การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog)

Download Report

Transcript การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog)

CHAPTER 12
Inventory Management
การจัดการวัสดุคงคลัง
Inventory Management
•
•
ของคงคลังหรื อ Inventory เป็ นทรัพย์สินหมุนเวียนที่มีมูลค่าสูงที่สุด
ของคงคลังในแง่ของการผลิตประกอบด้วย
1. Raw material: วัตถุดิบ
2. Component or part: ชิ้นส่ วนประกอบ
3. Supplies: วัสดุสิ้นเปลือง
4. Work-in-process: งานระหว่างทา
5. Finished goods: สิ นค้าสาเร็ จรู ป
Functions of inventory
1.
2.
3.
Finished good inventory
 To meet anticipated demand
 To smooth production requirements
 To protect against stock-outs
Work-in-process inventory
 To decouple operations
 To permit operations
Raw material and part inventory
 To take advantage of order cycles
 To help hedge against price increases
 To take advantage of quantity discounts
Inventory management
•
การตัดสิ นในพื้นฐานเกี่ยวกับ Inventory มีอยู่ 2 ด้าน
1. How much?: จะสัง่ ซื้อครั้งละเท่าไหร่
2. When?: จะสัง่ ซื้อเมื่อใด
Inventory cost
•
•
เป้ าหมายสาคัญในการจัดการของคงคลัง คือ การกาหนดระดับ
ของคงคลังที่ทาให้ตน้ ทุนของคงคลังทั้งสิ้ นอยูใ่ นระดับต่าที่สุด
ต้นทุนที่เกิดจากการมีของคงคลัง ได้แก่
1. Ordering costs or setup costs
2. Carrying costs
3. Storage costs
4. Out-of-stock costs
Inventory cost
1. Ordering costs or setup costs


ต้นทุนในการสั่งซื้ อ: ค่าจัดทาเอกสารจัดซื้ อต่าง ๆ ค่าสิ นค้า ค่าตรวจรับสิ นค้า
ต้นทุนในการสั่งผลิต: ค่าจัดวางสายการผลิต ค่าวัตถุดิบ ค่าจัดเตรี ยมเอกสาร
2. Carrying costs: ค่าขนส่ง ค่าประกันภัย ค่าของเสี ยหาย ค่าเสื่ อม
3. Storage costs: ค่าพื้นที่ ค่าพลังงานไฟฟ้ า ค่าคนงาน
4. Out-of-stock costs: รายรับที่ควรจะได้ ความเชื่อมัน่ ของลูกค้า
Inventory Management
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริ หารสิ นค้าคงคลัง
1. อุปสงค์ หรื อ ความต้องการสิ นค้าคงคลัง (Demand of inventory)
2. การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog)
3. การจัดระดับความสาคัญ (Priority of inventory)
•
Inventory Management
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริ หารสิ นค้าคงคลัง
1. อุปสงค์ หรื อ ความต้องการสิ นค้าคงคลัง (Demand of inventory)
2. การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog)
3. การจัดระดับความสาคัญ (Priority of inventory)
•
Inventory Management
• อุปสงค์อิสระ (Independent Demand)
หมายถึงอุปสงค์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กบั อุปสงค์ของรายการสิ นค้าอื่นๆ ใน
องค์กร เช่น อุปสงค์ของสิ นค้าสาเร็ จรู ปที่มีความต้องการมาจากความต้องการของ
ลูกค้า อุปสงค์ของชิ้นส่ วนในการซ่อมบารุ งเครื่ องจักรที่เกิดการชารุ ด
• อุปสงค์ตาม (Dependent Demand)
หมายถึ ง อุ ปสงค์ที่ มี ค วามสั ม พันธ์ กับ รายการสิ นค้าอื่ น ๆ หรื อมี ความ
ต้องการมาจากโครงสร้ างของผลิตภัณฑ์ตามลาดับ เช่น ความต้องการชิ้ นส่ วนใน
