นายอาทร พิบูลธนพัฒนา เลขาธิการสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย

Download Report

Transcript นายอาทร พิบูลธนพัฒนา เลขาธิการสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย

โอกาสและผลกระทบของการเป็ น
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่ อ
ภาคอุตสาหกรรมประมง
นายอาทร พิบูลธนพัฒนา
สมาคมอาหารแช่ เยือกแข็งไทย
วันจันทร์ 22 เมษายน 2556
อาเซียนกับอุตสาหกรรมประมง
ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
การเป็ นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่ วม
ศักยภาพการผลิตและแปรรู ปประมงของไทย
ศูนย์ขอ้ มูล สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย
สรุปสถิตกิ ารส่ งออกสิ นค้ าประมงในปี 2012
TOTAL
TOTAL
- - Dec 2012
Jan
Jan - Dec 2011
Q
Product
(Tons)
V
Growth Rate %
Jan-Dec 2012
V
Q
( M/B ) (M/US.$) (Tons)
V
V
Q
( M/B ) (M/US.$) (Tons)
Shrimp
380,513.70 107,048.08 3,551.10 323,102.91 89,493.86 2,896.73 -15.09
Cephalopod
64,795.42 12,859.28 426.27 62,931.04 13,456.53 435.88
Fish
All TOTAL
V
(M/B)
V
(M/US.$)
-16.40
-18.43
-2.88
4.64
2.25
395,521.17 31,953.08 1,059.33 371,864.66 29,756.66 963.38
-5.98
-6.87
-9.06
840,830.29 151,860.44 5,036.70 757,898.61 132,707.05 4,295.99
-9.86
-12.61
-14.71
Exchange Rate 30.15 bath/USD in 2011
30.89 bath/USD in 2012
Edited by Information Center Dept.
Update : January 2013
ศูนย์ขอ้ มูล สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย
แนวโน้ มการส่ งออกกุ้งของประเทศไทย
Source : Information and Communication Technology
Center With Cooperation of The Customs Department
ฝ่ ายศูนย์ขอ้ มูล สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย
ปรับปรุ ง : ธันวาคม 2012
มาตรฐานการผลิตสิ นค้ าประมงแช่ เยือกแข็ง
(Private Standard)
ISO 22000 ; การจัดการบริ หารงานคุณภาพ และ Hazard Analysis Critical Control Point
Pre-Certification ; การรับรองอาหารปลอดภัยเพื่อส่ งออกไปญี่ปุ่น
Halal Food Standard ; การนาบทบัญญัติศาสนาอิสลามมาใช้ควบคู่ไปกับหลักเกณฑ์สุขลักษณะที่
ดีในการผลิตอาหารและวิเคราะห์จุดอันตราย
Aquaculture Certification Council ; การรับรองขบวนการผลิต โดยใช้ HACCP ผนวกกับการ
รักษาระบบนิเวศน์
Marine Stewardship Council ; การรับประกันอาหารสัตว์น้ าที่มาจากการจับจากแหล่งน้ า
ธรรมชาติ โดยไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม
Global GAP ; มาตรฐานที่ควบคุมผลผลิตการเกษตรให้ปลอดสารพิษตกค้างและไม่ทาลาย
สิ่ งแวดล้อม ขายในสหภาพยุโรป
British Retail Consortium/ The Global Standard for Food Safety ; มาตรฐานอาหารปลอดภัยที่
กาหนดให้ปฎิบตั ิตามเพื่อขายในประเทศอังกฤษ
International Food Standard ; ระบบการจัดการเกี่ยวกับสุ ขลักษณะที่ดี HACCP และ
Traceability
มาตรการสุ ขลักษณะและการค้ าทีป่ ระเทศผู้นาเข้ าใช้ กบั ไทย
2011
