การจาแนกสารอินทรีย์ • ฟังก์ชนั่ ของสารอินทรี ย ์ หมู่ฟังก์ชนั คือ กลุ่มของอะตอมที่เป็ นส่ วนหนึ่งของโมเลกุลที่มบี ทบาทในการ กาหนดสมบัติทางเคมีรวมทั้งสมบัติทางกายภาพของสารเคมีน้ นั ๆ กลุ่มของสารอินทรี ยท์ ี่สาคัญที่จดั จาแนกตามชนิ ดของหมู่ฟังก์ชนั ได้แก่ 1.อัลเคน 4.

Download Report

Transcript การจาแนกสารอินทรีย์ • ฟังก์ชนั่ ของสารอินทรี ย ์ หมู่ฟังก์ชนั คือ กลุ่มของอะตอมที่เป็ นส่ วนหนึ่งของโมเลกุลที่มบี ทบาทในการ กาหนดสมบัติทางเคมีรวมทั้งสมบัติทางกายภาพของสารเคมีน้ นั ๆ กลุ่มของสารอินทรี ยท์ ี่สาคัญที่จดั จาแนกตามชนิ ดของหมู่ฟังก์ชนั ได้แก่ 1.อัลเคน 4.

การจาแนกสารอินทรีย์
• ฟังก์ชนั่ ของสารอินทรี ย ์
หมู่ฟังก์ชนั คือ กลุ่มของอะตอมที่เป็ นส่ วนหนึ่งของโมเลกุลที่มบี ทบาทในการ
กาหนดสมบัติทางเคมีรวมทั้งสมบัติทางกายภาพของสารเคมีน้ นั ๆ
กลุ่มของสารอินทรี ยท์ ี่สาคัญที่จดั จาแนกตามชนิ ดของหมู่ฟังก์ชนั ได้แก่
1.อัลเคน
4. เฮไลด์
8. อัลดีไฮด์
10. กรดคาร์บอกซิ ลิก
2.อัลคีน
5. อัลกอฮอล์
9. คีโตน
11. เอสเทอร์
3.อัลไคน์
6. อีเทอร์
12. เอไมด์
7. เอมีน
13.แอซิ ด เฮไลด์
14. แอซิ ด แอนไฮไดรด์
15. ไนไตรล์
การจาแนกสารอินทรีย์ตามชนิดของหมู่ฟังก์ ชัน
ประเภทของ
สารอินทรี ย ์
อัลเคน(alkanes)/
ไซโคลอัลเคน
(cycloalkanes)
อัลคีน(alkenes)/
ไซโคลอัลคีน
(cycloalkenes)
อัลไคน์(alkynes)/
ไซโคลอัลไคน์
(cycloalkynes)
หมู่ฟังก์ชนั่
ตัวอย่าง
C
CH3CH2CH2CH3
Butane
C
C
C
C
CH2= CH2
Ethene (ethylene)
HC≡CH
Ethyne (acetylene)
ประเภทของ
สารอินทรี ย ์
ออร์กาโนฮาโลเจน
หรื อ เฮไลด์
(organohalogens or
halides)
อัลกอฮอล์และฟี นอล
(alcohols and phenols)
หมู่ฟังก์ชนั่
C X
X = F, Cl, Br, I
C OH
อีเทอร์ (ethers)
C O C
เอมีน (amines)
N
ตัวอย่าง
CH3CH2Br
bromomethane
CH3CH2OH
ethanol (ethyl alcohol)
CH3CH2OCH2CH3
diethyl ether
CH3CH2NH2
ethanamine (ethylamine)
ประเภทของ
สารอินทรี ย ์
หมู่ฟังก์ชนั่
อัลดีไฮด์ (aldehyde)
O
C H
คีโตน (ketone)
O
C C C
กรดคาร์บอกซิลิก
(carboxylic acid)
เอสเทอร์ (esters)
O
C OH
O
C O C
ตัวอย่าง
CH3CH2CH2CHO
butanal
CH3COCH3
propanone (acetone)
CH3CO2H
ethanoic acid (acetic acid)
CH3COOCH2CH3
ethyl ethanoate (ethyl acetate)
สารอินทรี ยแ์ ละการเรี ยกชื่อ
• การเรี ยกชื่อสารอินทรี ย ์ (Nomenclature)
- ชื่อเฉพาะ (specific name) หรื อ ชื่อสามัญ (common name)
อาศัยชื่อจากแหล่งที่พบ หรื อผันจากสารที่มีโครงสร้างใกล้เคียงกัน
- ชื่อในระบบสากล ได้แก่ ระบบ IUPAC (International Union of Pure
and Applied Chemistry หรื อ ระบบ SYSTEMATIC
หลักการเรี ยกชื่อในระบบ IUPAC
• มีข้นั ตอนหลัก คือ
1. การเลือกสายโซ่หลัก (parent chain)
เลือกสายโซ่คาร์บอนที่มีจานวนคาร์บอนที่ต่อเนื่องยาวที่สุดและมี
หมู่ฟังก์ชนั่ เป็ นสายโซ่หลัก กาหนดชื่อหลักตามจานวนคาร์บอน ดังนี้
C1
meth
C2
eth
C3
prop
C4
but
C5
pent
C6
hex
C7
hep
C8
oct
C9
non
C10
dec
2. การให้เลขตาแหน่ง
กาหนดตาแหน่งของคาร์บอนในสายโซ่หลัก โดยเริ่ มจากปลาย
หนึ่งไปหาอีกปลายหนึ่ง ทั้งนี้ตอ้ งให้คาร์บอนที่มีหมูฟ่ ังก์ชนั่ หรื อมีหมู่
อื่นมาเกาะน้อยที่สุด
3. การกาหนดคาลงท้าย (suffix)
ชื่อของสารในส่ วนนี้ จะบอกว่าสารนั้นมีหมู่ฟังก์ชนั่ หลัก รวมทั้ง
ลักษณะของสายโซ่คาร์บอน เป็ นอย่างไร แบ่งเป็ น
คาลงท้ายของส่ วนที่ 1 บอกลักษณะของสายโซ่คาร์ บอนโดยเขียนต่อจากชื่อหลัก
(parent name)
ชนิดของสายโซ่คาร์ บอน
คาลงท้าย
โครงสร้าง
ชื่อ
alkane
- ane
CH3CH2CH3
propane
alkene
- ene
CH2=CHCH3
propene
alkyne
- yne
HC≡CCH3
propyne
คาลงท้ายของส่ วยที่ 2 บอกชนิดของหมู่ฟังก์ชนั หลักโดยเขียนต่อจากคาลงท้ายส่ วนที่ 1
โดยตัด e ออกก่อน เช่น
CH3CH2CH2COOH
butanoic acid (butane + oic acid)
CH3CH2CH2OH
propanol (propane + ol)
CH3CH2COCH3
butanone (butane + one)
ตารางแสดงลาดับความสาคัญของหมู่ฟังก์ชนั