การประกอบตามใบแสดงรายการวัสดุ (Bill of Material-BOM)
Inventory Management
A
อุปสงค์อสิ ระ (Independent Demand)
อุปสงค์ตาม (Dependent Demand)
C
B
E
F
G
D
E
H
I
J
Inventory Management
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริ หารสิ นค้าคงคลัง
1. อุปสงค์ หรื อ ความต้องการสิ นค้าคงคลัง (Demand of inventory)
2. การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog)
3. การจัดระดับความสาคัญ (Priority of inventory)
•
Inventory Management
ประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง
• ช่วยป้ องกันการตั้งรายการสิ นค้าคงคลังซ้ า
• ใช้เป็ นสื่ อกลางในการสื่ อสาร
Inventory Management
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริ หารสิ นค้าคงคลัง
1. อุปสงค์ หรื อ ความต้องการสิ นค้าคงคลัง (Demand of inventory)
2. การจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลัง (Inventory catalog)
3. การจัดระดับความสาคัญ (Priority of inventory)
•
Inventory Management
• หากให้ ค วามส าคัญ สิ น ค้า คงคลัง เท่ า กัน ทั้ง หมดจะท าให้ ต ้อ งเสี ย
ค่าใช้จ่ายและเวลามาก
• ใช้หลักการ ABC Analysis ในการจัดลาดับความสาคัญ
Inventory Management
ABC Analysis
 ประเภท A มีรายการสิ นค้าคงคลังประมาณ 10-20% ของรายการสิ นค้าคง
คลังทั้งหมด มีมูลค่าประมาณ 60-70% ของมูลค่าสิ นค้าคงคลังที่ใช้ท้ งั หมด
 ประเภท B มีรายการสิ นค้าคงคลังอีกประมาณ 30-40% ของรายการสิ นค้าคง
คลังทั้งหมด มีมูลค่าประมาณ 20-30% ของมูลค่าสิ นค้าคงคลังที่ใช้ท้ งั หมด
หรื อเมื่อรวมกับประเภท A แล้ว จะมีมูลค่าประมาณ 90% ของมูลค่าสิ นค้า
คงคลังที่ใช้ท้ งั หมด
 ประเภท C มีรายการสิ นค้าคงคลังอีกประมาณ 50-60% ของรายการสิ นค้าคง
คลังทั้งหมด มีมูลค่าประมาณ 10-15% ของมูลค่าสิ นค้าคงคลังที่ใช้ท้ งั หมด
Inventory Management
ABC Analysis
 ประเภท A เนื่ องจากมีมูลค่าที่สูง จึงจะต้องถูกทบทวนสถานะ การเก็บและ
การซื้ อในระยะสั้น เช่น รายเดือน
 สิ นค้าคงคลังประเภท B มี มูลค่ารองลงมา อาจทาการทบทวนสถานะ การ
เก็บและการซื้ อในระยะกลาง เช่น ทุก 1-6 เดือน
 สิ นค้าคงคลังประเภท C เป็ นสิ นค้าคงคลังกลุ่มที่มีมูลค่าต่า สามารถทาการ
ทบทวนสถานะ การเก็บและการซื้ อในระยะที่ยาวขึ้น เช่น ทุก 6-12 เดือน
ตัวอย่าง บริ ษทั ผูผ้ ลิตแผงวงจรคอมพิวเตอร์ความเร็ วสู ง มีสินค้าคงคลังทั้งสิ้ น 10
รายการ แสดงดังตาราง
หมายเลข
สิ นค้า
#10286
#11526
#12760
#10867
#10500
#12572
#14075
#01036
#01307
#10572
เปอร์เซ็นต์
สิ นค้า
20%
30%
50%
ปริ มาณสิ นค้าคงคลัง
(ต่อหน่วย)
1,000
500
1,550
350
1,000
600
2,000
100
1,200
250
8,550
ราคาต่อ
หน่วย
90
154
17
42.86
12.5
14.17
0.6
8.5
0.42
0.6
มูลค่าสิ นค้า
คงคลัง
90,000.00
77,000.00
26,350.00
15,001.00
12,500.00
8,502.00
1,200.00
850.00
504.00
150.00
232,057.00
เปอร์เซ็นต์มูลค่า
สิ นค้าคงคลัง
38.8
33.2
11.4
6.5
5.4
3.7
0.5
0.4
0.2
0.1
100.0
ประเภท
72%
23%
5%
A
A
B
B
B
C
C
C
C
C
Inventory Models
• Inventory models คือ แบบจาลองทางคณิ ตศาสตร์ ซ่ ึ งใช้วิเคราะห์ หา
•
1.