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อศักยภาพการเลีย้ งกุ้ง
ต้นน้ า
กลางน้ า
• โรงเพาะฟักขาดแคลนพ่อแม่พนั ธุ์ที่มีคุณภาพ
• ต้นทุนการผลิต
• ราคาวัตถุดิบขาดเสถียรภาพ
•
•
•
•
ขาดแคลนแรงงาน
ถูกกล่าวหาว่าใช้แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ และค้ามนุษย์
ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน
มาตรการสุ ขลักษณะและการค้า เช่น ยาปฎิชีวนะ, การกาหนดค่า
Maximum Residue Level
ปลายน้ า
• วิกฤติเศรษฐกิจในตลาดหลัก เช่น สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป
ภัยคุกคามล่ าสุ ด
- การแข่งขันทางการค้า
ขาดแคลนวัตถุดบ
ิ
ต้นทุนการแปรรู ปสิ นค้าสูง
- การใช้มาตรการสิ่ งแวดล้อม
คารบอนฟุ
ตพริน
้ ท์
์
- การใช้มาตรการสังคม
ปัญหาดานแรงงานเด็
ก,การค้ามนุษย์
้
Key Selling Points
Available :
We have the volume
Reliable :
We deliver as promised
Affordable :
Reasonable Price
การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแช่ เยือกแข็งไทยทั้งระบบ
วัตถุดิบ
• แหล่งน้ า
ธรรมชติ
• การ
เพาะเลี้ยง
สัตว์น้ า
• การนาเข้า
สถานแปรรู ป
สัตว์น้ าเบื้องต้น
• การบริ หาร
จัดการล้ง
• การจัดระบบ
สุ ขอนามัยล้ง
โรงงานแปรรู ป
และส่งออก
• การบริ หาร
จัดการโรงงาน
• การบริ หาร
จัดการแรงงาน
• การจัดการ
ระบบ
สุ ขอนามัย
การส่งออก
• ระบบการค้า
กับตลาด
สาคัญ
• มาตรการด้าน
สุ ขอนามัย
• ระบบการ
ขนส่ ง
ผลกระทบของ AEC ต่ อกลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร
ผลกระทบด้านบวก
ผลกระทบด้านลบ
อุตสาหกรรม - ผูป้ ระกอบการจะได้รับประโยชน์จากสภาวะอุปสงค์
ของตลาดที่ใหญ่ข้ ึน
ต้นน้ า
- ผูป้ ระกอบการจะต้องเผิชญกับการแข่งขันจากกลุ่มประเทศเพื่อน
บ้านอาเซียนที่สามารถผลิตได้ในราคาต้นทุนที่ต่ากว่า
- ผูป้ ระกอบการจะต้องประสบกับภาวการณ์ขาดแคลนงานในภาค
การผลิตต้นน้ า โดยเฉพาะภาคการเกษตร
ประมง เนื่องจากการรวมกลุ่ม AEC จะทาให้ประเทศสมาชิก
อาเซียนมีโอกาสทางด้านการค้าและการลงทุนมากขึ้น ส่ งผลให้
แรงงานกลับไปทางานในประเทศของตนเอง
อุตสาหกรรม - ผูป้ ระกอบการจะได้รับประโยชน์จากสภาวะอุปสงค์
กลางน้ า ของตลาดที่ใหญ่ข้ ึนในอาเซียน อาเซียน+3 และ
- การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี จะทาให้ผปู ้ ระกอบการที่ขาดความ
เข้มแข็งด้านเงินทุนจะถูกครอบงาจากนักลงทุนต่างชาติ ทาให้ตอ้ งเป็ น
ผูร้ ับจ้างผลิตมากกว่าเป็ นเจ้าของกิจการ
- ผูป้ ระกอบการจะประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงาน
อุตสาหกรรม - ผูป้ ระกอบการจะได้รับประโยชน์จากสภาวะอุปสงค์ที่
ปลายน้ า เพิม่ ขึ้น เนื่องจากความสะดวกในการเดินทางติดต่อกันใน
- การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี จะทาให้ ผูประกอบการที
่
้
ขาดความเข้มแข็งด้านเงินทุนจะถูกครอบงาจากนักลงทุนต่างชาติ ทา
ให้ตอ้ งเป็ นผูร้ ับจ้างผลิตมากกว่าเป็ นเจ้าของกิจการ
อาเซียน+6
- ผูป้ ระกอบการสามารถแสวงหาวัตถุดิบจากแหล่งใหม่ๆ
จากประเทศในกลุ่มอาเซียน เพื่อทดแทนการขากแคลน
ภายในประเทศ
