Health Counseling - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Download Report

Transcript Health Counseling - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การหลับและการประเมิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำา
ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความหมาย
• การหลับ เป็ นจังหวะ หรื อช่วงเวลาที่การรับรู ้
ของบุคคลนั้นแยกออกจากสิ่ งแวดล้อมโดย
สิ้ นเชิง หรื อไม่ตอบสนองต่อสิ่ งแวดล้อม
• การหลับจึงแตกต่างจากการนอนพักผ่อนเฉยๆ
การหลับต่อภาวะสุ ขภาพ
• 8-9 ชัว่ โมง/ คืน (with few interruption)
• Healthy individual who sleep less than 6
hours, or more than 9 hours of sleep at
night had increase mortality
การหลับต่อภาวะสุ ขภาพ
• การง่วงนอนตอนกลางวัน
– The most public health problem—poor job
performance, reduced ability to heandle
daily stresses, higher incidence of drawsy
driving
การหลับต่อภาวะสุ ขภาพ
• หากนอนไม่เพียงพอ มีผลทาให้
กระบวนการเผาผลาญน้ าตาลเปลี่ยนแปลง
ดังนั้น การนอนน้อยเป็ นเวลาติดต่อกัน
นาน อาจมีผลทาให้เกิดโรคอ้วน
โรคเบาหวาน และโรคเรื้ อรังอื่นๆที่เป็ น
ตอนวัยชรา
Sleep State & Cycles
• การนอนหลับแบ่งออกเป็ น 2 ช่วง
– NREM:non rapid eye movement state
– REM: rapid eye movement state
NREM
• ระยะนี้แบ่งออกเป็ น 4 ช่วงโดยบุคคลจะ
ค่อยๆหลับลึกมากขึ้นเรื่ อยๆสัมพันธ์กบั การ
เคลื่อนไหวของคลื่นสมองที่จะกว้างและช้า
มากขึ้นตามลาดับ
4 Stage of NREM
1. Transitional stage เป็ นช่วงแรกที่ลม้ ตัวลง
นอนและค่อยๆม่อยหลับไป ใช้เวลาสั้นๆ
ประมาณ 5-10 นาที
2. NREM stage 2:Sleep spindle and K
complexes เป็ นระยะที่ยาวนานที่สุดในการ
หลับต่อคืน
4 Stage of NREM
3. Stage 3 and 4: Slow-wave Sleep (SWS)
ระยะนี้เป็ นระยะที่คลื่นสมองจะกว้างมาก
ที่สุดและมีการสอดประสานกันมากที่สุด
และความถี่ในการเคลื่อนไหวจะช้าลง
REM
• REM state จะเกิดขึ้นทันทีหลังจาก
NREM เกิดขึ้นในครั้งแรก
– side-to-side eye movements
– postural muscle atonia
– EEG pattern resembles waking
– associated with vivid dreams
NREM & REM
– The stage of sleep throughout the night
(in young adult)
•
•
•
•
•
NREM stage 1: 2% to 5%
NREM stage 2: 45% to 55%
NREM stage 3: 3% to 8%
NREM stage 4: 10% to 15%
REM sleep: 20% to 25%
(Landis, 2002)
NREM & REM
– ดังนั้นในแต่ละคืน เราจะมี 4-6 sleep
cycle ที่ใช้ระยะเวลาประมาณ 60-110
นาทีต่อหนึ่งรอบ
Sleep Cycle
การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่ างกายขณะหลับ
• NREM
• การหายใจปกติแต่จะลึกมากขึ้น
• BP, HR, cardiac output, urine
production ลดลง
การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่ างกายขณะหลับ
• NREM
• การกลืน การเคลื่อนไหวของท่อทางเดิน
อาหารลดลง
• การทางานของหัวใจ และปอดลดลง
• อุณหภูมิร่างกายลดลง
การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่ างกายขณะหลับ
• REM
• การหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ ความ
ดันโลหิ ต จะสูงขึ้นและเริ่ มผิดปกติเมื่อ
เปรี ยบกับระยะ NREM
การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่ างกายขณะหลับ
• REM
•The loss of muscle tone
increase upper respiratory
resistance—Snoring (Sleep
Disorder Breathing:SDB)
การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่ างกายขณะหลับ
• ช่วง SWS จะมีการหลัง่ ของ Growth Hormone and
Prolactin
• การหลัง่ ของฮอร์โมนทั้งสองตัวนี้จะขึ้นอยูก่ บั การ
นอนหลับ (Sleep-dependent) และสามารถหลัง่
ระหว่างการงีบหลับตอนกลางวัน
การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่ างกายขณะหลับ
• การหลับจะไปยับยั้งการหลัง่ ของ corticotrophin
stimulating hormone (CSH) and cortisol
• ระดับ Cortisol จะต่าลงช่วงนอนแรกๆ และจะ
สู งขึ้นก่อนและหลังตื่น
การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่ างกายขณะหลับ
• ระดับของ Melatonin จะถูกควบคุมโดยแสง
สว่าง
• ระดับของ Melatonin จะเพิม่ ขึ้นเมื่อเริ่ มมืด
และเพิม่ ขึ้นเรื่ อยๆในช่วงของการนอนหลับ
แต่จะลดลงเมื่อถูกแสงสว่าง
การควบคุมการหลับ
• การหลับจะถูกควบคุมโดย “needlike” homeostatic drive
และ a “clock-like”circadian
process
การควบคุมการหลับ
• ‘need-like’ : ควบคุมเวลาในการ
รู ้สึกง่วงนอน หรื อเวลาเข้านอน
• ‘clock-like’: ควบคุมเวลาตื่นนอน
การประเมินการหลับ
• 1. Polysography (PSG)
– ผูป้ ่ วยจะได้รับการต่อกับสาย
electroencephalogram (EEG), electroculogram
(EOG), และ electromyogram (EMG) เพื่อวัดคลื่น
สมองและการทางานของกล้ามเนื้อ
– เป็ นวิธีการที่มีความเป็ นปรนัยมากที่สุดแต่ตอ้ งทา
ในห้องทดลอง
การประเมินการหลับ
• การอ่านผล sleep-wake pattern โดย PSG ต้องอ่าน
โดยผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านนี้เท่านั้น
• การใช้วธิ ีน้ ีมีขอ้ จากัดกับผูส้ ูงอายุ และคนที่เป็ นโรค
ความจาเสื่ อม (dementia) เนื่องจากการเคลื่อนไหว
คลื่นสมองที่ชา้ ลง และ การให้ความร่ วมมือในการ
นอน
การประเมินการหลับ
• 2. Wrist actigraphy
– สวม accelerometer ที่ใช้วดั ความถี่ และความ
เข้มในการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ที่ขอ้ มือ
ข้างไม่ถนัดของผูป้ ่ วย
– เครื่ องจะประเมินทุกๆ 1-5 วินาที เพื่อวิเคราะห์
Sleep-wake pattern ของผูป้ ่ วย
การประเมินการหลับ
• 2. Wrist actigraphy
– บางรุ่ นสามารถบันทึก ระดับเสี ยง และแสง
เพื่อใช้ประเมินสิ่ งแวดล้อมในการนอนหลับได้
ด้วย
– เหมาะในการใช้ประเมินการนอนหลับใน
ผูส้ ูงอายุมากที่สุด
การประเมินการหลับ
• 2. Wrist actigraphy
– ข้อดีคือสามารถทาได้ในสิ่ งแวดล้อมที่เป็ น
ธรรมชาติ non-invasive ประหยัด และข้อมูล
ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการทางานของคลื่นสมอง
จึงสามารถใช้ได้กบั ผูท้ ี่มีภาวะ Dementia
การประเมินการหลับ
• 3. Behavior Observation
– เป็ นวิธีการดั้งเดิมและใช้ประจา แต่มีขอ้ จากัดด้าน
ความเที่ยงของการประเมิน- - ไม่วา่ จะเป็ น ความถี่
