มาตรการเปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ(Boiler)

Download Report

Transcript มาตรการเปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ(Boiler)

Slide 1

โครงการสิ ทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการ
“เปลี่ยนเชื้อเพลิงสาหรับหม้อไอน้ า”
โดย
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ร่ วมกับ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี


Slide 2

สรุ ปผลของมาตรการเปลี่ยนเชื้อเพลิงสาหรับหม้อไอน้ า
ที่ มจธ. ตรวจสอบ
CASE

มาตรการ

A

เปลี่ยนเตาซีเป็ น NG

2,923,312

6,334,094

ระยะเวลา
คืนทุน
(ปี )
0.46

B

เปลี่ยนเตาซีเป็ นกะลาปาล์ม

1,765,500

3,217,503

0.55

290,897

C

เปลี่ยนดีเซลเป็ น LPG

836,209

1,884,027

0.44

347,125

D

เปลี่ยนดีเซลเป็ น LPG

940,878

1,869,394

0.50

391,805

6,465,899

13,305,018

0.49

1,482,758

รวม

เงินลงทุน
(บาท)

ผลประหยัด
(บาท/ปี )

วงเงินสนับสนุน
ทางภาษี
(บาท)
452,931


Slide 3

ปัญหาที่พบ
โรงงานขาดเครื่ องมือในการตรวจวัดค่าต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลประหยัด เช่น
มิเตอร์ วดั น้ าป้ อน มิเตอร์ เชื้อเพลิง มิเตอร์ ไฟฟ้ า หรื อบางแห่งมีมิเตอร์ ติดตั้ง แต่
ติดตั้งในตาแหน่งที่ไม่สามารถนามาวิเคราะห์ผลประหยัดได้
การจดบันทึกข้อมูลยังขาดความละเอียด ถูกต้อง และไม่ต่อเนื่อง
โรงงานไม่เข้าใจวิธีการประเมินผลประหยัด มีความรู ้สึกว่าซับซ้อนยุง่ ยาก
การขอข้อมูลประกอบ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ผลประหยัด บางอย่างทางโรงงานไม่
มีการเก็บไว้ หรื อไม่สามารถเปิ ดเผยได้ ทาให้การวิเคราะห์ผลประหยัดเกิดความ
คลาดเคลื่อน และขาดความน่าเชื่อถือ
การผลิตและการใช้ไอน้ าค่อนข้างแปรปรวนไม่คงที่ จะทาให้มีผลต่อการวิเคราะห์
ผลประหยัด
มีความผิดปกติของระบบ ทาให้ตอ้ งหยุดเดินบ่อย ซึ่ งเป็ นอุปสรรคต่อการตรวจวัด
ดังนั้นควรมีการบารุ งรักษาอย่างสม่าเสมอ


Slide 4

2

Boiler 2
4.8 /

C
Meter
1

Boiler 1
3 /

C

Sizing
Spun
Sizing
Filamant

Meter
Feed Tank
Condensate
Make up Water

รู ปภาพแสดงระบบการผลิตไอน้ า


Slide 5

หลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัด
หลักการ
เปรี ยบเทียบต้นทุนในการผลิตไอน้ าก่อนและหลังเปลี่ยนเชื้อเพลิง
จากนั้นนาผลต่างคูณด้วยปริ มาณไอน้ าที่ผลิตทั้งปี ของปี ฐาน
เงื่อนไข
ช่วงที่ทาการตรวจวัดก่อนและหลังเปลี่ยนเชื้อเพลิง ควรมีลกั ษณะ
การผลิตและการใช้ไอน้ าที่ไม่แตกต่างกัน และเป็ นตัวแทนของลักษณะ
การผลิตไอน้ าทั้งปี ได้