(จากมากไปน้อย)
หมู่ฟังก์ชนั
คาลงท้าย
ตัวอย่าง
-CO2H
-oic acid
CH3CH2COOH (propanoic acid)
-CO-O-CO-
-oic anhydride CH3CO-O-COCH3 (acetic anhydride)
-CO-O-
alkyl -oate
CH3CO-O-CH2CH3 (ethyl acetate)
-CO-X
-oyl halide
CH3CH2CO-Cl (propanoyl chloride)
-CO-NH2
-amide
CH3CH2CO-NH2 (ethyl amide)
ตารางแสดงลาดับความสาคัญของหมู่ฟังก์ชนั
(จากมากไปน้อย) (ต่อ)
หมู่ฟังก์ชนั
คาลงท้าย
ตัวอย่าง
-CO-H (-CHO)
-al
CH3CH2CH2-CO-H (butanal)
-CO (-C=O)
-one
CH3-COCH3 (2-propanone)
-OH
-ol
CH3CH2-OH (ethanol)
-N-
-amine
CH3CH2-N-CH3 (ethyl methyl amine)
-O-
-ether
CH3CH2-O-CH2CH3 (diethyl ether)
-X
-halide
CH3CH2CH2CH2-Br (butyl bromide)
4. หมู่แทนที่หรื อหมู่ฟังก์ชนั่ ที่ซ้ ากัน
กรณี ที่มีหมู่แทนที่หรื อหมู่ฟังก์ชนั ที่ซ้ ากันหลายหมู่ จะใช้คานาหน้าหมู่น้ นั ๆ ที่
แสดงจานวนที่ซ้ ากันนั้น เช่น di (2 หมู่) tri (3 หมู่) tetra (4 หมู่) penta (5 หมู่)
เช่น
CH3
CH3 CH2 C CH3
CH3
ClCH
2 CH2Cl2
2,2-dimethylbutane
1,1,2-trichloroethane
ปฏิกิริยาในเคมีอินทรี ย ์
ปฏิกิริยาเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงจากสารหนึ่งเป็ นอีกสารหนึ่ง
ประกอบด้วย
1. สารตั้งต้น (starting material)
2. ตัวทาปฏิกิริยา (reagent)
3. ผลิตภัณฑ์ (product)
1. การแตกและการเกิดพันธะ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็ นการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับการแตกพันธะ
(bond cleavage) ของสารตั้งต้น และการเกิดพันธะใหม่ (bond
formation) การแตกของพันธะแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ
1.1 การแตกพันธะแบบเสมอภาค (Homolytic cleavage)
เป็ นการแตกพันธะโดยคู่อิเล็กตรอนของพันธะแยกออกจากกันไปอยูท่ ี่
อะตอมข้างละ 1 ตัว เมื่อมีการแตก เรี ยกแต่ละข้างที่แตกออกไปนี้วา่ แรดิ
คัล (radical) หรื อแรดิคลั อิสระ (free radical) ซึ่งมีสมบัตืเป็ นกลาง ไม่มี
ประจุ
1.1 การแตกพันธะแบบเสมอภาค (Homolytic cleavage) (ต่อ)
เช่น
Cl
Cl
chlorine molecule
hv
or heat
2Cl
chlorine radical
เรี ยกปฏิกิริยาที่มีการแตกพันธะแบบนี้วา่ เป็ นปฏิกิริยาแบบแรดิคลั
(radical reaction)
1.1 การแตกพันธะแบบเสมอภาค (Homolytic cleavage) (ต่อ)
ตัวอย่าง
ปฏิกิริยาระหว่างมีเธนกับคลอรี น ได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็ นคลอโรมีเธน
Cl
H CH3
methyl radical
methane
Cl
CH3
chlorine radical methyl radical
CH3
Cl H +
CH3 Cl
chloromethane
1.2 การแตกพันธะแบบไม่เสมอภาค (Heterolytic cleavage)
เป็ นการแตกพันธะโดยที่คู่อิเล็กตรอนของพันธะนั้นแยกไปอยูท่ ี่อะตอมใด
อะตอมหนึ่ง ในขณะที่อะตอมอีกข้างหนึ่งจะไม่ได้รับอิเล็กตรอนเลย การ
แตกพันธะแบบนี้จะทาให้ขา้ งที่ได้รับอิเล็กตรอนมีประจุลบ (anion) และ
ข้างที่ขาดอิเล็กตรอนมีประจุบวก (cation) เรี ยกปฏิกิริยาที่มีการแตกพันธะ
แบบไม่เสมอภาคนี้วา่ ปฏิกิริยาแบบไอออนนิค (Ionic reaction)
ตัวอย่าง
H Br
H
+
Br
hydrogen bromide
O
CH3 C CH2 H
OC2H5
O
CH3 C CH2
acetone
ethoxide anion
carbanion
+
C2H5OH
ethanol
2. ประเภทของปฏิกิริยา
2.1 ปฏิกิริยาการแทนที่ (substitution reaction)
เป็ นปฏิกิริยาที่อะตอมหรื อหมู่อะตอมในสารตั้งต้นถูกแทนที่ดว้ ย
อะตอมหรื อหมู่อะตอมอื่น
ตัวอย่าง
CH3CH2 OH +
ethyl alcohol
HBr
CH3CH2 Br + H2O
bromoethane
2.2 ปฏิกิริยาการเพิ่ม (addition reaction)
เป็ นปฏิกิริยาที่มีการเพิ่มอะตอมหรื อหมู่ของอะตอมเข้าไปที่คาร์บอนที่มี
ความไม่อิ่มตัว คือ มีพนั ธะไพ (พันธะคู่หรื อพันธะสาม) โดยเมื่อ
เกิดปฏิกิริยาการเพิ่มนี้แล้ว คาร์บอนจะมีความอิ่มตัวมากขึ้น
ตัวอย่าง
H2C CH2
+
Br2
ethylene
HC
CH
acetylene
Br CH2CH2 Br
1,2-dibromoethane
+
H2
Pd-BaSO4
H2C CH2
ethylene
2.3 ปฏิกิริยาการกาจัด (elimination reaction)