ในการสังเกต ซึ่งหากสังเกตทุกๆ 1-2 ชัว่ โมงจะได้
ข้อมูลที่ไม่เที่ยงตรง
– หากใช้ ควรมีการประเมิน หรื อสังเกตให้ถี่กว่า
ช่วงเวลาดังกล่าวข้างต้น
การประเมินการหลับ
• 3. Behavior Observation
– สิ่ งที่สงั เกต ได้แก่ การหลับตา การนอนงอ
การผ่อนคลายของร่ างกายและใบหน้า การ
หายใจที่ลึก และ สม่าเสมอ การเคลื่อนไหว
ลดลง การไม่รับรู ้ต่อสิ่ งแวดล้อมรอบตัว
การประเมินการหลับ
• 3. Behavior Observation
– ข้อจากัด คือ ไม่สามารถแยกแยะระหว่างการ
ตื่นจากการหลับได้ (นอนหลับตาเฉยๆ)
– อาจสังเกต REM ได้แต่ตอ้ งไม่รบกวน
ผูป้ ่ วยให้ตื่น
การประเมินการหลับ
• 3. Behavior Observation
– ส่ วนใหญ่ใช้กบั เด็กทารก ซึ่ งอาจใช้ Videotaping
– มีการพัฒนาแบบสังเกตใช้ทวั่ ไปในแต่ละ
กลุ่มเป้ าหมาย
การประเมินการหลับ
• 4. Self-report (subjective
assessment tools)
– Sleep Diary
– Sleep Questionnaires
Example of Sleep Diary
บันทึกตอนเช้า (หลังตื่นนอน)
1. เวลาเข้านอน เวลาตื่นนอน
2. ระยะเวลาเมื่อล้มตัวลงนอนจนหลับไป
(ประมาณ)
Example of Sleep Diary
บันทึกตอนเช้า (หลังตื่นนอน)
3. จานวนครั้งที่ตื่น และระยะเวลาที่ตื่น
จนกว่าจะหลับอีก
4. ระยะเวลาที่นอนทั้งหมด
Example of Sleep Diary
บันทึกตอนเย็น
– 1. เวลาที่งีบหลับตอนกลางวัน และ
ระยะเวลาที่หลับ
– 2. การดื่มสุ รา: ระบุจานวน และ เวลา
– 3. ความเครี ยดที่เกิดขึ้นระหว่างวัน
Example of Sleep Diary
บันทึกตอนเย็น
– 4. ความรู ้สึกในวันนี้
•
•
•
•
1 เหนื่อย และ ง่วงนอน
2 เหนื่อย และ ง่วงนอน เล็กน้อย
3 ค่อนข้างกระฉับกระเฉง
4 กระฉับกระเฉง
Example of Sleep Diary
บันทึกตอนเย็น
5. ความหงุดหงิด
1 ไม่มีเลย
5 มีมาก
6. ยาที่รับประทาน
การให้การพยาบาล
เพื่อส่ งเสริ มการนอนหลับ
• การจัดสิ่ งแวดล้อมให้เหมาะกับการนอนหลับ
– เสี ยง/แสง
– การบกวนจากเพื่อนร่ วมห้อง หรื อ ผูป้ ่ วยเตียง
ข้างเคียง
การให้การพยาบาล
เพื่อส่ งเสริ มการนอนหลับ
• การจัดสิ่ งแวดล้อมให้เหมาะกับการนอนหลับ
– การทางานของบุคลากร– การลดเสี ยง
โทรศัพท์ การให้การพยาบาลที่สามรถรอ
ผูป้ ่ วยตื่นได้
การให้การพยาบาล
เพื่อส่ งเสริ มการนอนหลับ
• การจัดสิ่ งแวดล้อมให้เหมาะกับการนอนหลับ
– การเตือนให้ผปู ้ ่ วยปัสสาวะก่อนเข้านอน
การให้การพยาบาล
เพื่อส่ งเสริ มการนอนหลับ
• การออกกาลังกาย
• การทางานประจาตอนกลางวัน
– การงีบหลับตอนกลางวันจะทาให้การหลับ
ตอนกลางคืนมีปัญหาได้
การให้การพยาบาล
เพื่อส่ งเสริ มการนอนหลับ
• Aromatherapy- essential oils have been used
for relaxation and sedative
• Light therapy-exposure to light has been
shown to be effective in altering the timing
and strength of circadian rhythms
การให้การพยาบาล
เพื่อส่ งเสริ มการนอนหลับ
• Melatonin- Sleep disturbance and
disruption to the sleep-wake cycle
resulted from alterations in melatonin
levels--Oral melatonin therapy
การให้การพยาบาล
เพื่อส่ งเสริ มการนอนหลับ
• Pharmacological management
– Benzodiazepines
– Neuroleptics
– Antidepressants
.
Thank You for Your
Attention