ปัจจัยที่ทำให้เกิดการบลูมของแมงกระพรุน

Download Report

Transcript ปัจจัยที่ทำให้เกิดการบลูมของแมงกระพรุน

ปวันรัตน์ บัวโรย
50040214
คานา
แมงกะพรุ น เป็ นสั ตว์ ไม่ มีกระดูกสั นหลังจัดอยู่
ในไฟลัมCnidaria ซึ่งมีรากศัพท์ มาจากคาว่ าKnide
แปลว่ าทาให้ ระคายเคือง
และ Arua แปลว่ า
เกี่ยวข้ องกับ สั ตว์ ในไฟลัมนีจ้ ะมีลกั ษณะพิเศษอยู่
คือมีถุงด้ ายพิษ(nematocyst) ซึ่ งเมื่อสั มผัสโดน
เเล้ วเข็มพิษจะพุ่งออกมาจากถุง ทาให้ ร้ ู สึกปวดแสบ
ปวดร้ อนในบริ เ วณที่โดนเข็มพิษได้ ในธรรมชาติ
ตามปกติจะสามารถพบเเมงกระพรุ นได้ ทั่วไป ทั้ง
ในเขตนา้ ตืน้ หรือแม้ กระทัง่ ในนา้ จืด ส่ วนใหญ่ เเล้ ว
เรามักจะพบแมงกะพรุ นได้ มากในบริ เวณที่มีแหล่ ง
อาหารของมัน
การบลูมของแมงกระพรุ น
คื อ ปริ ม าณของแมงกะพรุ น ในพื้น ที่ ใ ดพื้น ที่
หนึ่ ง ได้ เ พิ่มขึ้นในปริ มาณมากและ อาจเกิด ขึ้นได้
จ า ก ปั จ จั ย ท า ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ห ล า ย ปั จ จั ย ที่ มี
ความสั มพันธ์ กัน เช่ น อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลง
ของสภาพอากาศตามฤดู ก าล การจั บ ปลาเกิ น
ก าลั ง ผลิ ต ปรากฏการณ์ ยู โ ทรฟิ คเคชั่ น (Shiga
nova,1998;Arai, 2001;Parsons and Lalli,2002;
Purcell 2005;Attrill et al.,2007 ) องค์ ประกอบ
ทั้ ง หมดที่ ก ล่ า วมาจะท าให้ ป ริ ม าณอาหาร และ
สภาพแวดล้ อ มในระบบนิ เ วศน์ เ หมาะสมต่ อ การ
ดารงชีวติ และการสื บพันธ์ ของแมงกะพรุ นมากขึน้
ในระยะเวลาประมาณสิ บปี ที่ผ่านมาได้ เกิดปรากฎการณ์ บลูมของ
แมงกะพรุ นในบริ เวณต่ างๆทั่วโลกและมีการตั้งข้ อสั นนิษฐานว่ าอาจเกิด
จาก - อุณหภูมิทสี่ ู งขึน้
- สภาพภูมิอากาศตามฤดูกาลทีเ่ ปลีย่ นแปลง
- ปรากฏการณ์ Eutrophication
- การจับสั ตว์ นา้ ในปริมาณทีม่ ากเกินขีดจากัด
จากสาเหตุ ท้ั ง หมดจะท าให้ เกิ ด สภาพที่ เ หมาะสมต่ อการ
เจริ ญเติบโตและการแพร่ พันธุ์ของแมงกะพรุ น การเกิดการบลูมของ
แมงกะพรุ นนั้นส่ งผลเสี ยต่ อ การประกอบอาชีพทางประมงเเละเศรษฐกิจ
และสิ่ งที่สาคัญคือการบลูมของแมงกะพรุ นสามารถนาไปใช้ เป็ นตัวชี้วัด
ปริ มาณมลพิษและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบนิเวศน์ ในทะเลใน
ปัจจุบันได้
อุณหภูมิ
การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิตามฤดูกาล
จากการศึกษาวงจรชี วิตของแมงกะพรุ นที่อาศัยอยู่ในเขตอบอุ่น
พบว่ าแมงกะพรุ นนั้นมีวงจรชี วิตที่ซับซ้ อน จะพบแมงกะพรุ นได้
มากในฤดู ร้ อน จากนั้ น แมงกะพรุ น ในระยะที่เป็ นเมดู ซ่า จะลด
จานวนลงอย่ างรวดเร็ วในช่ วงฤดูใบไม้ ร่วง และจะหายไปในช่ วงฤดู
หนาว แต่ โพลิปของมันจะสามารถอยู่รอดได้ ในฤดูหนาวเนื่องจากมี
การเข้ าซิสต์
ภาพที่ 2 ค่ าเฉลีย่ ความชุ กชุ มของแมงกะพรุ น Cyania lamarckii , C.capillata ,
Auralia aurita ,C.hysoscella ในปี 2004 และ 2005 ในเดือนต่ างๆ
ที่มา : Barz and Hirche (2007)
อุณหภูมิของโลกทีม่ แี นวโน้ ม
สู งขึน้
อุณหภูมิของโลกที่เพิ่มขึน้ สามารถชั ก
น าให้ เกิ ด การเพิ่ ม ขึ้ น ของแมงกะพรุ น ได้
เพราะมั น จะส่ งผลกระทบต่ อ การกระ
แพร่ กระจาย การเจริ ญ และ การเติบโตใน
ระยะอีไฟราของแมงกะพรุ น(Richardson et
