การควบคุมคุณภาพ Quality Control การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน  การควบคุมคุณภาพ คุณภาพ หมายถึง ลักษณะและคุณสมบัติท้ งั หมด ของสิ นค้าหรื อบริ การที่สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของลูกค้าได้

Download Report

Transcript การควบคุมคุณภาพ Quality Control การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน  การควบคุมคุณภาพ คุณภาพ หมายถึง ลักษณะและคุณสมบัติท้ งั หมด ของสิ นค้าหรื อบริ การที่สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของลูกค้าได้

การควบคุมคุณภาพ
Quality Control
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน

การควบคุมคุณภาพ
คุณภาพ หมายถึง ลักษณะและคุณสมบัติท้ งั หมด
ของสิ นค้าหรื อบริ การที่สามารถตอบสนองต่อ
ความต้องการของลูกค้าได้
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
 ลักษณะคุณภาพ จาแนกได้ดงั นี้
หน้าที่ใช้งาน
2. ความทนทานและอายุการใช้งาน
3. รู ปร่ างลักษณะ
4. การบริ การหลังการขาย
1.
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
1.
2.
ความสาคัญของคุณภาพ
ชื่อเสี ยงขององค์กร
กาไรขององค์กร
• ลูกค้าเชื่ อถือ ส่ วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น ขยายกาลังการ
ผลิต ต้นทุนลดลง
• ตั้งราคาได้สูงขึ้น
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
จานวนของเสี ยลดลง ลดการซ่อมแซมสิ นค้า ต้นทุนการ
ผลิตลดลง
• ลดต้นทุนการประกันคุณภาพ ต้นทุนการบริ การหลัง
การขายลดลง
3. ความไว้วางใจต่อองค์กร
4. ชื่อเสี ยงของประเทศชาติ
•
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
 การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
หมายถึง การจัดเกี่ยวกับการควบคุมวัตถุดิบ และการ
ควบคุมการผลิตเพื่อป้ องกันไม่ให้ผลผลิตหรื อ
ผลิตภัณฑ์สาเร็ จรู ปมีขอ้ บกพร่ อง และเกิดการ
เสี ยหาย การควบคุมเป็ นการป้ องกันมากกว่าการ
แก้ไข
ตัวอย่างเครื่ องมือในการวัดคุณภาพ
QC
JIT TQC TPM
QCC
Suggestion
VE
KYT
Kaizen
ISO9000
ISO 14000
Problem
Solving
สะสาง
(Seiri)
P
สะดวก
(Seiton)
D
สะอาด
(Seiso)
สร้ างนิสัย
(Shisuke)
C
สุ ขลักษณะ
(Seiketsu)
A
ตัวอย่างเครื่ องมือในการวัดคุณภาพ
QC
JIT TQC TPM
QCC
Suggestion
VE
KYT
Kaizen
ISO9000
ISO 14000
Problem
Solving
สะสาง
(Seiri)
P
สะดวก
(Seiton)
D
สะอาด
(Seiso)
สร้ างนิสัย
(Shisuke)
C
สุ ขลักษณะ
(Seiketsu)
A
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
ระบบเพื่อควบคุมคุณภาพมาตรฐาน ที่เป็ นที่นิยม
 อนุกรมมาตรฐาน ISO9000 หรื อเรี ยกย่อว่ามาตรฐาน
ISO9000
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
 ISO หมายถึง องค์การระหว่างประเทศว่าด้วย
มาตรฐาน (International Organization for
Standardization)
 มาตรฐาน ISO แบ่งออกเป็ นเรื่ องต่างๆ เช่น
ISO9000 เป็ นมาตรฐานการบริ หารงานคุณภาพ และ
ประกันคุณภาพ แนวทางการเลือกและการใช้
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
มาตรฐาน ISO9000 มีมาตรฐานเพื่อการขอรับรอง3มาตรฐาน
1. ISO9001 ระบบคุณภาพแบบการประกันคุณภาพในการ
ออกแบบ/พัฒนา การผลิต การติดตั้งและการบริ การ
ประยุกต์ใช้กบั ธุรกิจที่ทาการออกแบบสิ นค้าหรื อบริ การ
เอง ผลิตติดตั้งและให้บริ การลูกค้า มีกิจการครบทุก
ขั้นตอนตั้งแต่ออกแบบจนถึงบริ การหลังการขาย
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
2. ISO9002 ระบบคุณภาพแบบการประกันคุณภาพ
ในการผลิต ติดตั้ง และบริ การ ประยุกต์ใช้กบั ธุรกิจ
ที่มิได้ทาการออกแบบสิ นค้าเอง โดยอาจจะใช้แบบ
ที่ลูกค้ากาหนดให้หรื อโรงงานที่ใช้แม่แบบจาก
บริ ษทั แม่ส่งมา
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
3. ISO9003 ระบบคุณภาพแบบประกันคุณภาพในการ
ตรวจและการทดสอบขั้นสุ ดท้าย ประยุกต์ใช้กบั ธุรกิจที่
มิได้ผลิตสิ นค้าเอง ทาแต่เฉพาะการตรวจสอบและ
ทดสอบสิ นค้าเท่านั้น
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
การออกแบบ
และพัฒนา
ผลิตภัณฑ์
การจัดหาและ
การผลิต
การตรวจสอบ
และทดสอบ
ISO9003
ISO9002
ISO9001
การติดตั้ง
การบริ การ
การวางแผนการผลิต และการดาเนินงาน
1.