เป็ นปฏิกิริยาที่อะตอมหรื อหมู่ของอะตอมหลุดออกจากโมเลกุลของสาร
ตั้งต้นโดยมีพนั ธะไพเกิดขึ้น ดังนั้นเมื่อเกิดปฏิกิริยาการกาจัดแล้ว
โมเลกุลจะมีความไม่อิ่มตัวสูงกว่าสารตั้งต้น ปฏิกิริยานี้ จัดเป็ น
กระบวนการที่ตรงกันข้ามกับปฏิกิริยาการเพิม่
ตัวอย่าง
CH3CHCH3 + KOH
Br
CH2=CH CH3 + KBr + H2O
2.4 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รี ดกั ชัน (oxidation reduction)
เป็ นปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาวะออกซิเดชันของคาร์บอน โดย
หากมีการเพิ่มออกซิเจน หรื อลดไฮโดรเจน แสดงว่าเกิดปฏิกิริยา
ออกซิเดชัน และในทางตรงกันข้าม หากมีการลดออกซิเจนหรื อเพิม่
ไฮโดรเจน คือ ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
Oxidation
OH
CH3CH H
KMnO
heat
ethyl alcohol
Reduction
CH3 CH CH2
propene
H2/ Pd
O
CH3 C H
acetaldehyde
CH3 CH2 CH3
propane
KMnO
heat
O
CH3 C OH
acetic acid
3. ชนิดของตัวทาปฏิกิริยา (reagents)
3.1 นิวคลีโอไฟล์ (nucleophile)
เป็ นโมเลกุลหรื อกลุ่มของอะตอมที่มีคู่อิเล็กตรอนที่ใช้ในการสร้างพันธะ
กับสารหรื อหมู่ที่รับอิเล็กตรอนได้ กรณี โมเลกุลเป็ นกลาง เช่น H2O,
ROH, NH3, RNH2 เป็ นต้น นิยมเขียนนิวคลีโอไฟล์แบบนี้วา่ Nu : หาก
นิวคลีโอไฟล์มีประจุลบ (anion) ซึ่งนิยมเขียนแทนด้วย Nu- เช่น –OH,
-OR, -CN, -Cl
ตัวอย่างปฏิกิริยาที่มีนิวคลีโอไฟล์เป็ นตัวทาปฏิกิริยา
CH3(CH2) 2CH2 Br
n-butyl bromide
+
NaI
CH3(CH2) 2CH2 I
sodium iodide
n-butyl iodide
+
NaBr
3.2 อิเล็กโตรไฟล์ (electrophile)
เป็ นโมเลกุลหรื ออะตอมที่สามารถรับอิเล็กตรอนเพื่อสร้างพันธะใหม่
อิเล็กโตรไฟล์ที่เป็ นกลางจะเขียนแทนด้วย E เช่น AlCl3, BF3, SO3
ส่ วนอิเล็กโตรไฟล์ที่มีประจุ ซึ่งจะเป็ นบวก เช่น H+, H3O+, R+
(carbocation) มักเขียนแทนด้วย E+
ตัวอย่างปฏิกิริยาที่มีอิเล็กโตรไฟล์เป็ นตัวทาปฏิกิริยา
CH2 CH CH3
propene
HCl
Cl
CH3 CH CH3
hydrogen chloride
2-chloropropane
+
3.3 แรดิคลั (radical)
รี เอเจนต์กลุ่มแรดิคลั นี้ เป็ นหมู่ที่ไม่มีประจุ เนื่องจากเกิดการแตกตัวอย่าง
เสมอภาค และจะเหนี่ยวนาให้เกิดปฏิกิริยาที่มีการแตกพันธะแบบเสมอ
ภาคด้วยเช่นกัน
ตัวอย่างปฏิกิริยาที่มีแรดิคลั เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา
Cl
H CH3
Cl H
+
methane
Cl
CH3
chlorine radical methyl radical
CH3
methyl radical
CH3 Cl
chloromethane
อัลเคน (Alkane)
1. การเตรี ยมอัลเคน
1.1 Hydrogenation of alkanes
เป็ นการเติม H2 ลงบนพันธะคู่ของอัลคีน
general reaction
C C
+
H2
catalyst
eg. Pt, Ni, Pd
C C
H H
Example
CH3CHCH2 +
H2
25 oC
50 atm
CH3CHCH2
H H
1.2 Reduction of haloalkanes
เป็ นปฏิกิริยาการเปลี่ยนอัลคิล เฮไลด์เป็ นอัลเคนโดยมี Zn/HCl เป็ น
reagent
general reaction
2R X
+
Zn
2H+
2
R H
ZnX2
+
Example
2 CH3CH2CH Br
CH3
CH3CH2CH H
CH3
+
ZnBr2
2. ปฏิกิริยาที่สาคัญของอัลเคน
2.1 Halogenation
เป็ นปฏิกิริยาการแทนที่ไฮโดรเจนด้วย อะตอมฮาโลเจน (ธาตุหมู่ 7)
ผ่านกลไกของการเกิดแรดิคอล โดยมีแสงหรื อความร้อนเป็ นตัวเร่ ง
ปฏิกิริยา
general reaction
R H
X2
+
R X
+
HX
Example
H3C H
+
Cl2
H3C Cl
+
HCl
2.2 Combustion
เป็ นปฏิกิริยาของอัลเคน (หรื อไฮโดรคาร์บอนอื่นๆ) กับออกซิเจน
เกิดพลังงานขึ้นจานวนหนึ่ง โดยหากเกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ จะ
ได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ าเป็ นผลิตภัณฑ์พลอยได้
Example
CH4
+
2O2
CO2
+
2H2O
+
heat
+
light
CH3CH2CH3 +
5O2
3CO2 +
4H2O
+
heat
+
light
Alkenes and Alkynes : reaction and preparation
1. การเตรี ยมอัลคีน
1.1 Elimination
1.1.1 Dehydrohalogenation of haloalkanes
เป็ นการเตรี ยมจากปฏิกิริยาการกาจัด (elimination) โมเลกุลของ HX
ออกจากโมเลกุลของอัลคิล เฮไลด์ที่มี H เกาะบนคาร์บอนที่อยูต่ ิดกัน
general reaction
C C
H X
base
heat
C C
+
HX
