คุณสุปราณี - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

Download Report

Transcript คุณสุปราณี - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้ วยกำรพัสดุ พ.ศ. 2535 และ
ที่แก้ ไขเพิ่มเติม
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซือ้ จัดจ้ำงภำครัฐ
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
หลักกำรบริหำรพัสดุ
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
กำหนดควำมต้องกำร
งบประมำณ
จัดทำแผน
เบิกจ่ำยเงิน
จัดหำพัสดุ
กำรบริหำรสัญญำ
กำรควบคุมและจำหน่ ำยพัสดุ
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ระยะที่ 1
ระยะที่ 2
กำรกำหนด
ควำมต้องกำร
และกำรขอ
งบประมำณ
กำรเตรียมกำร
จัดซื้อจัดจ้ำง
ระยะที่ 3
กำรจัดซื้อจัดจ้ำง
ระยะที่ 4
กำรบริหำร
สัญญำ
ระยะที่ 5
กำรควบคุมและ
จำหน่ ำยพัสดุ
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ระยะที่ 1 กำรกำหนดควำมต้องกำรและกำรของบประมำณ
 การกาหนดความต้องการ มี 2 ประเภท คือ
• ควำมต้องกำรในลักษณะนโยบำย เช่น กำรสร้ำงเขื่อน กำรสร้ำงถนน
กำรสร้ำงอำคำรสำนักงำน ฯลฯ
• ควำมต้องกำรในลักษณะเพื่อใช้ในกำรปฏิบตั ิ งำนปกติ เช่น กำร
จัดซื้ออุปกรณ์สำนักงำน กำรจ้ำงเหมำทำควำมสะอำด กำรจัดซื้อ
เพื่อทดแทนของเดิม ฯลฯ
การของบประมาณ
เมื่อหน่ วยงำนรวบรวมควำมต้องกำรได้ ทัง้ ในส่วนของนโยบำยและ
เพื่อใช้ในกำรปฏิบตั ิ งำนปกติแล้ว ก็จะต้องของบประมำณประจำปี
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ระยะที่ 2 กำรเตรียมกำรจัดซื้อจัดจ้ำง
 เมื่อ พรบ.งบประมำณรำยจ่ำยประจำปี มีผลบังคับใช้ ส่วนรำชกำรทรำบ
งบประมำณของตนเองแล้ว ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำร ดังนี้
• จัดทำแผนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงของทุกโครงกำร/งำนที่ได้รบั งบประมำณ
• จัดเตรียมประกำศจัดซื้อจัดจ้ำง
• กำหนดรำยละเอียดคุณลักษณะเฉพำะ (Specification)
• กำหนดช่วงเวลำกำรส่งมอบพัสดุ
• สำหรับงำนจ้ำงก่อสร้ำง ต้องกำหนดรำคำกลำงงำนก่อสร้ำงด้วย
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ระยะที่ 3 กำรจัดซื้อจัดจ้ำง
 กำรประกำศจัดซื้อจัดจ้ำง
 กำรยื่นเสนอรำคำ
 กำรพิจำรณำผลกำรเสนอรำคำ
 กำรทำสัญญำ
*** ต้องปฏิบตั ิ ตามระเบียบเกีย่ วกับการพัสดุในทุกขัน้ ตอน หากละเว้น
ในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ ง่ ก็อาจถือได้ว่าปฏิบตั ิ ไม่ถกู ต้องตามระเบียบ***
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ระยะที่ 4 กำรบริหำรสัญญำ
การบริหารสัญญา หมำยถึง ผูม้ ีหน้ ำที่บริหำรสัญญำซึ่งเป็ น่่ ำย
ผูว้ ่ำจ้ำงต้องบริหำรให้ผร้ ู บั จ้ำงปฏิบตั ิ ตำมสัญญำ กรณี ที่ผรู้ บั จ้ำง
ไม่ปฏิบตั ิ ตำมสัญญำ จะต้องดำเนินกำรดังนี้
• กำรแจ้งเรียกค่ำปรับ
• กำรแก้ไขสัญญำ
• กำรยกเลิกสัญญำ เป็ นต้น
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ระยะที่ 5 กำรควบคุมและจำหน่ ำยพัสดุ
 การควบคุม
• กำรควบคุมวัสดุ
 กำรทำรำยกำรรับ
 กำรทำรำยกำรเบิกจ่ำย
• กำรควบคุมครุภณ
ั ฑ์
 กำรทำทะเบียนครุภณ
ั ฑ์ของแต่ละรำยกำร
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ระยะที่ 5 กำรควบคุมและจำหน่ ำยพัสดุ (ต่อ)
 การบารุงรักษา
• เพื่อให้พสั ดุมีควำมคงทนและมีคณ
ุ ภำพที่ดีตลอดอำยุกำรใช้งำน
 การจาหน่ าย
• เพื่อลดภำระงบประมำณในด้ำนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และทำให้ดแู ล
บำรุงรักษำเฉพำะพัสดุที่สำคัญและจำเป็ นต่อกำรปฏิบตั ิ งำนเท่ำนัน้
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
โครงสร้างของอานาจตามระเบียบ



อำนำจดำเนินกำร
- อำนำจในกำรให้ ควำมเห็นชอบในกำรซื ้อจ้ ำง
- อำนำจในกำรแต่งตังคณะกรรมกำร
้
อำนำจสั่งซือ้ สั่งจ้ ำง
อำนำจลงนำมในสัญญำ
อานาจสัง่ ซื้อ / สัง่ จ้าง
สอบรำคำ /ประกวดรำคำ
(ข้ อ 65)
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
ไม่ เกิน 50 ล้ ำน