- ผูป้ ระกอบการสามารถขยายฐานการลงทุน/ ฐานการ
ผลิตไปยังประเทศที่มีความพร้อมด้านวัตถุดิบ แรงงาน
และการขนส่ ง
อาเซียน
- ผูป้ ระกอบการจะมีโอกาสขยายการลงทุนไปยังประเทศ
ต่างๆ เนื่องจากเปิ ดเสรี การลงทุนได้มากขึ้น
ที่มา สานักงานส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
การเตรียมความพร้ อมของภาคอุตสาหกรรมอาหาร
1. ปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพการผลิต ให้มีตน้ ทุนที่สามารถแข่งขันได้
2. เตรี ยมความพร้อมแรงงาน ให้มีคุณภาพ
3. ปรับประสานกฎระเบียบและมาตรฐานสิ นค้าให้มีความเท่าเทียมกันในอาเซี ยน
4. ปรับปรุ งการผลิตให้สามารถปฏิบตั ิตามกฎถิ่นกาเนิ ดสิ นค้าของอาเซี ยนได้ และบริ หาร
จัดการวัตถุดิบให้มีราคาที่เหมาะสมและมีคุณภาพดี
5. ปรับปรุ งอัตราอากรของไทยให้เหมาะสม โดยเฉพาะอัตราอากรนาเข้าวัตถุดิบ และ
สิ นค้าขั้นกลาง เพื่อป้ องกันการย้ายฐานการผลิต ส่ งเสริ มให้เกิดเครื อข่ายการผลิต
(Production Network) เพื่อให้สามารถสร้าง Economy of Scale เพื่อให้สามารถ
แข่งขันได้ในระดับโลก
ที่มา สานักงานเสรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
โอกาสและความพร้ อมของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ของอาเซียน ทีม่ ผี ลบวกต่ ออุตสาหกรรมประมงของไทย
1. สร้างตลาดขนาดใหญ่
- ASEAN มีประชากรรวมกว่า 580 ล้านคน
- สร้างความน่าสนใจและดึงดูดการค้า/การลงทุน
2. ส่ งเสริ มแหล่งวัตถุดิบ
- ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในภูมิภาค
- สร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขัน
- ส่ งเสริ ม Competitive advantage
3. เพิม่ อานาจการต่อรอง
- การสร้างท่าทีร่วมในระดับภูมิภาค
- สร้างพันธมิตรร่ วมในด้านเศรษฐกิจทั้งในระดับภูมิภาคและอนุภมู ิภาค
- ส่ งเสริ มการเป็ นศูนย์กลางของอาเซี ยน
ผลกระทบเชิงลบต่ ออุตสาหกรรมประมงของไทย
1.
2.
3.
สิ นค้าของประเทศอาเซี ยนอื่นเข้าสู่ ตลาดไทยได้โดยง่าย ทาให้
การแข่งขันสู งขึ้น และอาจส่ งผลกระทบต่อคุณภาพการผลิต
ในด้านการลงทุน หากประเทศไทยไมปรั
่ บปรุงกฏ
ระเบียบและกฎหมายให้มีความทันสมัย ไม่เป็ นอุปสรรคต่อนักลงทุน
ก็อาจทาให้มีการเคลื่อนย้ายฐานการผลิตเข้ามาในประเทศมากขึ้น
เนื่องจากไทยมีปัจจัยพื้นฐานการผลิตที่มีศกั ยภาพที่ดีกว่า ซึ่ งจะมี
ผลกระทบต่อกลไกราคาสิ นค้าได้
ตลาดสิ นค้าในประเทศ (Domestic Market) ตลาดภายในยังไม่มีกลไก
ในการป้ องกันไม่ให้สินค้าคุณภาพต่ากว่าที่ผลิตได้ในอาเซี ยนเข้ามา
ขายในประเทศมากขึ้น ผูบ้ ริ โภคอาจใช้สินค้าที่นาเข้าจากต่างประเทศ
ที่มีคุณภาพและราคาต่ากว่า สิ นค้าที่ผลิตภายในอาเซี ยนจึงควรสร้าง
มาตรฐานให้เท่าเทียมกับสิ นค้าภายในประเทศ
รายการสิ นค้ าที่ไทยส่ งออกไปอาเซียน
ที่มา: บริ ษทั ไบรอัน เคฟ(ประเทศไทย จากัด รวบรวมจาก International Trade Centre
18
Vision
TFFA เป็ นองค์กรหลัก
ในการกาหนดทิศทางอุตสาหกรรม
อาหารแช่เยือกแข็งไทย โดยมีความ
พร้อมด้านองค์ความรูร้ ะดับสากล
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
อย่างยั่งยืน
Thank You
for Your Attention