1.1.2 Dehydration of alcohol
เป็ นการกาจัด H2O ออกจากโมเลกุลของอัลกอฮอล์โดยมีกรด (H+)
เป็ นตัวเร่ ง
general reaction
+
C C
H OH
H
heat
C C
+
H2O
1.1.3 Dehalogenation of vicinal dihalides
C C
X X
C X
X
vicinal
geminal
ในกรณี ที่อลั เคนมีหมุ่แทนที่สองหมู่ อาจแสดงลักษณะของการ
แทนที่ได้โดยการใช้ prefix เช่น ตาแหน่ง vicinal หรื อ vic- คือตาแหน่ง
บนคาร์บอนที่อยูต่ ่อจากกันทันที ส่ วนตาแหน่ง geminal หรื อ gem- คือ
ตาแหน่งการแทนที่บนคาร์บอนอะตอมเดียวกัน เป็ นต้น
ปฏิกิริยาการเตรี ยมอัลคีนจาก vicinal dihalides เป็ นปฏิกิริยาการ
กาจัด X2 ออกจาก vic-dihaloalkane โดยใช้รีเอเจนต์ที่เหมาะสม เช่น Zn
ในกรดอะซีติก หรื อ NaI ใน acetone เป็ นต้น
general reaction
C C
X X
Zn
CH3COOH
2NaI
acetone
C C
+
ZnX2
C C
+
I2
+
2NaX
1.2 Hydrogenation of alkynes
เป็ นการเติม Hydrogen 2 อะตอมลงบนพันธะสามของอัลไคน์
general reaction
H2/Ni2B
R
R
C C
H
H
Li or Na
NH3 or RNH2
R
H
C C
H
R
R C C R
2. ปฏิกิริยาของอัลคีน
2.1 Hydrogenetion
เป็ นการเติม H2 ลงบนพันธะคู่ โดยมีตวั เร่ งปฏิกิริยา (catalyst) นิยมใช้
โลหะผงละเอียด เช่น Ni, Pt, Pd จึงมักเรี ยกปฏิกิริยาการเติม H2 แบบนี้วา่
Catalytic Hydrogenation
Example
H2C CH2 + H2
Pd/C
25 oC
CH3 CH3
2.2 Addition
เป็ นปฏิกิริยาการเพิ่ม อะตอมอื่น (ขึ้นอยูก่ บั reagent ที่ใช้) ลงบน
พันธะคู่
general reaction
C C
+
A B
reagent : HX, H2SO4, H2O, X2
A C C B
สรุ ป กลไกของปฏิกิริยา Electrophilic addition ของอัลคีน คือ
C C
+
A B
A
C C
+
B
A B
C C
สามารถเรี ยกชื่อปฏิกิริยาตามชนิดของ reagent และลักษณะของการเติม
ได้ดงั นี้
1. Hydrohalogenation ; reagent = HX ; product = haloalkane (alkyl halide)
C C
+
H X
H C C X
2. Addition of sulfuric acid ; reagent = H2SO4 ; product = alkyl hydrogensulfate
C C
+ H OSO3H
H C C OSO3H
+ à» ç¹ catalyst) ; product = alcohol
3. Acid-catalysed hydration ; reagent = H2O (â´ ÂÁÕH
C C
+
H OH
H C C OH
4. Halogenation ; reagent = X2 ; product = dihaloalkane
C C
+
H X
X C C X
Makovnikov’s Rule
พิจารณาปฏิกิริยา addition ของอัลคีนที่ไม่สมมาตร คือ มีหมู่แทนที่บน
คาร์บอนที่เกิดพันธะคู่ต่างกันจะได้วา่ มีโอกาสเกิดผลิตภัณฑ์ที่แตกต่าง
กัน 2 ชนิด
เช่น
CH2 CH CH3
+
HCl
CH3 CH CH3
Cl
+
CH2 CH2 CH3
Cl
Markovnikov addition
กล่าวว่า “ในปฏิกิริยา addition ของอัลคีนด้วย H-X นั้น H จะเติมลง
บนพันธะคู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่มีจานวน H มากกว่าเสมอ”
Anti-Markovnikov addition
คือ ปฏิกิริยาที่มีการเติม H ลงบนพันธะคู่ลงบนพันธะคู่ที่คาร์บอน
ตาแหน่งที่มีจานวน H น้อยกว่า เช่น การเติม HBr โดยมี H2O2 เป็ น coreagent
สรุ ปดังสมการ
HX
H3C C CH2
CH3
HX/HOOH
(when X = Br)
X
Markovnikov's product
H3C C CH3
(Ionic mechanism)
CH3
X
H
H3C C CH2 Anti-Markovnikov's product
(Radical mechanism)
CH3
2.3 Oxidation
อัลคีนสามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน่ โดยการเติมส่ วนของอะตอม
ออกซิเจนลงบนพันธะคู่ ได้ผลิตภัณฑ์เป็ น 1,2-diol (สารที่มี –OH
เป็ นหมู่แทนที่ที่ตาแหน่งติดกัน)
reagent :
Example
Potassium permanganate ; KMnO4
Osmium tetroxide ; OsO4
-OH
H3C CH2 + KMnO 4 cold
CH3CH CH2
H2C CH2
OHOH
H
1) OsO4 H C C CH
2) Na2SO3 3 OHOH2
2.4 Oxidative cleavage
2.4.1 Reaction with potassium permanganate
เมื่อให้อลั คีนทาปฏิกิริยากับ MnO4 ที่สภาวะรุ นแรง (-OH/heat)
และนานขึ้น พันธะคู่จะแตกออกให้ผลิตภัณฑ์เป็ น
กรดคาร์บอกซิลิก 2 โมเลกุล
reagents and condition : KMnO4, -OH, heat
Example
CH3CH CHCH3
KMnO4
-
OH, heat
O
2 CH3 C
O-
H+
O
2 CH3 C
OH
2.4.2 Ozonolysis
เป็ นปฏิกิริยาออกซิเดชันด้วย ozone (O3) เมื่อเติม Zn/H2O ลงไปจะ