ปลัดกระทรวง เกิน
50 ล้ ำน ไม่ เกิน 100 ล้ ำน
รั ฐมนตรี เกิน 100 ล้ ำน
วิธีพเิ ศษ (ข้ อ 66)
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
ไม่ เกิน 25ล้ ำน
ปลัดกระทรวง เกิน 25 ล้ ำน
ไม่ เกิน 50 ล้ ำน
รั ฐมนตรี เกิน 50 ล้ ำน
วิธีกรณีพเิ ศษ (ข้ อ 67)
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
ไม่ จำกัดวงเงิน
กำรมอบอำนำจตำมระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี
ว่ ำด้ วยกำรพัสดุ พ.ศ. 2535
ผู้มีอำนำจดำเนินกำรตำมระเบียบฯ
คำนึงถึง ระดับ ตำแหน่งหน้ ำที่
และควำมรับผิดชอบของผู้รับมอบอำนำจ
ผู้รับมอบอำนำจ
(จะมอบอำนำจให้ แก่ผ้ ดู ำรง
ตำแหน่งอื่นต่อไปไม่ได้ )
มอบอำนำจ
เป็ นหนังสื อ (ข้ อ 9)
ข้อยกเว้น การมอบอานาจต่อ
มอบอำนำจต่ อตำมระเบียบกลำโหม
มอบอำนำจให้ แก่ ผ้ ูว่ำรำชกำรจังหวัด
ผู้มอบอำนำจ
ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบอำนำจต่ อ
แจ้ ง
รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด, ผู้ช่วยผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด,
ปลัดจังหวัด, หัวหน้ ำส่ วนรำชกำรประจำจังหวัด
ได้ รับควำมเห็นชอบ
บุคคลอื่น
ประเภทของการจัดหา
-
กำรจัดทำเอง
กำรซือ้
กำรจ้ ำง
กำรจ้ ำงที่ปรึกษำ
กำรจ้ ำงออกแบบและควบคุมงำน
กำรเช่ ำ
กำรแลกเปลี่ยน
คณะกรรมกำรเปิ ดซองสอบรำคำ
คณะกรรมกำรรับ และเปิ ดซองประกวดรำคำ
คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรประกวดรำคำ
คณะกรรมกำรจัดซื้อโดยวิธีพเิ ศษ
คณะกรรมกำรจัดจ้ ำงโดยวิธีพเิ ศษ
คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ
คณะกรรมกำรตรวจกำรจ้ ำง
คณะกรรมกำรกำหนดรำคำกลำง (มติคณะรัฐมนตรี)
- ประธำน 1 คน
- กรรมกำร อย่ ำงน้ อย 2 คน
- แต่ งตั้งจำกข้ ำรำชกำร พนักงำนรำชกำร
พนักงำนมหำวิทยำลัย หรือพนักงำนของรัฐ
- โดยคำนึงถึงลักษณะหน้ ำที่และควำมรับผิดชอบเป็ นสำคัญ
- กรณีจำเป็ น แต่ งตั้งบุคคลอืน่ อีกไม่ เกิน 2 คน ร่ วมเป็ นกรรมกำร
** กำรแต่ งตั้งคณะกรรมกำรจะต้ องแต่ งตั้งเป็ นครั้งๆ ไป**
(ไม่ จำเป็ นต้ องมีรูปแบบ)
กรรมกำรรับและเปิด
ซองประกวดรำคำ
กรรมกำรพิจำรณำ
ผลกำรประกวดรำคำ
กรรมกำรเปิดซองสอบรำคำ
หรือกรรมกำรพิจำรณำ
ผลกำรประกวดรำคำ
กรรมกำรตรวจรับพัสดุ
กำรแบ่ งซื้อ แบ่ งจ้ ำง หมำยถึง กำรลดวงเงินที่จะซื้อ
หรือจ้ ำงในครั้งเดียวกัน ออกเป็ นหลำยครั้ง
โดยไม่ มีเหตุผลความจาเป็ น และมีเจตนาทีจ่ ะหลีกเลีย่ ง
1) แบ่ งวงเงิน ให้ ลดลงเพือ่ เปลีย่ นวิธีจดั หำพัสดุ
2) ให้ ผ้ ูมีอำนำจสั่ งซื้อ สั่ งจ้ ำง เปลีย่ นไป
การจัดซื้ อพัสดุ ประเภทชนิ ดเดี ยวกัน แม้ต่างขนาดและราคา
เมื่ อ มี ก ารประมาณการความต้อ งการในการใช้ง านของทั้ง ปี แล้ว
จะต้องจัดซื้อรวมในครั้งเดียวกัน เว้นแต่มีเหตุผลที่ชดั เจนที่จาเป็ นต้อง
แยกซื้ อที่ไม่ใช่เป็ นการแบ่งซื้ อแบ่งจ้าง เพื่อประโยชน์ในการบริ หาร
การพัสดุ จะต้องกาหนดเงื่อนไขในการดาเนิ นการจัดซื้อโดยใช้สัญญา
จะซื้ อจะขายแบบราคาคงที่ ไ ม่จ ากัดปริ มาณ เพื่อออกใบสั่งซื้ อเป็ น
คราว ๆ ให้สอดคล้องกับการใช้งานจริ ง
กำรตรวจสอบผู้เสนอรำคำทีม่ ีผลประโยชน์ ร่วมกัน
ผู้เสนอรำคำทีม่ ีผลประโยชน์ ร่วมกัน หมำยถึง
1. บุคคล /นิติบุคคล เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ย (ทางตรง/อ้อม)
รวมคู่สมรส/บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ ได้แก่
- มีความสัมพันธ์ในเชิงบริ หาร
- มีความสัมพันธ์ในเชิงทุน
- มีความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กนั
2. เข้าเสนอราคา /เสนองาน ในคราวเดียวกัน
บริษัท A
นำย ก. เป็ นกรรมกำร
เชิงบริหำร
ผู้จัดกำร
เชิงทุน
เชิงไขว้
นำย ก. ถือหุ้น 26%
นำย ก. ถือหุ้น 26%
บริษัท B
หจก. C
นำย ข. เป็ นกรรมกำร
ผู้จัดกำร
นำย ก. เป็ นหุ้นส่ วน
ผู้จัดกำร
นำย ก. ถือหุ้น 20%
นำย ก. เป็ นหุ้นส่ วนประเภท
ไม่ จำกัดควำมรั บผิดชอบ
นำย ก. เป็ นหุ้นส่ วน
ผู้จัดกำร
ห้ ำงหุ้นส่ วนสำมัญหรือ หจก.