Slide 6

หลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัด (ต่อ)
สมการที่ใช้ในการคานวณผลประหยัด
ผลประหยัด (บาท/ปี )
= (ต้นทุนในการผลิตไอน้ าก่อนปรับปรุ ง (บาท/ตันไอน้ า)
- ต้นทุนในการผลิตไอน้ าหลังปรับปรุ ง (บาท/ตันไอน้ า) )
x ปริ มาณไอน้ าที่ผลิตทั้งปี ของปี ฐาน (ตันไอน้ า/ปี )


Slide 7

ปริ มาณเชื้ อเพลิงทีใ่ ช้ (ลิตร)
ปริ มาณไอน้ ้าทีผ่ ลิตได ้(ต้ ั นไอน้ำ)

 ราคาเชื้ อเ พลิง ณ วันทีส่ มัค ร (บาท/ลิตร)

หลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัด (ต่อ)

สมการที่ใช้ในการคานวณผลประหยัด (ต่อ)
ต้นทุนในการผลิตไอน้ า
= ต้นทุนด้านเชื้อเพลิง + ต้นทุนด้านไฟฟ้ า
ต้นทุนด้านเชื้อเพลิง (บาท/ตันไอน้ า)
งที่ใช้ (ลิตร)

= ปริ มาณเชือเพลิ
 ราคาเชื้ อเพลิง ณ วันที่สมัคร (บาท/ลิตร)
ปริ มาณไอน้้าที่ผลิตได
้(ต้ ั นไอน้ำ)

ต้นทุนด้านไฟฟ้ า (บาท/ตันไอน้ า)
ปริ มาณไฟฟ้ าทีใ่ ช้ (kWh)
=
ราคาไฟฟ้ าเ ฉลีย่ ณ วันทีส
่ มัค ร (บาท/kWh)
ปริ มาณไอน้ ้าทีผ่ ลิตได้(ต้ ั นไอน้ ำ)


Slide 8

หลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัด (ต่อ)
สมการที่ใช้ในการคานวณผลประหยัด (ต่อ)
ปริ มาณไอน้ าที่ผลิตได้ท้ งั ปี (ตันไอน้ า/ปี )
= ปริ มาณไอน้ าที่ผลิตได้ต่อวัน x วันทางานต่อปี
(หรื ออาจดูจาก Log Sheet ของหม้อไอน้ าลูกที่ทาการปรับปรุ ง)


Slide 9

การตรวจวัดข้อมูล
ปริ มาณเชื้อเพลิงที่ใช้ (ตรวจวัดต่อเนื่องประมาณ 7 วันทุกๆชัว่ โมง)
ปริ มาณไฟฟ้ าที่ใช้ (ตรวจวัดต่อเนื่องประมาณ 7 วันทุกๆชัว่ โมง)
ปริ มาณไอน้ าที่ผลิตได้ และความดันไอน้ าที่ผลิต หรื อปริ มาณน้ าป้ อนเข้า
หม้อไอน้ าและปริ มาณน้ า Blow Down และอุณหภูมิน้ าป้ อน (ตรวจวัด
ต่อเนื่องประมาณ 7 วันทุกๆชัว่ โมง)
เวลาการ เปิ ด-ปิ ด หม้อไอน้ าในแต่ละวัน ที่ทาการตรวจวัด
ปริ มาณผลผลิตในแต่ละวันที่ทาการตรวจวัด
ค่า TDS ของ Make Up และน้ า Blow Down
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในของท่อ Blow Down


Slide 10

การตรวจสอบข้อมูลประกอบ
ข้อมูลปริ มาณการใช้เชื้อเพลิงก่อนปรับปรุ งของหม้อไอน้ าที่การ
ปรับปรุ งย้อนหลัง 1 ปี และหลังปรับปรุ งเท่าที่มีขอ้ มูล ===> จาก Log
Sheet
ข้อมูลค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงก่อนปรับปรุ งย้อนหลัง 1 ปี และหลัง
ปรับปรุ งเท่าที่มีขอ้ มูล ===> ใบเสร็ จค่าเชื้อเพลิง
แผนผังแสดงกระบวนการผลิต และการใช้ไอน้ าในแต่ละขั้นตอนการ
ผลิต
ลักษณะของอุปกรณ์ที่ใช้ไอน้ า อุณหภูมิที่ตอ้ งการ ความดันไอน้ าที่
ต้องการ ลักษณะการใช้ไอน้ า
อายุการใช้งานของหม้อไอน้ า และลักษณะการจัดการการเดินหม้อไอน้ า


