Transcript Document
สารประกอบอินทรีย์
ทีม่ ธี าตุออกซิเจนเป็ นองค์ ประกอบ
สารประกอบอินทรีย์
ที่มีธาตุออกซิเจนเป็ นองค์ ประกอบ
แอลกอฮอล์ ฟี นอล และ
อีเทอร์
แอลดีไฮด์ และคีโตน
กรดคาร์ บอกซิลกิ
เอสเทอร์
00
แอลกอฮอล์ : R - OH
ประเภทของ
แอลกอฮอล์
00
Primary
alcohol
Secondary
CH3CH2CH2OH
CH3CHCH3
OH
alcohol
Tertiary
alcohol
CH3
CH3C – OH
CH3
การเรียกชื่อแอลกอฮอล์
ชื่อสามัญ
สูตรโครงสร้าง
ชื่อสามัญ
Methyl alcohol
Ethyl alcohol
Isopropyl alcohol
00
การเรียกชื่อแอลกอฮอล์
ชื่อIUPAC เรี ยก alcohol เป็ น alkanol
สูตรโครงสร้าง
ชื่อIUPAC
Methanol
Ethanol
1 – propanol
2 - propanol
00
การเรียกชื่อแอลกอฮอล์
สูตรโครงสร้าง
ชื่อIUPAC
1 – butanol
2 – butanol
3 – methyl – 1 – hexanol
4 – methyl – 2 - pentanol
00
การเรียกชื่อแอลกอฮอล์
2 – chloro – 5 – methyl – 3 - hexanol
00
สมบัติกายภาพของแอลกอฮอล์
จุดเดือดและสภาพละลายได้ที่ 20C ของแอลกอฮอล์บางชนิด
สูตรโครงสร้าง
จุดเดือด(C)
สภาพละลายได้ในน้ า
(g/น้ า100 g)
CH3OH
64.6
CH3CH2OH
78.2
CH3(CH2)2OH
97.2
ละลายได้ดี
ละลายได้ดี
ละลายได้ดี
CH3(CH2)3OH
117.7
7.9
CH3(CH2)4OH
137.9
2.3
ข้อมูลจาก : เคมี เล่ม๕ สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
00
สมบัติกายภาพของแอลกอฮอล์
สูตรโครงสร้าง
จุดเดือด(C)
สภาพละลายได้ในน้ า
(g/น้ า100 g)
117.7
108
7.9
12.5
82.5
ละลายได้ดี
ข้อมูลจาก : เคมีอินทรี ยเ์ บื้องต้น, รศ.ดร.พิมพ์จิต ดามพวรรณ:มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
00
สมบัติกายภาพของแอลกอฮอล์
สูตรโครงสร้าง
มวลโมเลกุล
จุดเดือด(C)
CH3CH3
CH3OH
30
32
-88.6
64.7
CH3CH2CH3
44
-42.1
CH3CH2OH
46
78.0
ข้อมูลจาก : เคมีอินทรี ยเ์ บื้องต้น, รศ.ดร.พิมพ์จิต ดามพวรรณ:มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
00
สมบัติกายภาพของแอลกอฮอล์
แอลกอฮอล์ที่มีจานวนอะตอมของคาร์บอนเพิ่มขึ้นจะมีจุดเดือด
สูงขึ้น(มวลโมเลกุลมากขึ้นจุดเดือดสูงขึ้น)
แอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลเท่ากัน โครงสร้างที่เป็ นโซ่ตรงจะมีจุด
เดือดสูงกว่าโครงสร้างที่เป็ นโซ่กิ่ง
จุดเดือดของแอลกอฮอล์จะสู งกว่าแอลเคนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียง
กัน
แอลกอฮอล์ที่มีโมเลกุลเล็กละลายน้ าได้ดี เมื่อโมเลกุลใหญ่ข้ ึน
ความสามารถในการละลายน้ าลดลง
00
สมบัติกายภาพของแอลกอฮอล์
ส่ วนไม่ มีข้วั
ส่ วนมีข้วั
แสดงพันธะไฮโดรเจนระหว่ างโมเลกุลของแอลกอฮอล์ และนา้
00
สมบัติกายภาพของแอลกอฮอล์
แสดงพันธะไฮโดรเจนระหว่ างโมเลกุลของแอลกอฮอล์
00
ปฏิกริ ิยาเคมีของแอลกอฮอล์
ปฏิกิริยาการแทนที่(Substitution)
การแทนที่ดว้ ยโลหะโซเดียม
CH3CH2OH + Na
CH3CH2ONa + H2
การแทนที่ดว้ ยสารประกอบเฮไลด์
CH3CH2CH2OH+HBr
CH3CH2CH2Br+H2O
ปฏิกิริยาการกาจัด(Elimination)
H2SO4
Δ
00
+ H2O
ปฏิกริ ิยาเคมีของแอลกอฮอล์
ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ (Esterification)
ปฏิกิริยาการเผาไหม้
2CH3OH + 3O2
00
2CO2 + 4H2O
เอทานอล:C2H5OH
สมบัติของเอทานอล
เอทานอล หรื อ เอทิลแอลกอฮอล์ เป็ นของเหลวใส ไม่มีสี
ระเหยได้ง่ายและติดไฟได้
จุดเดือด 78.3C
ละลายได้ในน้ าและในตัวทาละลายอินทรี ย ์
การเตรี ยมเอทานอล
ปฏิกิริยาไฮเดรชันเอทิลีน
00
เอทานอล
เตรี ยมจากการหมักแป้ ง น้ าตาล และน้ าผลไม้ เรี ยกว่า เกรนแอลกอฮอล์
(grain alcohol)
00
เอทานอล(Ethanol)
00
เครื่ องดื่ม
วัตถุดิบที่ใช้หมัก
%แอลกอฮอล์
เบียร์ (beer)
ข้าวบาเล่ย ์
4-6
เอล(ale)
ข้าวบาเล่ย ์
6-8
เหล้าองุ่น(wine)
น้ าองุ่น
12-14
วิสกี้(wisky)
ข้าวมอลต์
40-50*
บรั่นดี(brandy)
น้ าองุ่น
40-50*
รัม(rum)
น้ าอ้อย กากน้ าตาล
40-50*
วอดก้า(vodka)
มันฝรั่ง
40-50*
ข้อมูลจาก:เคมีอินทรี ยเ์ บื้องต้น,รศ.ดร.พิมพ์จิต ดามพวรรณ ม.สงขลานครนทร์
*ผลิตภัณฑ์ที่กลัน่ แล้ว
เมทานอล:CH3OH
เมทานอล หรื อ เมทิลแอลกอฮอล์
กลิ่นคล้ายเอทานอล แต่เป็ นสารพิษ
ได้จากการกลัน่ ทาลายไม้ เรี ยกว่า วูดแอลกอฮอล์(wood alcohol)
การผลิตเมทานอลเพื่ออุตสาหกรรม
00
00
ฟี นอล(Phenol)
สู ตรทัว่ ไป Ar – OH
เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้
ละลายน้ าได้ปานกลางเกิดพันธะไฮโดรเจน
กับโมเลกุลของน้ าได้
สารกลุ่มฟี นอลมีจุดเดือดสู งกว่ากลุ่ม
ไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน
เช่น ฟี นอลมีจุดเดือด 182C
โทลูอีนมีจุดเดือด 111C
00
ฟี นอล(Phenol)
ปฏิกิริยาเคมีของฟี นอล
00
ฟี นอลในธรรมชาติ
Eugenol
ดอกกานพลู
00
Isoeugenol
ผลจันทน์ เทศ
ฟี นอลในธรรมชาติ
Vanillin
ต้ นถัววานิลลา
00
Thymol
ต้ นมินต์ (mint)
ฟี นอลในธรรมชาติ
Butylated hydroxytoluene : BHT
Butylated hydroxyanisole : BHA
(สารกันหืนในอาหารที่มีนา้ มันและไขมันเป็ นองค์ประกอบ)
00
อีเทอร์ (Ether)
สู ตรทัว่ ไป R – O – R/
อีเทอร์ โมเลกุลเล็กๆ ระเหยได้ง่าย
และติดไฟได้
เป็ นโมเลกุลมีข้ วั อ่อนกว่า
แอลกอฮอล์และน้ า
อีเทอร์ ไม่มีพนั ธะไฮโดรเจน
ระหว่างโมเลกุล
อีเทอร์ มีจุดเดือดต่ากว่าแอลกอฮอล์
ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เท่ากัน
00
Ethoxyethane
อีเทอร์ (Ether)
สูตรโครงสร้าง
ชื่อIUPAC
methoxyethane
2 – propoxypentane
2 – chloro – 4 – ethoxy – 2
– methylhexane
ethoxybenzene
00
แอลดีไฮด์
00
แอลดีไฮด์
Carboxaldehyde group
Aliphatic aldehyde
00
Formaldehyde
Aromatic aldehyde
คีโตน
Aliphatic ketone
Carbonyl group
Aromatic ketone
00
การเรียกชื่อแอลดีไฮด์
สูตรโครงสร้าง
ชื่อIUPAC
Ethanal
Propanal
2 - Chloropropanal
Phenylethanal
00
การเรียกชื่อแอลดีไฮด์
3 – Bromo – 2 - methylbutanal
00
การเรียกชื่อแอลดีไฮด์
4 – Bromobenzaldehyde
00
สมบัติทางกายภาพของแอลดีไฮด์
สูตรโครงสร้าง
จุดเดือด
HCHO
-21
สภาพการละลายน้ า
(g/100mL)