- สำเนำหนังสือรับรองกำรจด
ทะเบียนนิติบคุ คล
- บัญชีรำยชื่อหุ้นส่วนผู้จดั กำร
- บัญชีผ้ มู ีอำนำจควบคุม(ถ้ ำมี)
เอกสำรอื่น
บริษัทจำกัดหรือ บจม.
- สำเนำหนังสือรับรองกำรจด
ทะเบียนนิติบคุ คล
- หนังสือบริ คณห์สนธิ
- บัญชีรำยชื่อกรรมกำรผู้จดั กำร
- บัญชีผ้ ถู ือหุ้นรำยใหญ่
- บัญชีผ้ มู ีอำนำจควบคุม (ถ้ ำมี)
กิจกำรร่ วมค้ ำ
- สำเนำสัญญำ
ของกำรร่วมค้ ำ
- นิติบคุ คล ใช้
เอกสำรแสดงกำร
เป็ นนิติบคุ คล
- หลักฐำนแสดงฐำนะกำรเงิน
- สำเนำใบทะเบียนพำณิชย์
- สำเนำใบทะเบียนภำษีมลู ค่ำเพิ่ม
ผู้มีอานาจรั บรองสาเนาถูกต้ อง
ข้ อเท็จจริ ง
ผู้เสนอรำคำที่เป็ นนิตบิ ุคคล ไม่ ได้ ย่ นื บัญชี
รำยชื่อหุ้นส่ วนผู้จัดกำรและผู้มีอำนำจควบคุม แต่ ได้ ย่ นื
สำเนำหนังสือรับรองกำรจดทะเบียนนิตบิ ุคคล ซึ่งมีรำยชื่อ
ผู้ถือหุ้นทัง้ หมด
คำวินิจฉัย 1. กำรกำหนดให้ ย่ นื บัญชีรำยชื่อหุ้นส่ วน
ผู้จัดกำร หรื อบัญชีรำยชื่อกรรมกำรผู้จัดกำร มี
วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ ในกำรตรวจสอบรำยชื่อผู้มีอำนำจ
จัดกำรนิตบิ ุคคลว่ ำเป็ นผู้มีผลประโยชน์ ร่วมกันหรือไม่

คำวินิจฉัย 2. หำกผู้เสนอรำคำรำยใดมิได้ ย่ นื เอกสำรให้
ครบถ้ วนตำมที่กำหนด ถือเป็ นกำรผิดเงื่อนไขในส่ วนที่เป็ น
สำระสำคัญ เนื่องจำกกำรไม่ ย่ นื เอกสำรทำให้ คณะกรรมกำร
ไม่ สำมำรถตรวจสอบกำรเป็ นผู้มีผลประโยชน์ ร่วมกันได้
อย่ ำงถูกต้ อง

คำวินิจฉัย 3. ในใบเสนอรำคำได้ กำหนดไว้ โดยชัดแจ้ งแล้ ว
ซึ่งผู้เสนอรำคำได้ ทรำบเงื่อนไขดังกล่ ำวแล้ ว จึงควรต้ องปฏิบัติ
ตำมอย่ ำงเคร่ งครั ด


คำวินิจฉัย 4. ในทำงควำมเป็ นจริง หุ้นส่ วนผู้จัดกำรหรือ
กรรมกำรผู้จัดกำรอำจเป็ นบุคคลที่อยู่นอกเหนือจำกรำยชื่อใน
หนังสือรับรองกำรจดทะเบียนนิตบิ ุคคลได้ โดยเป็ นผู้บริหำรที่
แท้ จริงในทำงอ้ อม

คำวินิจฉัย 5. หำกส่ วนรำชกำรไม่ ดำเนินกำรตำมแนววินิจฉัย
ของ กวพ. อำจก่ อให้ เกิดกำรได้ เปรียบเสียเปรียบ ระหว่ ำง
ผู้เสนอรำคำด้ วยกัน และอำจถูกฟ้องร้ องให้ รับผิดได้ ตลอดจน
อำจมีผลกระทบต่ อมำตรกำรป้องกันกำรสมยอม
กำรเสนอรำคำ
เจ้าหน้าที่พสั ดุ
คณะกรรมการที่ส่วนราชการแต่งตั้ง
ผูใ้ ช้พสั ดุ
งานก่อสร้างแบบรู ปรายการ
(อาจจ้างเอกชนเป็ นผูอ้ อกแบบ)
หลักการ ในกำรกำหนด Spec.
** กำรกำหนดรำยละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพำะของพัสดุ
หรืองำนจ้ำง / คุณสมบัติของผูเ้ สนอรำคำ หรือ ผูเ้ สนองำน
** กำรวินิจฉัยตีควำมคุณสมบัติของผูเ้ สนอรำคำ หรือ ผูเ้ สนอ
งำน แต่ละรำยว่ำเป็ นไปตำมเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่
** เป็ นอำนำจของหน่ วยงำนที่จดั หำพัสดุ สำมำรถใช้ดลุ ยพินิจ
กำหนดและวินิจฉัยได้ตำมควำมต้องกำรของหน่ วยงำน
แต่ ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามทีก่ ฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ คาสัง่ หรือมติคณะรัฐมนตรีทีเ่ กีย่ วข้องกาหนดไว้
หลักเกณฑ์ ในกำรกำหนด Spec.
ความเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มกี ารแข่งขันกันอย่างเป็ นธรรม
การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิง่ ของหรือยีห่ อ้ สิง่ ของ
การใช้พสั ดุทผี ่ ลิตในประเทศและกิจการของคนไทย
การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม
คุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคาตามที ่ กวพ. กาหนด
เปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาส
ให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็ นธรรม
1
ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้ อ 15 ทวิ วรรคหนึ่ง ***
- ต้ องดำเนินกำรโดยเปิ ดเผย โปร่ งใส และเปิ ดโอกาสให้ มีการ
แข่ งขันกันอย่ างเป็ นธรรม โดยคำนึงถึงคุณสมบัตแิ ละควำมสำมำรถ
ของผู้เสนอรำคำ หรื อผู้เสนองำน เว้ นแต่ กรณีท่ มี ีลักษณะเฉพำะ
อันเป็ นข้ อยกเว้ น ตำมที่กำหนดไว้ ในระเบียบฯ
2
ระเบียบว่ าด้ วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 ข้ อ 17
- กำรกำหนดรำยละเอียดคุณลักษณะเฉพำะ กำรออกแบบรู ป
รำยกำรก่ อสร้ ำงโดยละเอียด ให้ หวั หน้ ำส่ วนรำชกำรรั บผิดชอบ
ควบคุมดูแลให้ เป็ นไปอย่ ำงโปร่ งใส
การระบุคณ
ุ ลักษณะเฉพาะของสิง่ ของหรือยีห่ ้อสิง่ ของ
งำนก่อสร้ำง
1 มติ ครม. 23 มี.ค. 20
(ที ่ สร 0203/ว 52 ลว. 28 มี.ค. 20)
กำหนดรำยกำรในกำรก่อสร้ำง
1. มี มอก. หรือ กระทรวง
2. กรณียงั ไม่มมี าตรฐาน ถ้าส่วนราชการ
อุตสาหกรรมรับรองแล้ว หรือ
มีมาตรฐานทีส่ ว่ นราชการอืน่
กาหนดไว้ ก็ให้ระบุตาม
มาตรฐานนัน้ ได้ ตามความ
จาเป็ น
จาเป็ นต้องใช้สงิ ่ ของทีเ่ ห็นว่ามีคุณภาพดี
เป็ นทีน่ ิยมใช้ในขณะนัน้ และจาเป็ นต้อง
ระบุชอื ่ ยีห่ อ้ สิง่ ของ ก็ให้ระบุได้
แต่ ต้องให้มากยีห่ อ้ ทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะสามารถ
ระบุได้ และสิง่ ของทีม่ คี ุณภาพเทียบเท่ากัน
ก็ให้ใช้ได้ดว้ ย
การระบุคณ
ุ ลักษณะเฉพาะของสิง่ ของหรือยีห่ ้อสิง่ ของ
งำนซื้อ
2 มติ ครม. ตำมหนังสือ
ที ่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12 และ
ที ่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19
คุณลักษณะเฉพำะของสิง่ ของ
*** ห้าม ***
1. กาหนดให้ใกล้เคียงกับยีห่ อ้ ใดยีห่ อ้ หนึง่
2. ระบุยหี ่ อ้ สิง่ ของทีจ่ ะซื้อ เว้นแต่ ทีม่ ขี อ้ ยกเว้นไว้ เช่น ยารักษาโรค
เครือ่ งอะไหล่ เป็ นต้น
คุณสมบัติของผูเ้ สนอรำคำ
งำนซื้อ/จ้ำง
ทัวไป
่
พิจารณาตามตัวอย่างเอกสาร
ประกวดราคาที ่ กวพ. กาหนด
งำนจ้ำง
ก่อสร้ำง
ต้อง ทาตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคาที ่ กวพ. กาหนด
1
2
ที ่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ
ด่วนมาก ที ่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 ***
คุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา (1)
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา ***
1. ต้องเป็ นผูม้ ีอาชีพขาย หรื อ รับจ้าง
2. ไม่เป็ นผูท้ ี่ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผูท้ ิ้งงาน และ ได้แจ้งเวียน
ชื่อแล้ว หรื อ ไม่เป็ นผูไ้ ด้รับผลของการสัง่ ให้นิติบุคคลหรื อ
บุคคลอื่นเป็ นผูท้ ิ้งงาน
3. ไม่เป็ นผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน (ณ วันประกาศ)
3.1 การซื ้อ/จ้ าง ตามระเบียบพัสดุฯ 35
ผู้เสนอราคารายอื่น
3.2 การซื ้อ/จ้ าง ตามระเบียบพัสดุฯ 49
ผู้เสนอราคารายอื่น ,
ผู้ให้ บริ การกลางอิเล็กทรอนิกส์
หรื อ ไม่เป็ นผูก้ ระทาการอันเป็ นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็ นธรรม
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา ***
4. ไม่เป็ นผูไ้ ด้รับเอกสิ ทธิ์หรื อความคุม้ กัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้น
ศาลไทย เว้นแต่ รัฐบาลของผูเ้ สนอราคาได้มีคาสัง่ ให้สละสิ ทธิ์
และ ความคุม้ กันเช่นว่านั้น
** 5. ต้องผ่านการคัดเลือกผูม้ ีคุณสมบัติเบื้องต้นในการซื้อหรื อจ้าง
** 6. ผูเ้ สนอราคาต้องเป็ น นิติบุคคล และ มี ผลงานก่ อสร้ างประเภท
เดียวกัน กับงานที่ประกวดราคาจ้าง ในวงเงินไม่ น้อยกว่ า.....บาท
และ เป็ นผลงานที่เป็ นคู่สญ
ั ญาโดยตรงกับส่ วนราชการ หน่วยงาน
ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่น
ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็ นราชการบริ หารส่ วนท้องถิ่น
รัฐวิสาหกิจ หรื อ หน่วยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา ***
6.1 กรณี ความเป็ นนิติบคุ คล
งานก่ อสร้ าง วงเงินตั้งแต่ 1 ล้ านบาทขึน้ ไป
ผู้เสนอราคา ต้ องเป็ นนิติบคุ คล
ตามกฎหมาย
(มติ ครม. 6 มิ.ย. 21 – ด่ วนมาก ที่ สร 0203/ว 80
ลว. 8 มิ.ย. 21)
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา ***
6.2 กรณี ผลงาน เพื่อให้ ได้ ทราบถึงศักยภาพของผู้ขายหรื อผู้รับจ้ าง
** งานก่ อสร้ าง **
กาหนดได้ ไม่ เกินร้ อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ
หรื อวงเงินประมาณการ ( นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย.
43 ประกอบ มติ ครม. 28 ธ.ค. 36 – ด่ วนมาก นร 0202/ว 1 ลว.