Slide 11

มิเตอร์น้ ามันเตา/น้ ามันดีเซล
จดให้ละเอียดทุก
หลักทศนิยมและ
ดูหน่วยให้
ถูกต้อง

หลักหน่วยอ่าน
ค่าได้นาไปแทน
ตรงเลข 0

ทศนิยม
ตำแหน่ งที่ 1

ค่ ำทีอ่ ่ำนได้
6047633.60 l


Slide 12

มิเตอร์ก๊าซธรรมชาติ (NG) ของ ปตท.
จดให้ละเอียดทุก
หลักทศนิยม

ให้จดบันทึกค่า
Vn หรื อ Vb

ทศนิยม
ตำแหน่ งที่ 1

ค่ ำที่อ่ำนได้
25835.50078 m3


Slide 13

มิเตอร์ก๊าซธรรมชาติ (NG) หรื อ LPG ที่ติดต่างหาก
ปกติจะไม่มีค่า
Vn หรื อ Vb ต้อง
จดความดันก๊าซ
และอุณหภูมิ
เพิ่มเติม เพื่อ
นาไปคานวณหา
Vn ตามสมการ

PnVn/Tn = PV/T

Pn = 1 atm
Tn = 60oF


Slide 14

ตรวจวัด LPG แต่ไม่มีมิเตอร์ตรวจวัด
ใช้การชัง่ น้ าหนักถังแก๊สที่ใช้ก่อนเริ่ มเปิ ด
หม้อไอน้ าและหลังปิ ดหม้อไอน้ าเพื่อให้
ทราบน้ าหนัก LPG ที่ใช้ในแต่ละวัน หรื อ
ใช้วธิ ีอื่นที่เหมาะสม สะดวก และมีความ
น่าเชื่อถือ


Slide 15

ตรวจวัดเชื้อเพลิงแข็ง
เชื้อเพลิงแข็ง ได้แก่ กะลา
ปาล์ม แกลบ ไม้ฟืน ถ่านหิ น
กากอ้อย ซังข้าวโพด เป็ นต้น

ให้ใช้วธิ ีการชัง่ น้ าหนัก
ก่อนที่จะป้ อนเข้าห้องเผา
ไหม้ หรื อวิธีอื่นๆ ที่
เหมาะสมในการหาปริ มาณ
เชื้อเพลิงที่ใช้ในแต่ละวัน


Slide 16

54484.2466x m3

มิเตอร์น้ าป้ อน

414.431 m3

จดให้ละเอียดทุก
หลักทศนิยม
และดูหน่วยให้
ถูกต้อง

26300.737x m3

1211204.9 l


Slide 17

มิเตอร์ไอน้ า

ทศนิยม
ตำแหน่ งที่ 1
จดให้ละเอียดทุกหลักทศนิยม และ
ดูหน่วยให้ถูกต้อง


Slide 18

ตรวจวัดไฟฟ้ า
ตรวจวัดในตาแหน่งที่วดั อุปกรณ์ไฟฟ้ าได้ท้งั ระบบ

ถ้าหากมีมิเตอร์จานหมุนติดอยูแ่ ล้วให้จดค่าต่อเนื่อง 7
วันทุกๆชัว่ โมง ให้สอดคล้องกับการจดปริ มาณน้ า
ป้ อนและเชื้อเพลิงที่ใช้ (จดค่า CT Ratio ด้วย)
หรื อใช้เครื่ องมือบันทึกค่าพลังงานไฟฟ้ าบันทึก
ต่อเนื่อง 7 วันทุกๆ 15 นาที


Slide 19

The End