2.
3.
4.
5.
ประโยชน์ ของการควบคุมคุณภาพ
ลดค่าใช้จ่าย เช่น ลดความเสี ยหายในการผลิต ลดการทางาน
ซ้ าซ้อน
ลดค่าใช้จ่ายภายนอกโรงงาน เช่น ค่าโฆษณา
ทาให้ขายผลผลิตได้ในราคาที่ต้ งั ไว้ เพราะสิ นค้ามีคุณภาพ
ทาให้บรรยากาศในการทางานดีข้ ึน
ทาให้ขวัญ กาลังใจของพนักงานดีข้ ึน และอื่นๆ
การควบคุมคุณภาพเชิงรวม
Total Quality Control
(TQC)
มารู ้จกั กับ TQC
ระบบการบริหารคุณภาพทัว่ ทั้งองค์ กร
 TQC คือกิจกรรมทีพ
่ นักงานทุกคน ทุกระดับ และทุกหน่ วยงานทาหรือ
ร่ วมกันทาเป็ นประจา เพือ่ ปรับปรุ งงานอย่ างสมา่ เสมอและต่ อเนื่อง
โดยท าอย่ างมีระบบ ทาอย่ างเชิงวิชาการ อิงข้ อมูล และมีหลักการทีส่ มเหตุ
สมผล เพือ่ จุดมุ่งหมายทีท่ าให้ ลูกค้ าพึงพอใจในคุณภาพสิ นค้ าและบริการ
 T = TOTAL หมายถึง ทุกคน ทุกระดับ ทุกหน่ วยงาน และทุกวัน
 Q = QUALITY หมายถึง คุณภาพสิ นค้ า คุณภาพบริ การ และคุณภาพ
ของงานประจ าวันทุกชนิด (DAILY WORK)

QUALITY ตามความหมาย TQC
มีองค์ ประกอบ 5 อย่ างคือ
1. คุณภาพ (Quality = Q) หมายถึง คุณภาพของสิ นค้ าและบริการ และคุณภาพของ
งานระหว่ างทา
2. ต้ นทุน (Cost = C) หมายถึง ค่ าใช้ จ่ายในการผลิต การให้ บริการ และการทางาน ซึ่ง
จะมีผลต่ อราคาสิ นค้ า และบริการนั้น
3. การส่ งมอบ (Delivery = D) หมายถึง การส่ งมอบสิ นค้ า และบริการในจานวนที่
ถูกต้ อง ไปในสถานที่ที่ถูกต้ อง และตรงตามเวลาที่นัดหมาย
4. ความปลอดภัย (Safety=S) ความปลอดภัยของผู้ใช้ บริการ/ลูกค้ า รวมถึงความ
ปลอดภัยของพนักงาน ซึ่งมีผลต่ อคุณภาพของสิ นค้ าและบริการ
5. ขวัญของพนักงาน (Morale = M) หมายถึง การสร้ างขวัญและกาลังใจให้ แก่
พนักงานอย่ างต่ อเนื่อง โดยมีความเชื่อว่ าขวัญและกาลังใจของพนักงานมีผลกระทบ
โดยตรงต่ อพฤติกรรมการทางานของพนักงาน และการปรับปรุงงานเพือ่ ตอบสนองความ
ต้ องการของลูกค้ า
ความหมายของ TQC ในมุมมองต่างๆ (ต่อ)
-
-
ดร. เฟเกนบาม ( Dr. Feigenbaum ) กล่าวไว้วา่ TQC
คือ ระบบหรื อวิธีการที่รวบรวมความพยายามของกลุ่มต่างๆในองค์กร ที่
เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพในอันที่จะให้การผลิตและการบริ การอย่าง
ประหยัดที่สุด โดยคานึงถึงความพึงพอใจของลูกค้าอย่างรอบคอบ
ดร. จูแรน ( Dr. Juran ) ผูศ้ ึกษาและพัฒนา TQC อีกผูห้ นึ่ง
กล่าวว่า TQC เป็ นกิจกรรมทุกกิจกรรมที่สมเหตุสมผล ที่ทาให้
คุณภาพเป้ าหมายสัมฤทธิ์ ผล *
ความหมายของ TQC ในมุมมองต่างๆ
-
อิชิโร มิยาอูชิ ( Ichiro Miyauchi )