2.
3.
ขนาดที่ประหยัดสาหรับการสัง่ ซื้อหรื อสัง่ ผลิตแต่ละครั้ง
การบริ หารสิ นค้าคงคลัง  มีวิธีดาเนินการได้ 3 แนวทาง คือ
วิธีระบบปริ มาณการสั่งซื้ อที่ ประหยัด ที่ สุด (Economic Order
Quantity, EOQ)
วิธีการ Moving Average
วิธีการสร้างแบบจาลองด้วยคอมพิวเตอร์ (Simulation)
Inventory Models
วิธีปริ มาณการสัง่ ซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity, EOQ)
• เป็ นวิ ธี ก ารค านวณหาปริ มาณการสั่ ง ซื้ ออย่ า งง่ า ยที่ ใ ช้ ก ั น อย่ า ง
แพร่ หลายมาเป็ นเวลานาน
• ช่วยในการกาหนดปริ มาณการสัง่ ซื้ อแต่ละครั้ง
• การคานวณ EOQ มีตน
้ ทุนที่สาคัญอยู่ 2 อย่าง คือ
1. ต้นทุนการเก็บรักษา (Carrying cost)
2. ต้นทุนการสัง่ ซื้อ (Ordering cost)
Dilemma in inventory control
Economic Order Quantity, EOQ
Assumption of EOQ model
• Only one product is involved: สิ นค้าชนิดเดียว
• Annual demand requirements known: ทราบความต้องการต่อปี
• Demand is even throughout the year: ความต้องการสม่าเสมอทั้งปี
• Lead time does not vary: ทราบ Lead time ที่แน่นอน
• Each order is received in a single delivery: สิ นค้าที่สงั่ ซื้ อไปจะต้อง
ได้รับพร้อมกันทั้งหมด
• There are no quantity discounts: ไม่มีส่วนลดจากการสัง่ ซื้ อ
EOQ: Inventory Cycle
ORDER POINT SYSTEM
Quantity
Planned maximum stock
Using rate
Reorder
point
Reorder quantity
Planned minimum stock
Safety stock
0
Lead
Oder date time Delivery date
Time
EOQ: Average Inventory Quantity
= Q/2
Q
..
..