3 ม.ค. 37)
ต้ องเป็ นผลงานในสัญญาเดียวเท่ านั้น (นร (กวพ)
1204/ว 11441 ลว. 28 พ.ย. 39)
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา ***
6.2 กรณี ผลงาน
งานก่ อสร้ าง (ต่ อ)
ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้ าง
คือ ผลงานที่ใช้ เทคนิคในการดาเนินการเหมือนกัน
เป็ นผลงานที่ผ้ รู ั บจ้ างได้ ทางานแล้ วเสร็ จตามสัญญา
ที่ได้ มีการส่ งมอบงานและตรวจรั บเรี ยบร้ อยแล้ ว
ต้ องเป็ นผลงานที่กระทาสัญญากับส่ วนราชการ รั ฐวิสาหกิจ
หรื อเอกชน ซึ่ งเป็ นผู้ว่าจ้ างโดยตรง ไม่ ใช่ ผลงานอันเกิดจาก
การรั บจ้ างช่ วง
(แนววินิจฉัยของ กวพ.)
คุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา (6)
*** กรณี กิจการร่ วมค้ า ***
 จดทะเบียน
o คุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไข
o คุณสมบัติดา้ นผลงานก่อสร้าง ..... ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่ วมค้าได้
 ไม่จดทะเบียน
o คุณสมบัติทุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข
o ข้อยกเว้น
• ตกลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
• ให้ใครเป็ นผูร้ ับชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐานพร้อม
ซองข้อเสนอราคา / ของข้อเสนอทางเทคนิค
• ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่ วมค้าหลักได้ (นร (กวพ) 1305/ว 2457 ลว. 16 มี.ค.43)
*** งานซื้อ / จ้ าง ทัว่ ไป ***
ไม่ มีหลักเกณฑ์ เรื่ องการกาหนดผลงาน
แต่ หากจาเป็ นต้ องกาหนด ก็เป็ นดุลยพินิจ
ของส่ วนราชการทีจ่ ะอนุโลมนาหลักเกณฑ์
ของงานก่ อสร้ างมาใช้ ได้
(แนววินิจฉัยของ กวพ.)
กรณีทุนจดทะเบียน กาหนดไม่ ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
วิธีตกลงราคา
วิธีสอบราคา
ไม่เกิน 100,000 บาท
เกิน100,000 บาท
ไม่เกิน 2,000,000 บาท
วิธีประกวดราคา
เกิน 2,000,000 บาท
วิธีพิเศษ
เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข
วิธีกรณี พิเศษ
ไม่มีกาหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข
วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction)
ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49
รำยงำนขอซือ้ ขอจ้ ำง
** หลักกำร
ก่ อนดำเนินกำรซือ้ หรื อจ้ ำง
ทุกวิธี ให้ เจ้ ำหน้ ำที่พัสดุ
จัดทำรำยงำนขอซือ้ ขอจ้ ำง
เสนอหัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
เหตุผลความจาเป็ น
รายละเอียดของพัสดุ
ราคามาตรฐานหรือราคากลาง
วงเงินทีจ่ ะซื้อหรือจ้าง
กาหนดเวลาทีต่ ้องการใช้พสั ดุ
วิธีทีจ่ ะซื้อหรือจ้าง
ข้อเสนออืน่ ๆ
การแต่งตัง้ คณะกรรมการ
การออกประกาศ
ข้ อยกเว้ น กำรจัดทำรำยงำนขอซือ้ ขอจ้ ำง
กำรซื้อ/จ้ำง โดยวิธีตกลงรำคำ วงเงินไม่เกิน 10,000 บำท และ
วิธีพิเศษกรณี เร่งด่วนตำม 23 (2) หรือ 24 (3) ซึ่งไม่อำจทำ
รำยงำนตำมปกติได้ เจ้ำหน้ ำที่พสั ดุหรือเจ้ำหน้ ำที่ผรู้ บั ผิดชอบ
ในกำรปฏิบตั ิ รำชกำรนัน้ จะทำรำยงำนขอซื้อหรือขอจ้ำง
** เฉพาะรายการที่
เห็นว่ าจาเป็ นก็ได้
การดาเนินการโดยวิธีตกลงราคา
เจ้ ำหน้ ำที่ พัสดุ
4
1
รายงาน (๒๗)
5
ใบสัง่
ผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำง
หัวหน้ ำเจ้ ำหน้ ำที่พสั ดุ
เห็นชอบ
(๒๙)
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
2
6
ส่ งของ/งาน
คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ/ ตรวจกำรจ้ ำง
ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับกำรจ้ ำง
การดาเนินการโดยวิธีตกลงราคา
วิธีกำร
กรณี จาเป็ นเร่ งด่วน
ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน
ดาเนินการตามปกติไม่ทนั
 เจ้าหน้าที่พสั ดุ หรื อผูร้ ับผิดชอบ
ดาเนินการไปก่อน
 รายงานขอความเห็นชอบหัวหน้า
ส่ วนราชการ
 ใช้รายงานเป็ นหลักฐานการตรวจรับ
เจ้ ำหน้ ำทีพ่ สั ดุ
จัดทำประกำศ (ข้ อ ๔๐)
