บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา ชีววิทยา คืออะไร ? ชีววิทยา (Biology) มาจากคาภาษากรีก • ชีว (bios แปลว่า ชีวติ สิ่ งมีชีวติ ) • วิทยา (logos แปลว่า วิชา ศึกษา ความคิด การมีเหตุผล) คือ.

Download Report

Transcript บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา ชีววิทยา คืออะไร ? ชีววิทยา (Biology) มาจากคาภาษากรีก • ชีว (bios แปลว่า ชีวติ สิ่ งมีชีวติ ) • วิทยา (logos แปลว่า วิชา ศึกษา ความคิด การมีเหตุผล) คือ.

บทที่ 2
การศึกษาชีววิทยา
1
2
ชีววิทยา คืออะไร
?
3
ชีววิทยา (Biology)
มาจากคาภาษากรีก
• ชีว (bios แปลว่า ชีวติ สิ่ งมีชีวติ )
• วิทยา (logos แปลว่า วิชา ศึกษา ความคิด การมีเหตุผล)
คือ การ ศึกษา ความคิดของมนุษย์เกี่ยวกับสิ่ งมีชีวิต ซึ่ งจะช่วยให้เข้าใจ
ปัญหาเกี่ยวกับสิ่ งมีชีวิต ทาให้เราสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับ
สิ่ งแวดล้อม และดารงชีวิตอยูร่ อดปลอดภัย มีความเป็ นอยูท่ ี่ดีขึน
4
องค์ประกอบของชีววิทยา
• ส่ วนที่เป็ นความรู ้
• ส่ วนที่เป็ นกระบวนการค้นหาความรู ้
5
ความรู้ในทางวิทยาศาสตร์ Scientific Knowledge
ข้ อเท็จจริง (Fact) คือ ประจักษ์พยามที่สงั เกตพบ
ได้โดยตรง มีความเป็ นจริ งอยูใ่ นตัวเอง
ข้ อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริ งแต่ละอย่างที่
รวบรวมมาใช้ในการศึกษาตัวปัญหา
กฎ (Law) คือ หลักการที่เน้นความสัมพันธ์
ระหว่างเหตุกบั ผล
ทฤษฎี (Theory) คือ ความรู้ที่ได้มาจาก
สมมุติฐานที่ผา่ นการตรวจสอบมาแล้ว จนเป็ นที่
ยอมรับโดยทัว่ ไปใช้อธิบายได้อย่างกว้างขวาง
หรื อใช้ทานายเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึนได้อีก
6
การศึกษาวิทยาศาสตร์
• การศึกษาวิทยาศาสตร์ คือ การแสวงหาข้อเท็จจริ ง
ใหม่ๆ อันจะทาให้เกิดความเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ
ที่เกิดขึนในโลก และเอกภพทังที่เกี่ยวข้องกับ
สิ่ งมีชีวติ และไม่มีชีวติ
7
1.
2.
3.
4.
คุณลักษณะของนักวิทยาศาสตร์
4 ประการ
เป็ นคนช่างสังเกต
มีวิธีการศึกษา
ขวนขวายหาข้อเท็จจริ งที่ถูกต้องกว่าอยูเ่ สมอ
เป็ นคนใจกว้าง
8
กระบวนการวิทยาศาสตร์ (scientific method)
มีขนตอนดั
ั
งนี
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การสังเกต
การตังปัญหา
การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา
การตังสมมติฐาน
การตรวจสอบสมมติฐาน หรื อ ขันการ ทดลอง
การบันทึกและแปรผล หรื อ การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การสรุ ปผล
9
การตั้งสมมติฐาน
1. ตัวแปรต้น คือ สิ่ งที่เราต้องการจะศึกษา
2. ตัวแปรตาม คือ สิ่ งที่เกิดจากตัวแปรต้น
3. ตัวแปรควบคุม คือ สิ่ งที่เราต้องจัดให้เหมือนกันทังหมดใน ชุด
ทดลอง
10
• เราได้คาตอบและแก้ปัญหา
หรื อ แม้แต่การพัฒนา
วิวฒั นาการทุกด้านมากมาย
โดยใช้กระบวนการ
วิทยาศาสตร์
11
การศึกษาเซลล์
 ศึกษาด้ วยกล้ องจุลทรรศน์ ทาให้ สามารถเห็น
รายละเอียดโครงสร้ างของเซลล์
 ศึกษาด้ วยวิธีแยกชิน้ ส่ วนของเซลล์ โดยการเหวี่ยง
ด้ วยความเร็วที่ต่างๆกัน organelles ที่แยก
ออกมาสามารถนาไปศึกษาโครงสร้ างและหน้ าที่ของ
มัน
12
Light microscope
VS.
Electron microscope
?
13
14
Electron micrographs
Transmission electron
micrographs (TEM)
Scanning electron
micrographs (SEM)
15
คาถาม?
16
Different Types of Light Microscope: A Comparison
Brightfield
(unstained
specimen)
Phase-contrast
Brightfield
(stained
specimen)
Differentialinterferencecontrast
(Nomarski)
Confocal
Fluorescene
Human Cheek Epithelial Cells
17
Cell Fractionation
วิธีการแยกชิน้ ส่ วนของเซลล์ ทาได้ โดยการเหวี่ยงด้ วยความเร็วที่
ต่ างๆกัน organelles ที่แยกออกมาสามารถนาไปศึกษาโครงสร้ าง
และหน้ าที่ของมัน
18