เกิดการแตกของโมเลกุลที่พนั ธะคู่ ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นสารประกอบ
คาร์บอนิล
reagents : 1) O3 2)Zn/H2O
Example
CH3CH CHCH3
CH3
CH2CH3
1) O3, CH2Cl2, -78 ํC
2) Zn/H2O
1) O3
2) Zn/H2O
O
CH3 C
+
CH3
O
CH3 C
H
O
O
H C CH2CH2CH2CH2C CH2CH3
เฮไลด์ (Halides)
สารเฮไลด์มีสูตรทัว่ ไปเป็ น R-X เมื่อ X คือ I, Br, Cl, F แบ่งออกเป็ น 3
ประเภทคือ ชนิดปฐมภูมิ (1°) ชนิดทุติยภูมิ (2°) และชนิดตติยภูมิ (3°)
R CH2 X
R'
R CH X
1 ํalkyl halide
2 ํalkyl halide
R'
R C
R"
X
3 ํalkyl halide
1. ปฏิกิริยาการเตรี ยมสารเฮไลด์
1.1 ปฏิกิริยาฮาโลจิเนชัน
เป็ นปฏิกิริยาฮาโลจิเนชันของอัลเคน โดยใช้ฮาโลเจนเมื่อมีแสงหรื อ
ความร้อน จะเกิดการแทนที่ไฮโดรเจนด้วยฮาโลเจนให้อลั คีลเฮไลด์
R H
alkane
+
X2
heat or hv
R X
alkyl halide
+
HX
1.2 ปฏิกิริยาไฮโดรฮาโลจีเนชัน
ปฏิกิริยาไฮโดรฮาโลจีเนชันของอัลคีนเป็ นการเพิ่ม H และ X จาก
ไฮโดรเจนเฮไลด์เข้าไปที่พนั ธะคู่ โดยการเพิ่มได้ท้ งั แบบมาร์คอฟนิ
คอฟ หรื อ แบบแอนติ-มาร์คอฟนิคอฟ ทั้งนี้ข้ ึนกับสภาวะที่ทา
ปฏิกิริยา ดังที่กล่าวมาแล้วในบทของอัลคีน
Link to Makovnikov’s Rule
1.3 ปฏิกิริยาการแทนที่
เป็ นปฏิกิริยาที่ใช้อลั กอฮอล์เป็ นสารตั้งต้น และใช้ไอออนเฮไลด์
แทนที่ หมู่ไฮดรอกซิล
เขียนสมการทัว่ ไปได้ดงั นี้
R OH
HX
or PX3
+
R X
H2O
or H3PO3
Example
CH2
CH3CH2 CH OH
2-butanol
PBr3
o
ether, 35 C
CH2
CH3CH2 CH Br
2-bromobutane
+ P(OH)3
2. ปฏิกิริยาของสารเฮไลด์
2.1 ปฏิกิริยาการเกิดสารกริ นยารด์
สารกริ นยารด์ คือ สารอินทรี ยท์ ี่มีโลหะแมกนีเซียมเป็ น
องค์ประกอบมีสูตรทัว่ ไป คือ R-MgX สามารถเตรี ยมได้ดงั สมการ
R X
+
Mg
dry ether
alkyl halide
R Mg X
alkyl magnesium halide
Example
CH3
CH3CH2 Cl
CH3
t-butyl chloride
Mg
dry ether
CH3
CH3CH2 Mg Cl
CH3
t-butyl magnesium chloride
2.2 ปฏิกิริยาการแทนที่ดว้ ยนิวคลีโอไฟล์
ปฏิกิริยาการแทนที่ดว้ ยนิวคลีโอไฟล์ เป็ นการแทนที่ฮาโลเจน
ในอัลคิลเฮไลด์ ด้วยนิวคลีโอไฟล์ชนิดต่างๆ
ปฏิกิริยาทัว่ ไปเขียนได้เป็ น
R X + Nu
or Nu
R Nu + X
ตัวอย่างปฏิกิริยาที่ใช้นิวคลีโอไฟล์ต่างกันมีดงั นี้
¹Ô
ǤÅÕ
â Í ä¿ Åìà» ç¹ Í Í ¡ « Ô
ਠ¹
CH3 CH2 Cl
+
NaOH
H2O
CH3CH2 OH
chloroethane
+
NaCl
ethanol
¹Ô
ǤÅÕ
â Í ä¿ Åìà» ç¹ ä¹ âµÃਠ¹
CH3 Cl
NH3
+
chloromethane
CH3 NH3+ Clmethyl ammonium chloride
¹Ô
ǤÅÕ
â Í ä¿ Åìà» ç¹ « Ñ
Åà¿ Í Ãì
CH3 CH2 Br
bromoethane
+
H2S
ÁÒ¡ à¡ Ô
¹ ¾Í
NaOEt, EtOH
CH3 CH2 SH
ethanethiol
(ethyl mercaptan)
¹ ÔǤÅÕâÍ ä¿ Åìà» ç¹ ¿ Í Ê¿ Í ÃÑÊ
C6H5 CH2 Br +
benzyl bromide
(C6H5)3P
(C6H5)3P C6H5 CH2 Br
triphenylphosphine
benzyltriphenylphosphonium
bromide
¹ ÔǤÅÕâÍ ä¿ Åìà» ç¹ äÍ âÍ ä´ ´ ì
CH3CH2CH2Br
+
acetone
NaI
1-bromopropane
CH3CH2CH2 I + NaBr
1-iodopropane
¹ ÔǤÅÕâÍ ä¿ Åìà» ç¹ äÎ ä´ Ã´ ì
CH3 I
+
LiAlH4
1) ether
2) H2O
methyl iodide lithium aluminium
hydride
CH3 H
methane
2.3 ปฏิกิริยาการขจัด
เป็ นการดึงไฮโดรเจนและฮาโลเจนออกโดยใช้เบสทาให้ได้อลั คีน
ดังสมการ
X
C C
H
+
Base
C C
+
Base-H
Example
Br
CH3 CH CH3
2-bromopropane
CH3CH2O
strong base
CH3 CH CH2
propene
+
X
2.4 ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
1. âÅËÐÊѧ¡ ÐÊÕã¹ ¡ ô
R X
+
Zn
µÑÇÍ ÂèÒ§
n- C15H31CH2 I
1-iodohexadecane
+
R Zn X
X
H
R H + ZnX2
organozinc
Zn-H2O
o
CH3COOH, 100 C
n- C15H31CH2 CH3
hexadecane
2. äÎ â´ Ãਠ¹ ¡ ѺµÑÇàÃè§
+
R X
H2
Pd, Pt, or Ni
R H
+
HX
3. ÊÒÃäÎ ä´ Ã´ ì(LiAlH4, NaBH4)
4R X
+
LiAlH4
4R H
+
LiX
+
AlX3
µÑÇÍ ÂèÒ§
I
CH3(CH2)5 CH CH3
+
NaBH4
1) DMSO, 45 ํC
2) H2O
2-iodooctane
CH3(CH2)6CH3
octane
DMSO = dimethyl sulfoxide
อัลกอฮอล์และฟี นอล
อัลกอฮอล์เป็ นสารที่มีหมู่ไฮดรอกซิลเกาะกับคาร์บอนชนิดอะลิฟาติก