เผยแพร่ เอกสำร
ข้ อ ๒๗
ข้ อ ๒๙
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
- ก่อนวันเปิ ดซองสอบราคาไม่นอ้ ยกว่า
10 วัน / นานาชาติไม่นอ้ ยกว่า 45 วัน
- ส่ งประกาศให้ผมู ้ ีอาชีพขายหรื อรับจ้าง
โดยตรง หรื อทางไปรษณี ยล์ งทะเบียน
ให้มากที่สุด
- ปิ ดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทาการโดย
เปิ ดเผย
กำรยืน่ ซอง
- ผู้เสนอรำคำจะต้ องผนึกซองจ่ ำหน้ ำถึง
ประธำนกรรมกำร
- ยืน่ ซองด้ วยตนเอง / ทำงไปรษณีย์
(กรณีทกี่ ำหนดไว้ )
- เจ้ ำหน้ ำที่รับโดยไม่ เปิ ดซอง
กำรรับซอง
- ระบุวนั และเวลำรับซอง
- ส่ งมอบซองให้ แก่หัวหน้ ำเจ้ ำหน้ ำที่พสั ดุทนั ที
กำรเก็บรักษำซอง
- หัวหน้ ำเจ้ ำหน้ ำที่พสั ดุ
หน้ ำทีค่ ณะกรรมกำรเปิ ดซองสอบรำคำ (ข้ อ ๔๒)
ตรวจสอบผูเ้ สนอรำคำทีม่ ผี ลประโยชน์ร่วมกัน
ประกำศชือ่ ผูผ้ ำ่ นกำรตรวจสอบ
เปิ ดซองใบเสนอราคาเฉพาะผูไ้ ม่มีผลประโยชน์
ร่ วมกัน
หน้ ำทีค่ ณะกรรมกำรเปิ ดซองสอบรำคำ (ข้ อ ๔๒)
ตรวจสอบคุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา
คัดเลือกผูเ้ สนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขและเสนอ
ราคาต่าสุ ด
ราคาเท่ากันหลายรายยืน่ ซองใหม่
ถูกต้องรายเดียวดาเนินการต่อได้
กรณีสูงกว่ ำวงเงินทีจ่ ะซื้อหรือจ้ ำง (ข้ อ ๔๓)
เรียกผู้เสนอรำคำรำยทีเ่ ห็นสมควรซื้อหรือจ้ ำงมำต่ อรองรำคำให้ อยู่ใน
วงเงิน หรือสู งกว่ ำไม่ เกิน 10%
ถ้ ำไม่ ได้ ผล เรียกผู้เสนอรำคำทุกรำยมำยืน่ ซองใหม่
ถ้ำไม่ได้ผลอีก ให้เสนอควำมเห็นต่อหัวหน้ ำส่วนรำชกำร เพื่อ
ลดรำยกำร ลดจำนวน หรือลดเนือ้ งำน
ขอเงินเพิ่มเติม
ยกเลิกกำรสอบรำคำ
ประกำศ / รับซอง
อย่ ำงน้ อย 10 วัน
ตรวจฮั้ว
เปิ ดซอง
จัดทำเอกสำร
ประกวดรำคำ
(ข้ อ ๔๔)
กำรขออนุมตั ิ
สั่ งซื้อ/จ้ ำง
(ข้ อ ๖๕)
จัดทำรำยงำนขอซื้อ/จ้ ำง
และแต่ งตั้ง
คณะกรรมกำร (ข้ อ ๒๗)
กำรพิจำรณำผล
กำรประกวดรำคำ
(ข้ อ ๕๐)
กำรทำสั ญญำ
(ข้ อ ๑๓๒-๑๓๓)
กำรประกำศเผยแพร่ กำร
ประกวดรำคำ
(ข้ อ ๔๔, ๔๖)
กำรรับและเปิ ดซอง
(ข้ อ ๔๙)
ตรวจรับ
กำรดำเนินกำรโดยวิธีประกวดรำคำ
เจ้ ำหน้ ำทีพ่ สั ดุ
จัดทำเอกสำร (ข้ อ ๔๔)
ข้อ ๒๗
ข้อ ๒๙
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
- ทาตามตัวอย่างที่ กวพ. กาหนด
- แตกต่างหรื อไม่รัดกุมส่ ง
สานักงานอัยการสู งสุ ดตรวจ
กำรดำเนินกำรโดยวิธีประกวดรำคำ
ประกำศ
ให้ ขำย
คำนวณรำคำ
วันรับซองประกวดรำคำ
ไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ทาการ
• ไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ทาการ
• ห้ามมีเงื่อนไขในการให้/ขาย
ไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ทาการ
ห้ามร่ นหรื อเลื่อนวันรับซอง และ
เปิ ดซองประกวดราคา
คณะกรรมการรั บและเปิ ดซองประกวดราคา
- รับซองราคา
- ตรวจหลักประกันซองร่ วมกับเจ้าหน้าที่การเงิน
กรณี หลักประกันซองเป็ นหนังสื อค้ าประกันส่ ง
สาเนาให้ธนาคาร
- รับเอกสารตามบัญชีรายการ หากไม่ถูกต้องให้บนั ทึกไว้
คณะกรรมการรั บและเปิ ดซองประกวดราคา
- ส่ งเอกสารส่ วนที่ 1 ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวด
ราคาเพื่อตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน
- เปิ ดซองและอ่านแจ้งราคาโดยเปิ ดเผยเฉพาะที่ผา่ นการ
ตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน
- ลงลายมือชื่อกากับเอกสารทุกฉบับ
- ส่ งมอบเรื่ องทั้งหมดให้คณะกรรมการพิจารณา
ผลการประกวดราคา
คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรประกวดรำคำ
- ตรวจสอบคุณสมบัตติ ำมประกำศ
- คัดเลือกสิ่ งของ/งำนจ้ ำง
ทีม่ คี ุณภำพและคุณสมบัติ
- พิจำรณำรำคำ เกณฑ์ ปกติ
- เท่ ำกันหลำยรำย
- สู งกว่ ำวงเงิน
ยกเลิก/ดำเนินกำรต่ อไป
- ถูกต้ องรำยเดียว (๔๑)
ยกเลิก
รำยต่ำสุ ด
อนุโลมข้ อ ๔๓
ยืน่ ซองใหม่
- ไม่ มีผู้เสนอรำคำ
หรือไม่ ถูกต้ องตำม