EOQ: Inventory parameters
TC
P
H
Q
D
K
C
i
Total cost: ต้นทุนรวมต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย)
Ordering cost: ต้นทุนในการสัง่ ซื้ อแต่ละครั้ง (บาทต่อครั้ง)
Holding cost or Carrying cost: ต้นทุนในการจัดเก็บของคงคลัง (บาทต่อปี )
Order quantity: ปริ มาณการสัง่ ซื้ อแต่ละครั้ง (หน่วยต่อครั้ง)
Annual demand: ความต้องการของต่อปี (หน่วยต่อปี )
Annual cost: ต้นทุนรวมทั้งสิ้ นต่อปี (บาทต่อปี )
Purchasing cost: ราคาสิ นค้าต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย)
อัตราค่าใช้จ่ายในการจัดให้มีของคงคลัง (ร้อยละต่อปี )
EOQ
การหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ประหยัด
ต้นทุนคงคลังต่อปี
𝑃𝐷
𝑄
𝐾=
+ 𝐻 + 𝐶𝐷
𝑄
2
ต้นทุนในการซื้ อสิ นค้า
ต้นทุนการสัง่ ซื้ อต่อปี
ต้นทุนการเก็บของคงคลังต่อปี
EOQ
การหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ประหยัด (ต่อ)
ต้นทุนต่อปี
ต้นทุนต่อหน่วย
𝑃𝐷
𝑄
𝐾=
+ 𝐻 + 𝐶𝐷
𝑄
2
1
𝐾 𝑃 𝐻𝑄
𝑇𝐶 = = +
+𝐶
𝐷 𝑄 2𝐷
2
EOQ
การหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ประหยัด (ต่อ)
 การหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ทาให้ค่า TC ต่าที่สุดทาโดยหาอนุ พน
ั ธ์ข้ นั ที่ 1 ของ
TC เทียบกับ Q แล้วกาหนดให้ผลลัพธ์เท่ากับ 0
EOQ
การหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ประหยัด (ต่อ)
ต้นทุนต่อหน่วย
𝑃 𝐻𝑄
𝑇𝐶 = +
+𝐶
𝑄 2𝐷
2
หาอนุพนั ธ์ข้ นั ที่ 1 ของ TC เทียบกับ Q เท่ากับ 0
𝑑(𝑇𝐶) −𝑃 𝐻𝑄
= 2+
=0
𝑑𝑄
𝑄
2𝐷
𝑄=
2𝐷𝑃
𝐻
3
ตัวอย่าง บริ ษทั Sharp Inc ตัวแทนขายเข็มฉี ดยาสาหรับใช้ในโรงพยาบาล ต้องการที่จะ
ลดค่าใช้จ่ายสิ นค้าคงคลังของบริ ษทั ให้นอ้ ยลง โดยใช้ตวั แบบปริ มาณสั่งซื้ อที่ประหยัด
ความต้องการสิ นค้าต่อปี เท่ากับ 1,000 หน่วย (D)
ต้นทุนการสัง่ ซื้ อเท่ากับ 10 ดอลลาร์ ต่อครั้ง (P)
ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี เท่ากับ 0.50 ดอลลาร์ ต่อหน่วยต่อปี (H)
จงคานวณหาปริ มาณสั่งซื้ อเข็มฉี ดยาที่เหมาะสมที่สุด
ปริ มาณการสัง่ ซื้ อที่เหมาะสม
𝑄=
2𝐷𝑃
=
𝐻
2(1000)(10)
(0.5)
= 200 หน่วย
จานวนครั้งของการสั่งซื้ อต่อปี (N)
N = ปริ มาณความต้องการต่อปี / ปริ มาณสั่งซื้ อที่เหมาะสมที่สุด
𝐷
𝑁=
𝑄
= 1,000/200 = 5 ครั้งต่อปี
ช่วงเวลาการสั่งซื้ อในแต่ละครั้ง
T = จานวนวันทางานต่อปี / N