al.,2009) สาเหตุที่ทาให้ เกิดการบลูม ของ
แมงกะพรุ นคื อ อุ ณ หภู มิ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และ
ปริ มาณน้าฝนที่ลดน้ อยลงซึ่ งสาเหตุ เหล่ านี้
สามารถใช้ ท านายการเกิ ด การบลู ม ของ
แมงกะพรุ นได้
ภาพที่3 จานวนหน่ อ และ อีไฟรา ที่เกิดจากแมงกะพรุน Aurelia labiata ที่นามาเจากบริเวณทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก โพลิปและหน่ อ จะถูกควบคุมด้ วยปริมาณอุณหภูมิและ
ความเค็มที่ต่างกันคือ อุณภูมิ 7 , 10 , 15 องศาเซียลเซียส และความเค็ม 20 , 27 , 34 ตามลาดับ
ที่มา : Purcell, unpublished data
ภาพที่ 4 ปริมาณชีวมวลของแมงกระพรุน Chrysaora melanaster ที่พบในทะเลเบอริง บริเวณตะวันออก
เฉียงใต้ ในปี 1975 - 2000
ที่มา : Brodeur et. Al (2002)
การกินอาหารตามธรรมชาติ
ปรากฏการณ์ ยูโทรฟิ คเคชั่น(Eutrophication)
ปรากฏการณ์ ยูโทรฟิ คเคชั่นคือ “กระบวนการเปลีย่ นแปลงระดับ
ของปริ ม าณสารอาหาร โดยมี ป ริ ม าณสารอาหารและแหล่ ง ของ
สารอาหาร เพิ่มขึน้ ในมวลน้า ” แร่ ธาตุ และปริ มาณชี วมวลแพลงก์
ตอนพืชและสั ตว์ ที่มากเกินไปจะเป็ นปัจจัยสนับสนุนแมงกะพรุ นให้
เจริญ เติบโตได้ ดีและเกิดการบลูมของแมงกะพรุ นได้ ( Mills, 2001;
Diaz และ Rosenberg,2008)
ภาพที่ 5 ความชุ กชุ มของแมงกะพรุน Aurelia aurita ในอ่ าว Tapong ประเทศใต้ หวัน
ตั้งแต่ ปี 1999 – 2004 จากกราฟแสดงให้ เห็นถึงปริมาณของแมงกะพรุ น ในช่ วงทีม่ กี าร
เลีย้ งปลาแบบควบคุมหนาแน่ น และ หลังจากเส้ นขั้นสี เทา เป็ นปริมาณของแมงกะพรุน
หลังจากทีเ่ ลิกการทาการเพาะเลีย้ งสั ตว์ นา้ แล้ ว
ที่มา : Lo et al. ( 2008 )
การจับปลาเกินกาลังผลิต
แมงกะพรุนนั้นจะกินตัวอ่อนของ แพลงก์ตอนสั ตว์ โคพีพอด และ
ตัวอ่อนของโคพีพอดเป็ นอาหาร อาหารทีม่ ันกินนั้นเป็ นอาหารชนิด
เดียวกันกับปลาเศรษฐกิจชนิดหลักทีม่ ีอยู่ตามธรรมชาติ ต่ อมาเมื่อปลา
ถูกจับจนเหลือปริมาณน้ อยลง ทาให้ แมงกะพรุนไม่ มีคู่แข่ งในการแย่ ง
อาหารชนิดเดียวกัน ทาให้ อาหารของมันนั้นมีปริมาณมากขึน้ และเป็ น
สาเหตุให้ เกิดการบลูมของแมงกะพรุนได้ (Purcell and Arai,2001 ;
Richardson et al.,2009)
ภาพที6่ ปริมาณของปลาทะเลทีจ่ ับได้ ในทะเลจีน ระหว่ างปี 1980 – 2004
ทีม่ า : SOA,2008
ภาพที7่ แสดงจานวนของปลาแอนโชวี่ใน Yellow Sea ในรอบปี
ต่ างๆ
ทีม่ า: Zhao et al., (2003)
สรุป
กล่ าวโดยสรุ ปได้ ว่าการบลูมของแมงกะพรุ นนั้น มักจะ
เกิด จากสาเหตุ ต่ า งๆที่มีค วามเกี่ย วข้ อ งเชื่ อ มโยงกัน เช่ น จาก
ระดั บ ของอุ ณ หภู มิ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงตามฤดู ก าลและจากการที่
อุณหภูมิของโลกที่มีแน้ วโน้ มสู งขึน้ ปรากฏการณ์ ยูโทรฟิ คเคชั่ น
ในแหล่ ง น้ า และจากการจั บ ปลามากจนเกิ น ก าลั ง ผลิ ต ใน
ธรรมชาติ ซึ่ งสาเหตุเหล่ านั้นจะส่ งผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อม
ของสภาพน้าทะเลและสิ่ งแวดล้ อมตามธรรมชาติด้วย การบลูม
ของแมงกะพรุ นจึงเสามารถใช้ ป็นตัวชี้ วัดสภาพแวดล้ อม และ
ระดับคุณภาพนา้ ทีต่ ่าลงได้
ตารางที่ 1 แสดงความสั มพันธ์ ของนา้ ทะเลทีเ่ กิดปรากฏการณ์ ยูโทรฟิ คเคชั่นและแมงกะพรุ น
ทีม่ า : Arai (2001)
จบการนาเสนอ