spec (๕๒)
- ประกวดรำคำใหม่
ไม่ ได้ ผลดี
ใช้ วธิ ีพเิ ศษ
การดาเนินการซื้อโดยวิธีพเิ ศษ
เจ้ ำหน้ ำที่พัสดุ
รำยงำน ข้ อ ๒๗
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
ให้ ควำมเห็นชอบ ๒๙
เงื่อนไข (ข้ อ ๒๓) วงเงินเกินหนึ่งแสนบำท
วิธีกำร (ข้ อ ๕๗)
- จะขำยทอดตลำด
เจรจำตกลงรำคำ
- เร่ งด่ วนช้ ำเสี ยหำย
เชิญผู้มอี ำชีพขำยมำเสนอรำคำและต่ อรอง
- รำชกำรลับ
เชิญผู้มอี ำชีพขำยมำเสนอรำคำและต่ อรอง
- ซื้อเพิม่ (Repeat Order)
เจรจำผู้ขำยรำยเดิม เงือ่ นไขเดิม รำคำเดิม
หรือดีกว่ ำ
การดาเนินการซื้อโดยวิธีพเิ ศษ
เงื่อนไข (ข้ อ ๒๓) วงเงินเกินหนึ่งแสนบำท
วิธีกำร (ข้ อ ๕๗)
- ซื้อจำกต่ ำงประเทศ
สั่ งตรงโดยให้ หน่ วยงำนอืน่ ในต่ ำงประเทศ
สื บรำคำให้
- จำเป็ นต้ องระบุยหี่ ้ อ
เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ ำยมำเสนอรำคำ
และต่ อรอง
- ซื้อที่ดนิ และสิ่ งก่อสร้ ำงเฉพำะ
- ดำเนินงำนโดยวิธีอนื่ แล้ ว
ไม่ ได้ ผลดี
เชิญเจ้ ำของมำตกลงรำคำ
สื บรำคำจำกผู้มอี ำชีพขำยและผู้เสนอ
รำคำทีถ่ ูกยกเลิกไป (ถ้ ำมี) ต่ อรองรำคำ
การดาเนินการจ้างโดยวิธีพเิ ศษ
เจ้ ำหน้ ำที่พัสดุ
รำยงำน ข้ อ ๒๗
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
ให้ ควำมเห็นชอบ ๒๙
เงื่อนไข (ข้ อ ๒๔) วงเงินเกิน 1 แสนบำท
วิธีกำร (ข้ อ ๕๘)
- กรณีเป็ นงำนที่ต้องใช้ ช่ำงฝี มือโดย
เฉพำะหรือชำนำญโดยพิเศษ
- เชิญผู้มอี ำชีพโดยตรงมำเสนอรำคำ
- กรณีเป็ นงำนจ้ ำงซ่ อมทีไ่ ม่ ทรำบ
ควำมเสี ยหำย
- เชิญผู้มอี ำชีพโดยตรงมำเสนอรำคำ
- เร่ งด่ วนช้ ำเสี ยหำย
- เชิญผู้มอี ำชีพโดยตรงมำเสนอรำคำ
การดาเนินการจ้างโดยวิธีพเิ ศษ
รำชกำรลับ
จ้ ำงเพิม่
(Repeat Order)
ดำเนินกำรโดยวิธีอนื่
ไม่ ได้ ผลดี
เชิญผู้มีอำชีพโดยตรงมำเสนอ
รำคำ
เจรจำกับผู้รับจ้ ำงรำยเดิม
รำคำต่ำกว่ ำหรือรำคำเดิม
สืบรำคำจำกผู้มีอำชีพรับจ้ ำงและ
ผู้เสนอรำคำที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ ำมี)
ต่ อรองรำคำ
การดาเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพเิ ศษ
(ข้ อ ๒๗)
เจ้ ำหน้ ำที่พัสดุ
ติดต่ อตกลงรำคำ
กับผู้ขำยหรือผู้รับจ้ ำง
ส่ วนรำชกำร /รัฐวิสำหกิจ
หน่ วยงำนตำมกฎหมำย
ท้ องถิ่น
(ข้ อ ๒๙)
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
- วงเงินเกิน 100,000 บำท
หัวหน้ ำส่ วนรำชกำรเป็ นผู้ส่ งั ซือ้ หรื อจ้ ำง
- วงเงินไม่ เกิน 100,000 บำท
เป็ นอำนำจ หัวหน้ ำเจ้ ำหน้ ำที่พสั ดุ
เงื่อนไข :
1. เป็ นผู้ทำ/ผลิตเองและนำยกรัฐมนตรีอนุมัติ
หลักกำรแล้ ว
2. มีกฎหมำย/มติคณะรั ฐมนตรี ให้ ผ้ ซู อื ้ /จ้ ำง
ระยะที่ 4 กำรบริหำรสัญญำ
ผลของสั ญญำ
 หลัก
มีผลตัง้ แต่ วันลงนำมในสัญญำเป็ นต้ นไป
 ข้ อยกเว้ น (ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 351 ลว. 9 ก.ย. 48)
◦ เป็ นกำรเช่ ำหรื อจ้ ำงต่ อเนื่องกับผู้ให้ เช่ ำ/ผู้รับจ้ ำง
รำยเดิม/รำยใหม่
◦ ส่ วนรำชกำรรู้ตวั ผู้ให้ เช่ ำ/ผู้รับจ้ ำง และผู้มีอำนำจ
ได้ อนุมัตใิ ห้ เช่ ำหรือจ้ ำงแล้ ว
◦ ไม่ สำมำรถลงนำมในสัญญำได้ ทนั ในวันที่ 1
ตุลำคม ของปี งบประมำณใหม่
กำรปรับ
 เมื่อครบกำหนดสัญญำ/ข้ อตกลง
ยังไม่ มีกำรส่ งมอบพัสดุ
ต้ องแจ้ งกำรเรียกค่ ำปรับ
 เมื่อมีกำรส่ งมอบพัสดุ เกินกำหนดตำมสัญญำ/ข้ อตกลงต้ องบอก
สงวนสิทธิกำรเรียกค่ ำปรับ
 กำรนับวันปรั บ นับถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำ/ข้ อตกลง จนถึง
วันที่มีกำรส่ งมอบถูกต้ องครบถ้ วน หรือจนถึงวันที่บอกเลิกสัญญำ/
ข้ อตกลง (หักด้ วยระยะเวลำที่ใช้ ไปในกำรตรวจรับ)
 สิ่งของประกอบกันเป็ นชุด / ให้ ปรั บตำมรำคำของทัง้ ชุด
 สิ่งของรวมติดตัง้ /ทดลอง / ให้ ปรั บตำมรำคำของทัง้ หมด
ตัวอย่ างการคิดค่าปรับ
1. .............กำหนดส่ง 17 ม.ค.
1 ส่ง 14 ม.ค.
1 รับ 20 ม.ค.
2.
แจ้งแก้ไข
ปรับ
ลดปรับ
2 ส่ง 24 ม.ค.
2 รับ 27 ม.ค.