หรื อหมู่อลั คีลมีสูตรทัว่ ไปเป็ น R-OH และแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด
R CH2 OH
R'
R CH OH
R'
R C OH
R"
1o alcohol
2oalcohol
3o alcohol
1.ปฏิกิริยาการเตรี ยมอัลกอฮอล์
1.1 ปฏิกิริยาไฮเดรชัน
เป็ นการเพิ่มไฮโดรเจน (H) และหมู่ไฮดรอกซิล (OH) เข้าไปที่
พันธะคู่ของอัลคีน โดยมีกรดเป็ นตัวเร่ ง เป็ นการเพิ่มแบบ
มาร์คอฟนิคอฟ
C C
+
H+
H OH
alkene
C C
H OH
alcohol
µÑÇÍ ÂèÒ§
CH3
CH3 C CH2
isobutylene
+
H2O
H2SO4
heat
CH3
CH3 C CH2 H
OH
tert-butyl alcohol
1.2 ปฏิกิริยาไฮโดรบอเรชัน-ออซิเดชัน
ปฏิกิริยานี้เป็ นการเพิ่มไฮโดรเจน และหมู่ไฮดรอกซิลเข้าไปที่
พันธะคู่ของอัลคีนโดยการเพิ่มเป็ นแบบแอนติ-มาร์คอฟนิคอฟ
C C
+
alkene
H
H B H
borane
C C B
3
H
trialkylborane
µÑÇÍ ÂèÒ§
CH3
CH3 C CH2
isobutylene
1) (BH3)2
2) H2O2/NaOH
CH3
CH3 C CH2 OH
H
isobutyl alcohol
H2O2
NaOH
C C
H OH
alcohol
1.3 ปฏิกิริยาจากสารกริ นยารด์
เป็ นปฏิกิริยาระหว่างสารกริ นยารด์กบั อัลดีไฮด์หรื อคีโตน จะให้
อัลกอฮอล์ชนิด 2°หรื อ 3°ตามลาดับ
O
R C H
R'MgX
OMg X
R C H
R'
H3O+
OH
R C H
R'
2ํ
alcohol
R'MgX
OMg X
R C R"
R'
H3O+
OH
R C R" +
R'
3ํ
alcohol
aldehyde
O
R C R"
ketone
+
HO Mg X
HO Mg X
1.4 ปฏิกิริยารี ดกั ชันของอัลดีไฮด์และคีโตน
1. ปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันด้วยตัวเร่ ง
O
R C H
H2/ Pd
or Pt or Ni
aldehyde
O
R C R"
ketone
H2/ Pd
or Pt or Ni
OH
R C H
H
1ํ
alcohol
OH
R C R'
H
2ํ
alcohol
2. ปฏิกิริยารี ดกั ชันด้วยสารไฮไดรด์
O
R C H
aldehyde
O
R C R"
ketone
1) LiAlH4or NaBH4
2) H3O+
1) LiAlH4or NaBH4
2) H3O+
OH
R C H
H
1ํ
alcohol
OH
R C R'
H
2ํ
alcohol
1.5 ปฏิกิริยาการแทนที่
เป็ นปฏิกิริยาแทนที่อะตอมฮาโลเจนด้วยนิ วคลีโอไฟล์ที่เป็ นออกซิ เจน จะ
ได้อลั กอฮอล์
R X
+
H2O or
OH-
R OH
+
X-
2. ปฏิกิริยาของอัลกอฮอล์
2.1 ปฏิกิริยาการแทนที่หมู่ไฮดรอกซิล
เป็ นปฏิกิริยาที่มีการแตกพันธะ C-O
R X
+
Nu-
R Nu
+
OH-
µÑÇÍ ÂèÒ§
CH3CH2CH2OH
1-propanol
conc. HCl
ZnCl2/heat
CH3CH2CH2Cl
1-chloropropane
2.2 ปฏิกิริยาเอสเทอริ ฟิเคชัน
เป็ นปฏิกิริยาการแทนที่หมู่ไฮดรอกซิล (OH) ของคาร์บอกซิลิก
ด้วยหมู่อลั คอกซี (OR) ของอัลกอฮอล์
RO H
alcohol
+
HOOC R
conc.H2SO4, heat
carboxylic acid
RO CO R'
+
H2O
alkyl ester
µÑÇÍ ÂèÒ§
COOH
+
CH3OH
OH
salicylic acid
methanol
H2SO4
heat
COOCH3
OH
methyl salicylate
+
H2O
2.3 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
การออกซไดส์อลั กอฮอล์ชนิด 1°จะได้อลั ดีไฮด์ ซึ่งมักถูกออกซิ
ไดส์ต่อไปเป็ นกรดคาร์บอกซิลิกได้ง่าย
R CH2 OH
alcohol
Cu, 200-300 oC
R CHO
aldehyde
KMnO4/heat
R COOH
carboxylic acid
อัลกอฮอล์ชนิด 2°จะให้คีโตนแต่เกิดได้ชา้ กว่า
OH
R CH R
2 íalcohol
Cu, 200-300 íC ËÃ×Í KMnO4, heat
ËÃ×Í K2Cr2O7/H+ ËÃ×Í CrO3/H+
O
R C
R'
ketone
อัลกอฮอล์ชนิด 3°จะถูกออกซิไดส์ได้ยาก หรื อไม่เกิดเลย
OH
R C R'
R"
3 íalcohol
O
äÁèà¡ Ô´» ¯Ô¡ÔÃÔÂÒËÃ×Í ¶ éÒà¡ Ô´
µéÍ §ãª éµÑÇÍ Í ¡ « Ôä´ Êì· ÕèáçÁÒ¡
ÅÓ´ Ѻ¤ÇÒÁäǵèÍ » ¯Ô¡ÔÃÔÂÒÍ Í ¡ « Ôà´ ª ѹ : 1 íROH > 2 íROH > 3 íROH
อัลดีไฮด์และคีโตน
อัลดีไฮด์และคีโตนเป็ นสารที่มี “หมู่คาร์บอนีล” (carbonyl, -co-)
โดยอัลดีไฮด์จะมีหมู่คาร์บอนิลเกาะกับไฮโดรเจนอย่างน้อย 1 อะตอม
และเขียนสูตรทัว่ ไปได้เป็ น R-CHO ส่ วนคีโตนจะเกาะกับหมู่ของ
คาร์บอนทั้ง 2 ข้าง มีสูตรทัว่ ไปคือ R-CO-R’
1. การเตรี ยมอัลดีไฮด์และคีโตน
1.1 ปฏิกิริยาออกซิ เดชันของอัลกอฮอล์
เมื่อออกซิ ไดส์อลั กอฮอล์ชนิด 1º และ 2º
จะได้อลั ดีไฮด์และคีโตนตามลาดับ
R CH2OH
1 íalcohol
OH
R CH R'
2íalcohol
N CrO3Cl
H
pyridinium chlorochromate, PCC
Cu, 200-300 ํC
ËÃ×
Í PCC/CH2Cl2
R CHO
aldehyde
PCC ËÃ×Í Cu, heat ËÃ×Í KMnO4, heat
ËÃ×Í K2Cr2O7, H+ ËÃ×Í CrO3, H+
O
R C R'
ketone
1.2 การเตรี ยมอัลดีไฮด์จากเอซิด