ให้คาจากัดความของ TQC คือ กิจกรรมที่จะสร้างระบบ
ควบคุมคุณภาพเชิงรวมหรื อที่สมบูรณ์แบบ ซึ่ งเน้นคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ โดยการร่ วมมือกันทั้งบริ ษทั ทาการพัฒนาผลิต และจาหน่าย
สิ นค้าหรื อบริ การที่มีความเชื่อถือได้สูง เพื่อที่จะให้ผใู ้ ช้สินค้านั้นมี
ความพอใจในสิ นค้าในระยะยาว *
ในอดีตผูผ้ ลิตสิ นค้าจะเน้นความพอใจของผูผ้ ลิตเป็ นสาคัญ นัน่ คือ
ยึดถือคุณภาพของสิ นค้า
ตามที่ผผู ้ ลิตกาหนดเป็ นมาตรฐานในการผลิตเท่านั้น
ต่อมาในปัจจุบนั ความหมายตามแนวความคิดดั้งเดิมได้
เปลี่ยนแปลงไปคาจากัดความของคุณภาพคือ ความพอใจของผูใ้ ช้หรื อ
คุณสมบัติที่เหมาะสมกับการใช้งาน
ความหมายของการควบคุมคุณภาพเชิงรวม
มีความหมาย 3 ประการ
1. เป็ นการรวมกิจกรรมทุกๆ อย่ างในองค์ กรเข้ าด้ วยกัน
2. เป็ นการร่ วมมือกันของทุกๆ ฝ่ ายในองค์ กร
3. เป็ นการร่ วมมือกันของทุกคนในองค์ กร *
TQC วิวฒั นาการของการควบคุมคุณภาพ




TQC เป็ นวิวฒ
ั นาการอีกชั้นหนึ่งของการควบคุมคุณภาพ (QC)
เริ่มเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
โดยทีญ
่ ี่ปุ่นได้ แรงจูงใจมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา
เริ่มแรกนั้นเป็ นการใช้ QC ในเชิงสถิติ SQC
( Statistical Quality Control ) แล้ วก็เกิดกลุ่ม
QCC ( Quality Control Circle ) *
จุดบกพร่ องในกิจกรรม QC มีสาเหตุดงั ต่อไปนี้
1. คิดว่า เมื่อได้แต่งตั้งผูร้ ับผิดชอบ QC แล้วก็ถือว่าการทา QC นี้
สมบูรณ์
2. คิดว่า ตัวเองไม่จาเป็ นต้องไปสนใจในเรื่ อง QC มากนัก
3. คิดว่า บริ ษทั ได้ทากิจกรรม QC มาตั้งเกือบ 10 ปี ถือว่าเพียงพอแล้ว
4. คิดว่าได้ส่งพนักงานบริ ษทั ไปรับการอบรมเรื่ อง QC ก็เป็ นสิ่ งเพียงพอ
แล้ว
5. คิดว่า ไม่ตอ้ งคานึงถึงคุณภาพของสิ นค้าและงานที่ทาก็ได้หากต้นทุนลด
ต่าลง *
หลักการของ TQC (ต่อ)
TQC ได้ ววิ ฒ
ั นาการมาจาก QCC กิจกรรมกลุ่ม
QCC เป็ นพืน้ ฐานทีค่ า้ จุน TQC ดังนั้น TQC จะต้ องมี
กิจกรรมกลุ่ม QCC อยู่ด้วยเสมอ โดยมีหลักการดังนี้
1. เพือ่ ประโยชน์ ต่อองค์กร ภายใต้ ความสานึกทีว่ ่ ากิจการที่ทาอยู่ในองค์ กร
เปรียบเสมือนหนึ่งเป็ นกิจการของตนเอง ซึ่งผู้ปฏิบัติงานจะต้ องมีหน้ าที่
พัฒนาปรับปรุ งงานต่ างๆ ภายในองค์ กรให้ เกิดประโยชน์ มากทีส่ ุ ด ภายใต้
การปฏิบัติงานที่มีความสามัคคี ร่ วมแรงร่ วมใจปรึกษาหารือแลกเปลีย่ น
ความคิดเห็นในการปฏิบัติงานอย่ างเปิ ดเผย *
หลั. กการของ TQC