T = 250/5 = 50 วันต่ อครั้ง
ต้นทุนรวมสิ นค้าคงคลังต่อปี
𝑃𝐷
𝑄
𝐾=
+ 𝐻 + 𝐶𝐷
𝑄
2
K = (10x1000/200) + ((0.5x200)/(2))
= 1000 ดอลลาร์ ต่อปี
ตัวอย่างที่ 2 ผูจ้ ดั จาหน่ายยางรถยนต์คาดการณ์วา่ จะสามารถขายยางรุ่ นพิเศษได้ 9,600
เส้นในปี ถัดไป โดยการเก็บสต๊อกสิ นค้ามีตน้ ทุน $16 ต่อยางหนึ่งเส้น และมีตน้ ทุนใน
การสั่งซื้ อ $75 ต่อครั้ง และจานวนวันทางานคือ 288 วันต่อปี
1. จงหาจุดสั่งซื้ อที่ประหยัด
2. จงหาจานวนครั้งในการสั่งซื้ อต่อปี
3. จงหาช่วงเวลาในการสั่งซื้ อแต่ละครั้ง
4. จงคานวณต้นทุนรวมต่อปี สาหรับการสั่งแบบประหยัด
ปริ มาณการสั่งซื้ อที่เหมาะสม
𝑄=
2𝐷𝑃
=
𝐻
2(9,600)(75)
(16)
= 300 เส้น
จานวนครั้งของการสั่งซื้ อต่อปี (N)
N = ปริ มาณความต้องการต่อปี / ปริ มาณสั่งซื้ อที่เหมาะสมที่สุด
𝐷
𝑁=
𝑄
= 9,600/300 = 32 ครั้งต่อปี
ช่วงเวลาการสั่งซื้ อในแต่ละครั้ง
T = จานวนวันทางานต่อปี / N
T = 288/32 = 9 วันต่ อครั้ง  สั่ งสิ นค้ าทุกๆ 9 วัน
ต้นทุนรวมสิ นค้าคงคลังต่อปี
𝑃𝐷
𝑄
𝐾=
+𝐻
𝑄
2
K = (75x32) + ((16x300)/(2))
= 4,800 ดอลลาร์ ต่อปี
EOQ: Discount
การหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ประหยัด: กรณีมสี ่ วนลด
𝑃𝐷
𝑄
𝐾=
+ 𝐻 + 𝐶𝐷
𝑄
2
ต้นทุนในการซื้ อสิ นค้า
ต้นทุนการสัง่ ซื้ อต่อปี
ต้นทุนการเก็บของคงคลังต่อปี
ตัวอย่าง ร้านค้าปลีก Wohl’s ผูจ้ าหน่ายรถแข่งเด็กเล่น ได้จดั ทาตารางส่ วนลดสาหรับ
รถแข่ง ดังตาราง ราคาปกติของรถแข่ง 5 ดอลล่าร์ สหรัฐต่อคัน สาหรับยอดการสั่งซื้ อ
จานวนระหว่าง 1,000-1,999 คัน ราคาจะลดลงเหลือ 4.80 ดอลล่าร์ สหรัฐ หากสั่งซื้ อ
จานวนตั้งแต่ 2,000 คันขึ้นไปจะได้รับส่ วนลดเหลือเพียงคันละ 4.75 ดอลล่าร์ สหรัฐ
นอกจากนี้ ต้นทุนการสั่งซื้ อต่อครั้งเท่ากับ 49 ดอลล่าร์ สหรัฐ ปริ มาณความต้องการต่อ
ปี เท่ากับ 5,000 คัน ต้นทุ นการเก็บรั กษาคิดเป็ นร้ อยละ 20 ของค่าใช้จ่าย หรื อ 0.2 จง
คานวณหาปริ มาณสั่งซื้ อที่จะทาให้ตน้ ทุนสิ นค้าคงคลังโดยรวมต่าที่สุด
ส่ วนลดรายการที่
ปริมาณการสั่ ง
เปอร์ เซ็นต์ ส่วนลด
1
2
3
0 ถึง 999
1,000 ถึง 1,999
2,000 ชิ้นขึ้นไป
ไม่ลดราคา
4
5
ราคาสิ นค้ าต่ อหน่ วย
(P)
5.00
4.80
4.75
คานวณหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ประหยัด
ต้นทุนการเก็บของคงคลัง H = iC
𝑄=
2𝐷𝑃
𝐻
i คือ ต้นทุนการเก็บรักษา (ร้อยละต่อปี )