ปฏิกิริยาแทนที่คลอรี นในแอซิดคลอไรด์ดว้ ยไฮโดรเจน จัดเป็ น
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
O
R C Cl
H2/Pd-BaSO4(Lindlar catalyst)
ËÃ×Í LiAlH(O-t-Bu)3
aliphatic acid chloride
O
R C H
aliphatic aldehyde
µÑÇÍ ÂèÒ§
O
CH2 C Cl
cyclohexylacetyl chloride
H2/Pd-BaSO4
ethyl acetate
O
CH2 C H
cyclohexylacetaldehyde
2.ปฏิกิริยาของอัลดีไฮด์และคีโตน
อัลดีไฮด์และคีโตนต่างมีหมู่คาร์บอนิล ทั้งอัลดีไฮด์และคีโตนจึงมี
ปฏิกิริยาส่ วนใหญ่ที่เหมือนกัน คือ ปฏิกิริยาการเพิ่มด้วนนิวคลีโอไฟล์
ซึ่งเขียนสมการทัว่ ไปได้ดงั นี้
O
C
-
Nu E
O E+
C
Nu
2.1 ปฏิกิริยาไฮเดรชัน
ปฏิกิริยาของอัลดีไฮด์และคีโตนกับน้ า
O
C
+
H2O
aldehyde/ketone
OH
C
OH
gem-diol
µÑÇÍ ÂèÒ§
O
H C H
+
H2O
formaldehyde
O
+
H3C C CH3
acetone
H2O
OH
H C H
OH
formalin
OH
H3C C CH3
OH
aceton hydrate
2.2 ปฏิกิริยากับสารกริ นยารด์
ปฏิกิริยานี้ใช้ในการเตรี ยมอัลกอฮอล์ชนิ ดต่างๆ ปฏิกิริยาทัว่ ไปเขียนได้ดงั นี้
O
R C H
1) R-Mg-X
+
2) H3O
aldehyde
O
R C R'
ketone
1) R-Mg-X
+
2) H3O
OH
R C H
R'
2ํ
alcohol
OH
R C R'
R"
3ํ
alcohol
2.3 ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
1. ปฏิกิริยารี ดกั ชันให้อลั กอฮอล์
โดยทัว่ ไปการรี ดิวส์อลั ดีไฮด์และคีโตนจะได้อลั กอฮอล์ชนิด 1º
และ 2º ตามลาดับ
O
R C H
aldehyde
O
R C R'
ketone
H2, Pd, Pt ËÃ×Í Ni
ËÃ×Í 1) LiAlH4 ËÃ×Í NaBH4
R CH2 OH
H2, Pd, Pt ËÃ×Í Ni
ËÃ×Í 1) LiAlH4 ËÃ×Í NaBH4
OH
R C R'
H
2) H3O+
2) H3O+
1 íalcohol
2íalcohol
2. ปฏิกิริยารี ดกั ชันให้ไฮโดรคาร์บอน
การรี ดิวส์อลั ดีไฮด์หรื อคีโตน โดยเปลี่ยนหมู่คาร์บอนิลให้เป็ นหมู่
เมธิลีน (CO --> CH2)
O
R C H
aldehyde
O
R C R'
ketone
Zn-Hg/conc. HCl
ËÃ×Í NH2NH2/KOH/heat
Zn-Hg/conc. HCl
ËÃ×Í 2NH2/KOH/heat
H
R C H
H
methyl group
H
R C R'
H
methylene group
2.4 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ปฏิกิริยาออกซิ เดชันของอัลดีไฮด์และคีโตน มีความไวในการเกิดปฏิกิริยา
แตกต่างกัน
O
R C H
O
aldehyde
O
R C R'
ketone
O
R C OH
carboxilic acid
O
สารละลายเฟห์ลิงจ์ (Fehling’s solution)
สารละลายเฟห์ลิงจ์ (Fehling’s solution) ประกอบด้วย คอปเปอร์
ซัลเฟท (CuSO4) ในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยมีโซเดียม
โพแทสเซียมทาร์เทรท (sodium potassium tartrate, NaKC4H4O6)
CuSO4 + NaOH + NaKC 4H4O6
O
+ Cu [II] tartrate complex
R C H
aldehyde
Cu [II] tartrate complex
O
R C
O-
+ Cu2O
µÐ¡ Í ¹ ÊÕá´ §Í Ô°
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพนั ธ์
กรดคาร์บอกซิลิกมีหมู่ฟังก์ชนั เป็ น “หมู่คาร์บอกซิล” (carboxyl,
COOH) ที่เกาะกับคาร์บอนได้ท้ งั ชนิดอะลิฟาติกและอะโรมาติก กรด
คาร์บอกซิลิกจึงมีสูตรทัว่ ไปเป็ น R-COOH หรื อ Ar-COOH ตามลาดับ
1. ปฏิกิริยาการเตรี ยมกรดคาร์บอกซิลิก
1.1 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ปฏิกิริยาออกซิเดชันของอัลกอฮอล์ชนิด 1º ในขั้นต้นจะให้อลั ดีไฮด์ ซึ่ง
จะถูกออกซิไดส์ต่อไปเป็ นกรดคาร์บอกซิลิกได้ง่าย
R CH2 OH
1 íalcohol
KMnO4/heat ËÃ×Í
K2Cr2O7/H+
O
R C H
aldehyde
O
O
R C OH
carboxylic acid
1.2 ปฏิกิริยาคาร์บอกซิเลชัน
ใช้สารกริ นยารด์ทากับคาร์บอนไดออกไซด์ หรื อ น้ าแข็งแห้ง (dry ice)
R-Mg-X
1) CO2
2) H3O+
O
R C OH
+
HO-Mg-X
1.3 ปฏิกิริยาการแทนที่ของกรดคาร์บอกซิลิก
เป็ นการแทนที่หมู่ไฮดรอกซิลด้วยนิวคลีโอไฟล์
O
R C OH
carboxylic acid
+
-
Nu
+
E
O
+ E-OH
R C Nu
carboxylic acid
derivatives
Nu = X, OCOR, OCOAr, OR, OAr, NH
2, NHR, NR2
2. ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิก
2.1 ปฏิกิริยาความเป็ นกรด
กรดคาร์บอกซิลิกมีสมบัติเป็ นกรด (acidity) ที่สูงกว่าทั้งฟี นอลและอัล
กอฮอล์เมื่อแตกตัวจะได้คาร์บอกซิเลท
O
C OH
carboxylic acid
O
C O-
+