กำรแก้ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญำ (ข้อ136)
หลัก
• ห้ ำมแก้ไข เปลีย่ นแปลง
ข้ อยกเว้ น
• กรณีจำเป็ น ไม่ ทำให้ รำชกำรเสี ยประโยชน์
• กรณีแก้ไขเพือ่ ประโยชน์ ของทำงรำชกำร
กำรแก้ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญำ (2)
อำนำจอนุมตั แิ ก้ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญำ
• หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
** หลักกำรแก้ไขฯ **
กำรแก้ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญำ สำมำรถที่จะพิจำรณำดำเนินกำร
แก้ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญำในช่ วงเวลำใดก็ได้ แม้ จะล่วงเลยกำหนด
ระยะเวลำแล้วเสร็จตำมสั ญญำก็ตำม แต่ อย่ ำงช้ ำจะต้ องดำเนินกำร
แก้ไขเปลีย่ นแปลงก่อนทีค่ ณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ/ตรวจกำรจ้ ำง
ได้ ทำกำรตรวจรับพัสดุหรืองำนจ้ ำงไว้ ใช้
อำนำจอนุมัติ
• หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร
สำเหตุ
(1) เหตุเกิดจำกควำมผิด/ควำมบกพร่ องของรำชกำร
(2) เหตุสุดวิสัย
(3) เหตุเกิดจำกพฤติกำรณ์ ทีค่ ู่สัญญำไม่ ต้องรับผิด
ตำมกฎหมำย
วิธีกำร
- คู่สัญญำต้ องแจ้ งเหตุให้ ส่วนรำชกำรทรำบภำยใน 15 วัน
นับแต่ เหตุน้ันได้ สิ้นสุ ดลง หำกไม่ แจ้ งตำมทีก่ ำหนด จะยก
มำกล่ำวอ้ำงเพือ่ ขอลดหรืองดค่ ำปรับ หรือขยำยเวลำใน
ภำยหลังมิได้
เว้ นแต่
- กรณีควำมผิดควำมบกพร่ องของส่ วนรำชกำร (1)
ซึ่งมีหลักฐำนชัดแจ้ งหรือส่ วนรำชกำรทรำบดีอยู่แล้วตั้งแต่ ต้น
- พิจำรณำได้ ตำมจำนวนวันทีม่ เี หตุเกิดขึน้ จริง
กำรบอกเลิก / ตกลงกันเลิกสั ญญำหรือข้ อตกลง
การบอกเลิก
หลัก 1) มีเหตุเชื่อได้ ว่ำ ผู้รับจ้ ำงไม่ สำมำรถทำงำนให้ แล้ วเสร็จ
ภำยในเวลำที่กำหนด (ข้ อ 137 วรรคหนึ่ง)
2) ไม่ ปฏิบัตติ ำมสัญญำ/ข้ อตกลง และค่ ำปรั บจะเกิน 10 %
ของวงเงินทัง้ สัญญำ เว้ นแต่ จะยินยอมเสียค่ ำปรั บ ก็ให้
ผ่ อนปรนได้ เท่ ำที่จำเป็ น (ข้ อ 138)
การตกลงเลิกสัญญาต่ อกัน ทำได้ เฉพำะเป็ นประโยชน์ /หรื อเพื่อ
แก้ ไขข้ อเสียเปรี ยบของรำชกำรหำกปฏิบัตติ ำมสัญญำ/ข้ อตกลง
ต่ อไป (ข้ อ 137 วรรคสอง)
ให้ คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมกำร
ตรวจกำรจ้ ำง เป็ นผู้เสนอควำมเห็นเพือ่ ประกอบ
กำรพิจำรณำของหัวหน้ ำส่ วนรำชกำร ในกำรแก้ ไข
เปลีย่ นแปลงสั ญญำ กำรงด ลดค่ ำปรับ หรือ
กำรขยำยเวลำทำกำรตำมสั ญญำ
(หนังสื อที่ นร (กวพ) 1305/ว 11948 ลว. 13 ธ.ค. 43)
กำรตรวจรับพัสดุและกำรตรวจกำรจ้ ำง
คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ
คณะกรรมกำรตรวจกำรจ้ ำง
งำนซื ้อ
งำนก่อสร้ ำง
งำนจ้ ำงทัว่ ไป
ระยะที่ 5 กำรควบคุมและจำหน่ ำยพัสดุ
แผนภูมิแสดงขัน้ ตอนกำรดำเนินกำรควบคุมและกำรจำหน่ ำยพัสดุ
พัสดุของส่ วนรำชกำรไม่ ว่ำจะได้ มำด้ วยประกำรใด
กำรให้ ส่วนรำชกำรอืน่
หรือบุคคลยืมพัสดุ
ไปใช้ ในกิจกำรที่เป็ น
ประโยชน์ ต่อ
ทำงรำชกำร
ตำมข้ อ 146 - 150
ดำเนินกำรควบคุมและเก็บรักษำ ตำมข้ อ 151 - 152
หน่ วยงำนที่ต้องกำรใช้ พสั ดุและหน่ วยพัสดุที่ควบคุม
ดำเนินกำรเบิก – จ่ ำย ตำมข้ อ 153 - 154
ส่ วนรำชกำรหรือหน่ วยงำนที่มีพสั ดุไว้จ่ำย
ดำเนินกำรตรวจสอบพัสดุประจำปี ตำมข้ อ 155 - 156
ดำเนินกำรจำหน่ ำยในกรณีที่ปรำกฏว่ำ มีพสั ดุหมดควำมจำเป็ น
หรือหำกใช้ ในรำชกำรต่ อไปจะสิ้นเปลืองค่ำใช้ จ่ำยมำก หรือสู ญไป
โดยไม่ มีผ้รู ับผิด ตำมข้ อ 157 - 159
ลงจ่ ำยพัสดุที่จำหน่ ำยแล้วออกจำกบัญชีหรือ
ทะเบียนควบคุม ตำมข้ อ 160
ดำเนินกำรในกรณีที่
พัสดุเกิดกำรชำรุด
เสื่อมคุณภำพหรือ
สู ญไป หรือไม่ จำเป็ น
ต้ องใช้ ในรำชกำรต่ อไป
ก่อนกำรตรวจสอบ
พัสดุ ประจำปี
ตำมข้ อ 161