2. รับฟังความคิดเห็นต่ างๆ
โดยให้ ความเคารพในความคิดเห็นของบุคคลอืน่ พูดจาด้ วยเหตุ
และผล
โดยมีจุดมุ่งหมายเพือ่ การแก้ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เป็ นหลัก ตัดเรื่อง
ปัญหาภูมิหลังต่ างๆ ของเพือ่ นร่ วมงานออกไป เสริมสร้ างให้ มีการ
แสดงออกอย่ างเป็ นอิสระ
เพือ่ ให้ เกิดสั มพันธภาพอันดี และจะเป็ นผลทาให้ สถานที่ทางาน
เป็ นทีน่ ่ าอยู่ น่ าสนุกสนาน *
ผลจากจุดมุ่งหมายในการปฏิบตั ิ (ต่อ)
1. ทาให้ เกิดบรรยากาศในการทางาน เสริมสร้ างความเข้ าใจให้ พนักงาน
รู้ จักทางานเป็ นหมู่คณะ
2. ก่ อให้ เกิดความรู้ ความสามารถมากขึน้
3. ทุกคนมีโอกาสได้ แสดงความคิดเห็น เป็ นการแสดงความสามารถออกมา
อย่างเต็มที่ เป็ นการยกระดับจิตใจของพนักงานก่ อให้ เกิดบรรยากาศที่ดี
ในการทางานของสานักงาน
4. เป็ นการสร้ างความสามัคคีในหมู่คณะเดียวกัน
5. สามารถนาความรู้ ในการสร้ างคุณภาพมาใช้ ประโยชน์ ต่อตนเอง *
ผลจากจุดมุ่งหมายในการปฏิบตั ิ
6. ทาให้ ทุกคนมีความสบายใจในการทางาน ไม่ มคี วามขัดแย้ งกันในการ
ปฏิบัติงาน หันหน้ าเข้ าหากันเพือ่ ปรึกษา
7. ก่อให้ เกิดขวัญและกาลังใจในการทางานของพนักงาน
8. ทาให้ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ เข้ าสู่ คาว่ า “คุณภาพ” อย่ างแท้ จริง
9. ลดความสู ญเสี ยของผลิตภัณฑ์ ทผี่ ลิตได้
10. ลดต้ นทุนการผลิต เพิม่ ประสิ ทธิภาพการทางาน
11. ลดค่าใช้ จ่ายการตรวจสอบผลิตภัณฑ์
12. ก่ อให้ เกิดระบบการควบคุมคุณภาพทั้งองค์ กร สร้ างความเจริญให้ กบั
องค์ กรทีต่ นเองปฏิบัติอยู่ *
ขั้นตอนการปฏิบตั ิการสร้างกลุ่มสร้างคุณภาพ
1.
2.
3.
4.
วัฏจักรของเดมิง่ (Deming Cycle) คือ
การวางแผน ( plan : P )
การปฏิบัติ ( do : D )
การตรวจสอบ ( check :C )
การปรับปรุงแก้ ไข ( action : A ) *
1. ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มสร้างคุณภาพ
กลุ่มสร้างคุณภาพจะเกิดขึ้นได้สิ่งสาคัญ คือ จะต้องมีการสร้าง
แรงจูงใจในการปฏิบตั ิกลุ่มสร้างคุณภาพ ด้วยการจัดอบรมปู
พื้นความคิด พื้นฐานในหลักการปฏิบตั ิกลุ่มสร้างคุณภาพ และ
ขั้นตอนการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างคุณภาพ ชี้ให้เห็นถึง
คุณประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบตั ิกลุ่มสร้างคุณภาพ *
2. ขั้นตอนการปฏิบตั ิในกลุ่มสร้างคุณภาพ
1.
2.
3.
4.
ขั้นวางแผน
ขั้นการปฏิบัติ
ขั้นการตรวจสอบ
ขั้นการปรับปรุง *
ขั้นการวางแผน
ก.
ข.
ค.
ง.
จ.