+
H
carboxylate anion
2.2 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของสารไนไตรล์
H3O+ / heat
R C N / Ar
C N
HO-/ heat
H2O
R-COOH / Ar-COOH
H3O+
-
-
R-COO / Ar-COO
การเกิดเอสเทอร์
เอสเทอร์สงั เคราะห์ได้จากกรดคาร์บอกซิลิก กับอัลกอฮอล์ หรื อฟี นอล
โดยใช้ “ปฏิกิริยาเอสเทอริ ฟิเคชัน” (esterification) ที่มีกรด เช่น กรดซัล
ฟูริก หรื อ ไฮโดรคลอริ ก
+
R-COOH + R'OH
carboxylic acid
alcohol
H
R-CO-OR' + H2O
ester
3. ปฏิกิริยาของอนุพนั ธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก
อนุพนั ธ์ของกรดคาร์บอกซิลิกที่สาคัญได้แก่ แอซิดเฮไลด์ แอซิด
แอนไฮไดรด์ เอสเทอร์ และเอไมด์ สามารถเขียนสูตรทัว่ ไปได้เป็ น RCO-Z (Z = X, OCOR, OR, N<)
ความว่องไวต่อปฏิกิริยาของอนุพนั ธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก มีลาดับดังนี้
O
R C X
acid halide
>
O
O
R C O C R
acid anhydride
>
O
R C O R' >
ester
O
R C NH2
amide
คาถามท้ายบท
A) จงอ่านชื่อ IUPAC ของสารอินทรี ยต์ ่อไปนี้
1)
2)
3)
4)
CH3CH2-CH CH2
CH3-O-CH2CH2CH3
OH
O
H-CCH
2CH2CH3
B) ปฏิกิริยาต่อไปนี้จดั เป็ น ปฏิกิริยาการเติม (addition) ปฏิกิริยาการแทนที่
(substitution) ปฏิกิริยาการกาจัด (elimination) หรื อปฏิกิริยาการจัดเรี ยงตัวใหม่
(rearrangement)
1)
CH3CH2Br + NaCN
2)
+ O2N-NO2
3)
OH
+ H 2SO4
O
4)
+
CH3CH2CN + NaBr
NO2
+ HNO2
+ H 2O
O
คาถามท้ายบท Alkane and Alkene
A) แสดงโครงสร้างของผลิตภัณฑที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่าง 3-methyl-1-pentene กับ
รี เอเจนต์ที่กาหนดให้
1) H2/Ni 2) HCl 3) H2SO4 4) O3 followed by Zn/H2O 5) HBr/HOOH
B) จงแสดงผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยา addition ต่อไปนี้
1)
2)
3)
CH3(CH2) 3CH=CH2 + Br
2
CH3
+ HBr
CH3 CHCH CCH3 + H2O
CH3
CH3
H2O2
cat. H2SO4
คาถามท้ายบท Alkyl halide
1. จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยา SN2 ของสารต่อไปนี้
a) 3-bromobutane และ hydroxide ion
b) 3-iodopentane และ hydroxide ion
2. จงเขียน major product ที่เกิดจากปฏิกิริยา E2ระหว่าง alkyl halide และhydroxide ion
a)
b)
c)
CH3CHCH
2CH3
Cl
CH3
CH3CHCHCH
2CH3
CH3
Cl
คาถามท้ายบท Alcohol
จงระบุผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาต่อไปนี้
1)
2)
CH3CH2CHCH
3
OH
H2SO4
OH
HBr
heat
คาถามท้ายบท Aldehyde and Ketone
A) จงเขียนผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาต่อไปนี้
1)
O
CH3 C
2)
O
CH3 C
CH3
H
1) CH3MgBr
2) H3O+
1) NaCN
2) H3O+
คาถามท้ายบท Aldehyde and Ketone (ต่อ)
B) จงเรี ยงลาดับความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาต่อ nucleophile ของสารต่อไปนี้
H
O
C
H
formaldehyde
R
O
C
H
aldehyde
R
O
C
ketone
R'
คาถามท้ายบท Carboxylic acid and derivatives
A) จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นของปฏิกิริยาต่อไปนี้
1)
2)
H3C
O
C
H3C
O
C
Cl
OCH3
+
H3C
+
O
C
-
O
H2O
+
H
คาถามท้ายบท Carboxylic acid and derivatives (ต่อ)
B) จงเรี ยงลาดับความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของสารต่อไปนี้ ต่อ nucleophile
H3C
O
C
H3C
O
C
O
O CCH3
NH2
H3C
O
C
OH
H3C
O
C
OCH3
H3C
O
C
Cl
เฉลย คาถามท้ายบท Alkyl halide
1) a) 2-butanol
b) 3-pentanol
2)
a)
CH3CH CHCH
3
b)
CH3
CH3CH CH CH2CH3
c)
เฉลย คาถามท้ายบท Alcohol
1)
H3C
H
C C
H
CH3
trans-2-butene
2)
Br
+ H2O
และ
H3C
CH3
C C
H
H
cis-2-butene
เฉลย คาถามท้ายบท Aldehyde and Ketone
A)
1)
OH
CH3 C CH3
CH3
2)
OH
CH3 C H
CN
B)
H
O
C
H
>
R
O
C
H
>
R
O
C
R'
เฉลย คาถามท้ายบท Carboxylic acid and derivatives
A)
1)
O
O
CH3 C O C CH3 + Cl
2)
O
CH3 C OH + CH3OH
B)
H3C
O
C
Cl
>
H3C
O
C
O
>
O CCH3
H3C
O
C
OCH3
~_
H3C
O
C
OH
>
H3C
O
C
NH2