C คือ ราคาสิ นค้าต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย)
Q1 
2(5,000)(49)
 700
(0.2)(5.00)
Q1 = 700 คัน
Q2 
2(5,000)(49)
 714
(0.2)(4.80)
Q2 = 1,000 คัน
Q3 
2(5,000)(49)
 718
(0.2)(4.75)
Q3 = 2,000 คัน
ตัวอย่าง ร้านค้าปลีก Wohl’s ผูจ้ าหน่ายรถแข่งเด็กเล่น ได้จดั ทาตารางส่ วนลดสาหรับ
รถแข่ง ดังตาราง ราคาปกติของรถแข่ง 5 ดอลล่าร์ สหรัฐต่อคัน สาหรับยอดการสั่งซื้ อ
จานวนระหว่าง 1,000-1,999 คัน ราคาจะลดลงเหลือ 4.80 ดอลล่าร์ สหรัฐ หากสั่งซื้ อ
จานวนตั้งแต่ 2,000 คันขึ้นไปจะได้รับส่ วนลดเหลือเพียงคันละ 4.75 ดอลล่าร์ สหรัฐ
นอกจากนี้ ต้นทุนการสั่งซื้ อต่อครั้งเท่ากับ 49 ดอลล่าร์ สหรัฐ ปริ มาณความต้องการต่อ
ปี เท่ากับ 5,000 คัน ต้นทุ นการเก็บรั กษาคิดเป็ นร้ อยละ 20 ของค่าใช้จ่าย หรื อ 0.2 จง
คานวณหาปริ มาณสั่งซื้ อที่จะทาให้ตน้ ทุนสิ นค้าคงคลังโดยรวมต่าที่สุด
ส่ วนลดรายการที่
ปริมาณการสั่ ง
เปอร์ เซ็นต์ ส่วนลด
1
2
3
0 ถึง 999
1,000 ถึง 1,999
2,000 ชิ้นขึ้นไป
ไม่ลดราคา
4
5
ราคาสิ นค้ าต่ อหน่ วย
(P)
5.00
4.80
4.75
𝑃𝐷
𝑄
คานวณต้นทุนโดยรวม 𝐾 = 𝑄 + 𝐻 2 + 𝐶𝐷
ต้นทุนการ
สั่งซื้ อต่อปี
ต้นทุนการเก็บ
รักษาต่อปี
ต้นทุนราคา
สิ นค้าต่อปี
Q1 = 700 คัน
(49)(5000) (0.2)(5)(700)
𝐾=
+
+ (5)(5000)
(700)
2
Q2 = 1,000 คัน
(49)(5000) (0.2)(4.80)(1000)
𝐾=
+
+ (4.80)(5000)
(1000)
2
Q3 = 2,000 คัน
𝐾=
(49)(5000) (0.2)(4.75)(2000)
+
+ (4.75)(5000)
(2000)
2
𝑃𝐷
𝑄
𝐾=
+ 𝐻 + 𝐶𝐷
𝑄
2
คานวณต้นทุนโดยรวม
ต้นทุนการ
สั่งซื้ อต่อปี
ส่ วนลด
รายการที่
ราคาสิ นค้ า
ต่ อหน่ วย
ปริมาณ
สั่ งซื้อ
1
2
3
5.00
4.80
4.75
700
1,000
2,000
ต้นทุนการเก็บ
รักษาต่อปี
ต้นทุนราคา
สิ นค้าต่อปี
ต้ นทุนการ ต้ นทุนการ ต้ นทุนราคา ต้ นโดยรวม
สั่ งซื้อต่ อปี เก็บรักษาต่ อปี สิ นค้ าต่ อปี
ทุน
350
245
122.50
350
480
950
25,000
24,000
23,750
เลือกปริ มาณการสัง่ ซื้อที่มีตน้ ทุนโดยรวมต่าที่สุด  กรณีที่ 2
25,700
24,725
24,822.50
ตัวอย่าง โรงงานผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้ าแห่ งหนึ่ งต้องใช้สวิตช์จานวน 4,000 ตัวต่อปี ราคา
สิ นค้าต่อหน่ วยแสดงดังตาราง โดยมี ส่วนลดเมื่อสั่งซื้ อในปริ มาณมาก ต้นทุนในการ
สั่งซื้ อสิ นค้า $30 ต่อครั้ ง และต้นทุ นในการเก็บสิ นค้าคงคลังเป็ นร้ อยละ 40 ต่อปี
จงคานวณหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ทาให้ตน้ ทุนคงคลังต่อปี ต่าที่สุด
ส่ วนลดรายการที่
ปริมาณการสั่ ง
1
2
3
1 ถึง 499
500 ถึง 999
1,000 ชิ้นขึ้นไป
ราคาสิ นค้ าต่ อหน่ วย
(P)
$0.90
$0.85
$0.80
คานวณหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ประหยัด
ต้นทุนการเก็บของคงคลัง H = iC
𝑄=
2𝐷𝑃
𝐻
i คือ ต้นทุนการเก็บรักษา (ร้อยละต่อปี )
C คือ ราคาสิ นค้าต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย)
Q1 
2(4,000)(30)
 816.5  817
(0.4)(0.90)
Q1 = 817 ชิ้น
Q2 
2(4,000)(30)
 840
(0.4)(0.85)
Q2 = 840 ชิ้น
Q3 
2(4,000)(30)
 866
(0.4)(0.80)
Q3 = 1,000 ชิ้น
ตัวอย่าง โรงงานผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้ าแห่ งหนึ่ งต้องใช้สวิตช์จานวน 4,000 ตัวต่อปี ราคา
สิ นค้าต่อหน่ วยแสดงดังตาราง โดยมี ส่วนลดเมื่อสั่งซื้ อในปริ มาณมาก ต้นทุนในการ
สั่งซื้ อสิ นค้า $30 ต่อครั้ ง และต้นทุ นในการเก็บสิ นค้าคงคลังเป็ นร้ อยละ 40 ต่อปี
จงคานวณหาปริ มาณการสั่งซื้ อที่ทาให้ตน้ ทุนคงคลังต่อปี ต่าที่สุด
ส่ วนลดรายการที่
ปริมาณการสั่ ง
1
2
3
1 ถึง 499
500 ถึง 999
1,000 ชิ้นขึ้นไป
ราคาสิ นค้ าต่ อหน่ วย
(P)
$0.90
$0.85
$0.80
𝑃𝐷
𝑄
คานวณต้นทุนโดยรวม 𝐾 = 𝑄 + 𝐻 2 + 𝐶𝐷
ต้นทุนการ
สั่งซื้ อต่อปี
ต้นทุนการเก็บ
รักษาต่อปี
ต้นทุนราคา
สิ นค้าต่อปี
Q2 = 840 ชิ้น
(30)(4000) (0.4)(0.85)(840)
𝐾=
+
+ (0.85)(4000)
(840)
2
Q3 = 1,000 ชิ้น
(30)(4000) (0.4)(0.80)(1000)
𝐾=
+
+ (0.80)(4000)
(1000)
2
𝑃𝐷
𝑄
𝐾=
+ 𝐻 + 𝐶𝐷
𝑄
2
คานวณต้นทุนโดยรวม
ต้นทุนการ
สั่งซื้ อต่อปี
ส่ วนลด
รายการที่
ราคาสิ นค้ า
ต่ อหน่ วย
ปริมาณ
สั่ งซื้อ
2
3
0.85
0.80
840
1,000
ต้นทุนการเก็บ
รักษาต่อปี
ต้นทุนราคา
สิ นค้าต่อปี
ต้ นทุนการ ต้ นทุนการ ต้ นทุนราคา ต้ นโดยรวม
สั่ งซื้อต่ อปี เก็บรักษาต่ อปี สิ นค้ าต่ อปี
ทุน
142.86
120
142.8
160
3,400
3,200
เลือกปริ มาณการสัง่ ซื้อที่มีตน้ ทุนโดยรวมต่าที่สุด  กรณีที่ 3
3,685.66
3,480
Safety Stock
กรณีจัดให้ มีของเหลือเผือ่ (Safety stock)
ORDER POINT SYSTEM
Quantity
Planned maximum stock
Using rate
Reorder
point
Reorder quantity
Planned minimum stock
Safety stock
0
Lead
Oder date time Delivery date
Time
Out of Stock
กรณียอมให้ ของขาดแคลน (Out of Stock)
Quantity
T
Reorder
quantity, Q
0
Time
Q-X
t1
t2