ระบุถงึ ปัญหาต่ างๆ ที่ต้องการปรับปรุ ง
เก็บรวบรวมข้ อมูล
กาหนดหัวข้ อและแสดงภาพของปัญหา
กาหนดเป้าหมายที่แน่ นอน
เลือกวิธีการแก้ ไขปรับปรุ ง *
ขั้นการปฏิบตั ิ
หลังจากได้ ดาเนินการวางแผนขั้นต่ าง ๆ แล้ว ในขั้นไปนี้
จะเป็ นขั้นของการปฏิบัติตามแผน เพือ่ ให้ บรรลุตามเป้าหมาย
ที่วางไว้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพภายใต้ สาเหตุของแต่ ละสาเหตุ *
ขั้นการตรวจสอบ
เมื่อทาในขั้นที่2 แล้ว จะต้ องตรวจติดตามผลงานที่
ปฏิบัติไปด้ วย *
ขั้นการปรับปรุ ง
เป็ นผลจากขั้นตอนการตรวจสอบจากที่กล่าวมาแล้วในหัวข้ อ
ที่ 3 ที่ว่าถ้ าได้ ผลตามเป้าหมายหรือสู งกว่ าเป้าหมายก็ได้ นาผล
การปฏิบัติต่างๆ มาจัดทาเป็ นมาตรฐาน และถ้ าได้ ผลต่ากว่า
เป้าหมายก็ให้ รีบแก้ ไขปรับปรุ งงานให้ มีประสิ ทธิภาพขึน้ แล้ว
จึงจัดทาเป็ นมาตรฐานงานการปฏิบัติเพือ่ เสนอรายงานผลงาน
ให้ กลุ่มอืน่ ได้ ทราบต่ อไป *
ประโยชน์และขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม TQC
เมือ่ มีการดาเนินกิจกรรม TQC กันแล้ ว ก็จะเกิดผลทีด่ ีคอื ทาให้
1. มีความสามารถในการค้ นหาปัญหา
2. เห็นความสาคัญของการวางแผนงาน
3. เห็นความสาคัญของงานที่เป็ นกระบวนการ
4. สามารถมุ่งสู่ จุดหลักทีส่ าคัญได้
5. พนักงานทุกคนรู้ ซึ้งถึงความเป็ นระบบ *
ข้อควรคานึงในการดาเนินกิจกรรม
1. กาหนดจุดยืนและแนวความคิดในเรื่องการทากิจกรรม TQC
2. กาหนดแนวทางให้ แน่ ชัด
3. การดาเนินการไปทั้งโครงสร้ างนั้นจาเป็ นจะต้ องจัดสิ่ งต่ างๆ ให้ เป็ นระบบ
ที่ดี
4. เพือ่ ให้ การดาเนินงานเป็ นไปอย่ างแน่ นอนและมีประสิ ทธิภาพ จาเป็ น
จะต้ องให้ การศึกษากับพนักงานทุกคนในเรื่องของความคิดเกีย่ วกับ
TQC รวมทั้งเทคนิควิธีด้วย *
ขั้นตอนการทา TQC
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
จะต้ องกาหนดระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ให้ ชัดเจน
ให้ ทุกๆ ฝ่ ายในบริษทั ทาความเข้ าใจความคิด PDCA
ทางานให้ เป็ นไปตามแผนงานที่กาหนดไว้ และทาให้ พร้ อมเพรียงทั้งบริ ษัท
ใช้ เทคนิคทางสถิติ ( เครื่องมือ 7 อย่ างของ QC ) ทั่วทั้งบริษัท
สร้ างบริษทั ให้ มรี ะบบที่สามารถหาข้ อบกพร่ องได้ อยู่เสมอ
พนักงานทุกคนในบริษทั จะต้ องเข้ าใจเรื่อง QCC ได้ อย่ างถูก
แม้ จะอยู่ในบริษทั เดียวกันก็ตาม ให้ คดิ ว่ าผู้ที่ทางานในขั้นตอนต่ อไปคือลูกค้ าที่ต้องให้
ความสาคัญอย่ างที่สุด *
เทคนิคการวิเคราะห์ 7 อย่าง
1.
2.
3.
4.