ละลายได้ดี
CH3CHO
21
ละลายได้ดี
CH3CH2CHO
49
ละลายได้ดี
CH3(CH2)2CHO
76
16
CH3(CH2)3CHO
102
7
CH3(CH2)4CHO
131
ละลายได้เล็กน้อย
(C)
ข้อมูลจาก:เคมีอินทรี ยเ์ บื้องต้น,รศ.ดร.พิมพ์จิต ดามพวรรณ ม.สงขลานครนทร์
00
คีโตน
00
การเรียกชื่อคีโตน
สูตรโครงสร้าง
ชื่อIUPAC
Propanone (acetone)
2 – Pentanone
2,4-Dimethyl-3-pentanone
Cyclohexanone
00
การเรียกชื่อคีโตน
5 – Ethyl – 3 - heptanone
00
การเรียกชื่อคีโตน
2 – Methylcyclopentanone
00
สมบัติทางกายภาพของคีโตน
สูตรโครงสร้าง
จุดเดือด
CH3COCH3
56.1
สภาพการละลายน้ า
(g/100mL)
ละลายได้ดี
CH3COCH2CH3
79.6
26
CH3CO(CH2)2CH3
102
5.5
CH3CO(CH3)3CH3
128
1.6
C6H5COCH3
202
ไม่ละลาย
C6H5COC6H5
306
ไม่ละลาย
(C)
ข้อมูลจาก:เคมีอินทรี ยเ์ บื้องต้น,รศ.ดร.พิมพ์จิต ดามพวรรณ ม.สงขลานครนทร์
00
จุดเดือดของแอลเคน แอลดีไฮด์ และคีโตน
สูตรโครงสร้าง
มวลโมเลกุล
จุดเดือด(C)
CH3CH2CH2CH3
58
-0.5
CH3CH2CHO
58
48.0
CH3COCH3
58
56.1
CH3CH2CH2OH
60
97.2
ข้อมูลจาก : เคมี เล่ม๕ สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
00
สมบัติทางกายภาพของแอลดีไฮด์ และคีโตน
แอลดีไฮด์และคีโตนเป็ นโมเลกุลมีข้ วั โมเลกุลเล็กละลายน้ าได้ดีกว่าโมเลกุล
ใหญ่ และมีพนั ธะไฮโดรเจนกับโมเลกุลของน้ า
จุดเดือดของแอลดีไฮด์และคีโตนเพิม่ ขึ้นตามจานวนอะตอมของคาร์ บอนที่
เพิ่มขึ้น
ทั้งแอลดีไฮด์และคีโตนไม่มีพนั ธะไฮโดรเจนภายในโมเลกุล
จุดเดือดของแอลดีไฮด์และคีโตนสู งกว่าไฮโดรคาร์ บอน แต่ต่ากว่า
แอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลเท่ากัน หรื อ ใกล้เคียงกัน
00
ปฏิกริ ิยาของแอลดีไฮด์ และคีโตน
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
แอลดีไฮด์เมื่อถูกรี ดิวซ์จะให้ 1แอลกอฮอล์
ส่ วนคีโตนจะให้ 2แอลกอฮอล์
00
ปฏิกริ ิยาของแอลดีไฮด์ และคีโตน
ปฏิกิริยากับกรี ญาร์ รีเอเจนต์(RMgX)
เป็ นปฏิกิริยาการสังเคราะห์แอลกอฮอล์จากแอลดีไฮด์/คีโตน
00
การทดสอบแอลดีไฮด์ และคีโตน
ทอลเลนส์ รี เอเจนต์(Tollen’s reagent) เป็ นไอออนเชิงซ้อนของ
ซิ ลเวอร์และแอมโมเนียในสารละลายเบส
00
การทดสอบแอลดีไฮด์ และคีโตน
สารละลายเฟห์ลิง(Fehling’s solution) เป็ นไอออนเชิงซ้อนของ
คอปเปอร์ทาร์เทรตในสารละลายเบส และเบเนดิกต์รีเอเจนต์
(Benedict’s reagent) เป็ นไอออนเชิงซ้อนของคอปเปอร์ซิเทรต
ในสารละลายเบส
00
Formaldehyde
ฟอร์ มาลดีไฮด์ หรื อ เมทานาล มีสถานะ
เป็ นแก๊สที่อุณหภูมิหอ้ ง กลิ่นฉุน
ละลายน้ าได้ดี
สารลายของฟอร์ มาลดีไฮด์เข้มข้น 40%
เรี ยกว่าสารละลายฟอร์ มาลีน
การเตรียมฟอร์ มาลดีไฮด์ ในอุตสาหกรรม
00
Acetone
แอซิ โตน หรื อ โพรพาโนน
เป็ นของเหลวใส ไม่มีสี
มีกลิ่นอ่อนๆ ระเหยได้ง่าย
ละลายในน้ าได้ดี
ละลายสารประกอบอินทรี ยไ์ ด้ดี
ใช้เป็ นตัวทาละลายพลาสติก แลกเกอร์
การเตรียมแอซิโตนในอุตสาหกรรม
www.pureenergysystems.com/.../6900069_Acetone/
00