ถั่วลิสง
ปาล์ มนา้ มัน
งา
มะพร้ าว
ละหุ่ง หรือ สบู่ดา
วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ ผลิตไบโอดีเซลในต่ างประเทศ






ฝรั่งเศส ใช้ เมล็ดเรพ , เมล็ดทานตะวัน
สเปน ใช้ เมล็ดเรพ , เมล็ดทานตะวัน
อิตาลี ใช้ ถั่วเหลือง
ออสเตรเลีย ใช้ นา้ มันทีเ่ หลือจากการทอดอาหาร
เยอรมัน ใช้ เมล็ดเรพ , นา้ มันที่เหลือจากการทอดอาหาร
สหรัฐอเมริกา ใช้ ถั่วเหลือง
การใช้ ไบโอดีเซลเป็ นพลังงานในไทย
ไ บ โ อ ดี เ ซ ล เ ป็ น เ ชื้ อ เ พ ลิ ง ท ำ ง เ ลื อ ก ห นึ่ ง ส ำ ห รั บ ป ร ะ เ ท ศ
ไทย เนื่ องจำกประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม และมักจะ
ประสบปั ญ หำเรื่ องรำคำผลผลิ ต ตกต่ ำ ประเทศไทยเป็ นแหล่ ง
วัต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช้ ใ นกำรท ำไบโอดี เ ซล เช่ น มะพร้ ำ ว ปำล์ ม เมล็ ด
ทำนตะวัน หำกนำผลผลิตเหล่ำนี้ มำแปรรู ปเป็ นน้ ำมันไบโอดี เซล
เพื่อใช้ทดแทนน้ ำมัน ดี เ ซลในภำคเกษตร อย่ำงน้อยก็เ ป็ นกำรลด
ค่ำใช้จ่ำยของภำครัฐ ในเรื่ องกำรนำเข้ำเชื้อเพลิงจำกต่ำงประเทศ อีก
ทั้งยังช่วยให้พืชผลทำงกำรเกษตรมีรำคำสม่ำเสมออีกด้วย
การใช้ ไบโอดีเซลเป็ นพลังงานในไทย
ตั้ง แต่ ว นั ที่ 1 กุม ภำพัน ธ์ 2554 รั ฐ บำลมี น โยบำยปรั บ ลดสัด ส่ ว นกำร
นำไบโอดีเซลบี 100 ผสมในน้ ำมันดีเซลหมุนเร็ ว จำกปั จจุบนั ที่มีกำร
ผสมเป็ นไบโอดี เซลบี 3 และบี 5 ให้เหลื อไบโอดี เซลบี 2 เพื่อแก้ไข
ปั ญหำน้ ำมันปำล์มดิบขำดแคลน และจะพิจำรณำปรับเพิ่มสัดส่ วนกำร
ผสมไบโอดีเซลบี 100 อีกครั้งหลังสถำนกำรณ์คลี่คลำย
การใช้ ไบโอดีเซลเป็ นพลังงานต่ างประเทศ



B2 (ไบโอดี เซล 2 %: ดี เซล 98 %) มี จำหน่ ำยทัว่ ไปในมลรั ฐมิ นนิ โ ซตำ
ประเทศสหรัฐอเมริ กำ และจะบังคับใช้ท้ งั มลรัฐในปี พ.ศ. 2548
B5 (ไบโอดีเซล 5%: ดีเซล 95 %) มีจำหน่ำยทัว่ ไปในประเทศฝรั่งเศส โดย
กว่ำครึ่ งหนึ่งของน้ ำมันดีเซลที่จำหน่ำยเป็ นน้ ำมันสู ตร B5
B20 (ไบโอดีเซล 20%: ดีเซล 80%) เป็ นน้ ำมันผสมที่คณะกรรมกำรไบโอ
ดี เซลแห่ งชำติ และส ำนั ก งำนป้ องกั น สิ่ งแวดล้ อ มของประเทศ
สหรั ฐอเมริ กำ แนะนำให้ใช้ตำมกฎหมำยยำนยนต์เชื้ อเพลิงทดแทนของ
ประเทศ ปัจจุบนั นิยมใช้ในประเทศสหรัฐอเมริ กำ
การใช้ ไบโอดีเซลเป็ นพลังงานต่ างประเทศ


B40 (ไบโอดีเซล 40 %: ดีเซล 60%) เป็ นสู ตรที่ใช้ในรถยนต์ขนส่ ง
มวลชนในประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้เพื่อผลในกำรลดมลพิษ
B100 (ไบโอดีเซล 100 %) เป็ นน้ ำมันไบโอดีเซล 100 เปอร์ เซ็นต์ ที่
ใช้ใ นประเทศเยอรมนี แ ละออสเตรี ย โดยได้รั บ กำรรั บ รองจำก
บริ ษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์รำยใหญ่ของประเทศ
สรุปการใช้ ไบโอดีเซลในประเทศไทย
ไบโอดีเซลเหมำะที่จะเป็ นเชื้อเพลิงทำงเลือกสำหรับประเทศไทยเนื่องจำก
ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม แนวโน้มกำรใช้พลังงำนที่มำกขึ้น
รำคำน้ ำมันที่สูงขึ้น แม้กระทัง่ มลภำวะที่แย่ลงทุกวัน ถ้ำหันมำใช้พลังงำน
ทดแทนจำกภำคเกษตรแล้วผลที่ได้คือ
-ลดกำรนำเข้ำเชื้อเพลิงจำกต่ำงประเทศ
-ส่ งเสริ มรำยได้ให้กบั ภำคเกษตรให้เกษตรกรมีรำยได้
-ลดภำวะมลพิษในอำกำศ
-ช่ วยเรื่ องภำวะสิ่ งแวดล้อม เช่ นน้ ำมันที่ ปรุ งอำหำรแล้วจำนวนมำก ได้
กลับมำใช้ได้อีก โดยไม่ตอ้ งเททิ้งให้เป็ นปั ญหำสิ่ งแวดล้อม
เอกสารอ้ างอิง
1) ปำล์มน้ ำมัน.http://it.doa.go.th/palm/linkTechnical/oil%20palm%20processing.html.
2) Refinery of Palm Oil.
http://www.andrew.cmu.edu/user/jitkangl/Palm%20Oil/Refinery%20of%20Palm%20Oil.
htm
3) กำรผลิตน้ ำมันปำล์มไบโอดีเซล (CPO B100) :
http://www.vcharkarn.com/vcafe/62205/1.
4) ไบโอดีเซล (Biodiesel) : http://www.korattreat.net/node/71.
.