ใบตรวจสอบ ( check sheet )
ฮีสโตแกรม ( histogram )
แผนภูมพิ าเรโต ( Pareto diagram )
ผังก้างปลา ( fish – bone diagram ) หรือผังเหตุและ
ผล ( Cause – Effect diagram )
5. กราฟ ( graph )
6. แผนภูมกิ ระจาย ( scatter diagram )
7. แผนภูมคิ วบคุม ( control chart )
1. ใบตรวจสอบ ( check sheet )
ชื่อผลิตภัณฑ์ ………………………………..หมายเลข…………
ลักษณะที่วดั …………………………………………………
ล็อตที่……………………………………….วันที่…………………………
ขนาดของล็อต……………………………หน่ วยที่ตรวจสอบ……………………
จานวนที่ตรวจสอบ…………………………ตรวจสอบโดย………………………
หมายเหตุ………………………………………………………………………
2. ฮีสโตแกรม ( histogram )
3. แผนภูมิพาเรโต ( Pareto diagram )
4. ผังก้างปลา ( fish – bone diagram ) หรื อผังเหตุและผล
5. กราฟ ( graph )
6. แผนภูมิกระจาย ( scatter diagram )
7. แผนภูมิควบคุม ( control chart )
ปัจจัยสาคัญในการบริ หารงาน TQC
องค์ กรมีนโยบายและเขียนเป็ นนโยบายชัดเจน
 มีอด
ุ มการณ์ ที่เน้ นเรื่อง “คน” / ท าความเข้ าใจอย่ างชัดเจนในกลุ่ม
พนักงานทุกระดับ
 วางระบบบริหารคุณภาพทั้ง TOP-DOWN & BOTTOM-UP
 เน้ นการฝึ กอบรม ให้ ความรู้ อย่ างทั่วถึงและต่ อเนื่อง
 TOP MGMT เป็ นผู้น าในการปฏิวต
ั แิ นวความคิดใหม่ ที่จะน าไปสู่
การเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรมขององค์ กร
 TQC ต้ องท างานเป็ นทีม ท าอย่ างต่ อเนื่อง

อ้างอิงจาก

http://www.itech.lpru.ac.th/jakkit/iqm/4%E0%
BE%D2%E0%C7%CD~1.PPT

http://www.isothai.com/Webboard/question.
asp?QID=663
แนวความคิดการเพิ่มผลผลิต
(PRODUCTIVITY)
1. แนวคิดทางด้ านวิทยาศาสตร์
2. แนวคิดทางด้ านเศรษฐกิจและสังคม
แนวคิดทางด้านวิทยาศาสตร์
การเพิ่มผลผลิต คือ
การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรให้ ค้ ุมค่ า
[OUTPUT]
ผลิตผล
ปั จจัยการผลิต [INPUT]
แนวคิดทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
เหนือสิ่งอื่นใด การเพิ่มผลผลิต คือ…..
• ทัศนคติของจิตใจที่แสวงหาทางปรับปรุ งสิ่งต่ าง ๆ ให้ ดีขนึ ้
• ความเชื่อมั่นว่ า “เราสามารถทาวันนีใ้ ห้ ดีกว่ าเมื่อวานนี ้
และพรุ่ งนีจ้ ะต้ องดีกว่ าวันนี”้
• ความพยายามอย่ างไม่ มีท่ สี นิ ้ สุดที่จะปรับปรุ ง
สภาพแวดล้ อม
เศรษฐกิจให้ ดีขนึ ้
• ความเชื่อในความก้ าวหน้ าและความสามารถของมนุษย์
องค์ การเพิ่มผลผลิตยุโรป (EPA 1958)
การเพิม่ ผลผลิตโดยรวมของชาติที่ได้คุณธรรมและยัง่ ยืน
เพือ่ ลูกค้ า
Q
C
เพือ่ พนักงาน
D
S
เพือ่ สั งคม
M
E
E
ต้ นไม้ ของการเพิม่ ผลผลิต
QC
JIT TQC TPM
QCC
Suggestion
VE
KYT
Kaizen
ISO9000
ISO 14000
Problem
Solving
สะสาง
(Seiri)
P
สะดวก
(Seiton)
D
สะอาด
(Seiso)
สร้ างนิสัย
(Shisuke)
C
สุ ขลักษณะ
(Seiketsu)
A
ต้ นไม้ ของการเพิม่ ผลผลิต
QC
JIT TQC TPM
QCC
Suggestion
VE
KYT
Kaizen
ISO9000
ISO 14000
Problem
Solving
สะสาง
(Seiri)
P
สะดวก
(Seiton)
D
สะอาด
(Seiso)
สร้ างนิสัย
(Shisuke)
C
สุ ขลักษณะ
(Seiketsu)
A
FORD
PRODUCTION
ความสามารถใน
การสับเปลี่ยน
ชิ้นส่ วนกันได้
การพัฒนาแนวความคิด JIT.
MASS
PRODUCTION
สายพานการผลิต ( Conveyor Belt )
 การแบ่งย่อยงาน
( Division of Labor )
 การประสานกับผูส
้ ่ งมอบ
( Integrated Supply Chain )
 Lot การผลิตขนาดใหญ่
( Large Lot Size )

การพัฒนาแนวความคิด JIT.
MASS
PRODUCTION




สายพานการผลิต ( Conveyor Belt )
การแบ่งย่อยงาน

( Division of Labor )
การประสานกับผูส้ ่ งมอบ
( Integrated Supply Chain )

Lot การผลิตขนาดใหญ่
( Large Lot Size )
JIT
.
การผลิตแบบยืดหยุน่
( Flexible Manufacturing )
ระดับสิ นค้าคงคลัง และเวลาการผลิต
ต่าที่สุด
( Minimize Inventory
and Production Lead Time )
ความเชื่อถือกันระหว่างพนักงานและ
ผูบ้ ริ หาร ( Mutual Trust between
Employee and Management )
คุณภาพ คืออะไร
QUALITY
คุณภาพ
คุณภาพ คือ
ลักษณะเฉพาะของ ผลิตภัณฑ์ ระบบ
หรื อ กระบวนการ ที่สามารถ
ตอบสนองต่อข้ อกาหนดของลูกค้ า
และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
Quality : ability of a set of inherent
characteristics of a product ,
system or process to fulfil
requirements of customers and
other interested parties.

ISO/DIS 9000 : 2000
คุณภาพในสายตาคนหลายชาติ
เขาเล่ากันว่า แต่ละชนชาติมี มุมมอง หรื อ ทัศนคติต่อคุณภาพ ที่แตกต่างกันไป
 ชาวฝรั่ งเศส : คุณภาพ คื อ สิ่ งที่ หาได้ ยาก หรื อ มีไม่ มาก (เช่น เหล้าไวน์)
 ชาวอิ ตาลี : คุณภาพ คื อ ความมีสไตล์ หรื อ รสนิ ยมที่ ทันยุค ทันสมัย
(เช่น
เสื้ อผ้า เครื่ องใช้ต่าง ๆ)
 ชาวอเมริ กัน : คุณภาพ คื อ สตาร์ ททุกครั้ งควรติ ดทุกครั้ ง
(เช่น รถยนต์, เครื่ องใช้ไฟฟ้ า, ไฟแช็ค)
 ชาวเยอรมัน : คุณภาพ คื อ ความคงทนใช้ ได้ นาน ใช้ วส
ั ดุดี การผลิตดี
 ชาวญี่ปุ่น : คุณภาพ คื อ ความเหมาะสมกับการใช้ งานของลูกค้ า
 ชาวไทย : คุณภาพ คือ ………………..
ส่ วนประกอบของการใช้ทรัพยากรการผลิตที่มี
จาเป็ น
งาน
สุทธิ
การว่ างงาน /
การรอคอย
ทรั พยากร
การผลิตที่มี
งาน (Job)
งาน ไม่ สร้ างมูลค่ าเพิ่ม / ไร้ ประโยชน์
(Non Value Added Job)
ไม่ จาเป็ น
ปรั บปรุ งโดย
ขจัด หรื อ ลด
การว่ างงาน
และ
งานไม่ สร้ าง
มูลค่ าเพิ่ม
การแยกแยะความสู ญเปล่าที่เกิดขึ้นในการผลิต 3 MU
1. การทางานหนักเกินไป ( Muri ) - คนและเครื่องจักร
2. ความไม่ สม่าเสมอ ( Mura )
3. ความสูญเสีย ( Muda )
1. การผลิตมากเกินไป (Overproduction)
2. การเก็บวัสดุคงคลังที่ไม่ จาเป็ น (Unnecessary stock)
3. การขนส่ ง (Transportation)
4. การเคลื่อนไหวที่ไม่ จาเป็ น (Unnecessary motion)
5. กระบวนการผลิตที่ขาดประสิทธิผล (Non-effective Process)
6. การรอคอย (Delay / Idle time)
7. การผลิตของเสีย / แก้ ไขงานเสีย (Defects / Rework)
ความสูญเสี ย 7 ประการ
การผลิตของเสีย การ
แก้ไขงาน
การผลิตมากเกินไป
การขนส่ง
การเก็บสต็อกมากเกินไป
การเคลื่อน
ไหวที่
ไม่จาเป็ น
กระบวนการผลิตทีข่ าด
ประสิทธิผล
การรอคอย
การว่างงาน
JIT. ( Just In Time ) SYSTEM
(1) การผลิตแบบทันเวลาพอดี ( JIT.)
การผลิต สินค้ าหรื อชิ้นส่ วน ที่จาเป็ น
ใน ปริมาณ ที่จาเป็ น เมื่อ เวลา ที่จาเป็ น
 การปรับเรี ยบการผลิต (Leveled Production)
 ระบบดึง (Pull System)
[ โดยใช้ Kanban เป็ นเครื่ องมือ ]
 กระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง
( Continuous-Flow Processing)
 รอบเวลามาตรฐาน ( Takt Time )
(2) การควบคุมตัวเองโดยอัตโนมัติ
( Jidoka / Autonomation )
เป็ นหลักที่ใช้ ในการควบคุม คุณภาพ เพือ่
ไม่ให้ เกิดของเสียขึ ้น และ ป้องกันไม่ให้ สง่ ของเสีย
ไปยังกระบวนการถัดไป ( Built-in Quality )
 การควบคุมด้ วยการมองเห็น
( Visual Control )
 อันดง ( Andon )
 ระบบป้องกันความผิดพลาด ( Poka-yoke )
การกาหนดมาตรฐานของงาน ( Standardized Work )
& การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ( Kaizen )
การปรับเรี ยบการผลิตกับการขนส่ ง
การขนส่งแบบทัวไป
่
การขนส่งแบบผสม
การขนส่ง
ครังที
้ ่1
A
อย่างเดียว
AB
CD
การขนส่ง
ครังที
้ ่2
B
อย่างเดียว
AB
CD
การขนส่ง
ครังที
้ ่3
C
อย่างเดียว
AB
CD
การขนส่ง
ครังที
้ ่4
D
อย่างเดียว
AB
CD
ขนส่งสินค้า 1 ชนิด/ครัง้
ขนส่งสินค้า 4 ชนิด/ครัง้
การวางผังเครื่ องจักรรู ปตัว U
การวางผังทั่วไป
สินค้ า
สาเร็จรู ป
วัตถุดบิ
การวางผังรูปตัว U ( U
Shape )
วัตถุดบิ
สินค้ าสาเร็จรู ป
Visual Control การควบคุมด้ วยการมองเห็น
เป็ นระบบควบคุมการทางานที่ทาให้ พนักงานทุก
คนสามารถเข้ าใจขัน้ ตอนการทางาน เป้าหมาย
ผลลัพธ์ การทางานได้ ง่ายและชัดเจน รวมถึงเห็น
ความผิดปกติต่าง ๆ และแก้ ไขได้ อย่ างรวดเร็ว
โดยใช้ บอร์ ด ป้าย สัญลักษณ์ สีและอื่น ๆ เพื่อ
สื่อสารให้ พนักงานทราบถึงข้ อมูลข่ าวสาร ที่
สาคัญของสถานที่ทางาน
แผนการดาเนินกิจกรรม 5 ส เดือนเมษายน 2546 แผนก F#1
รายการ
1
1. ทาความสะอาดพื้นที่รับผิดชอบ
2. ทาความสะอาดล่องน้ าเสี ย
3. ติดสติ๊กเกอร์มอเตอร์
4. ล้างเครื่ องจักรและพื้นที่ทางาน
5. KPI
ระยะเวลา
สั ปดาห์ ที่
2
3
ผู้รับผิดชอบ
หมายเหตุ
4
สุ ดสาคร-ศักดิ์ดา แผนเดือนมีนาคม
สุ ดสาคร-ศักดิ์ดา
ศักดิ์ดา
สุ ดสาคร-ศักดิ์ดา
สุ ดสาคร
KAIZEN
Kaizen - Continuous Improvement
• การปรับปรุ งอย่ างต่ อเนื่อง ทีละเล็กทีละน้ อย
โดยพนักงานทุกคน มีส่วนร่ วม ซึ่งไม่ ต้องใช้ เทคนิคซับซ้ อน
เพือ่ ลดความสู ญเสี ย
Law of Minimum
งาน = งานประจา + การปรั บปรุงงาน
เป้าหมายของ Kaizen
• พัฒนาคุณภาพ
• ลดต้ นทุน
• ส่ งเสริมความปลอดภัย
• ลด Lead Time
• พัฒนาประสิ ทธิภาพการทางาน (ลดความเมื่อยล้ าจากการทางาน)
คาถาม