Transcript 10_scitech
ข่ายงานสารสนเทศ
สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลนุ
ข่ายงานสารสนเทศ
หมายถึง การรวมกลุม่ ของระบบสารสนเทศที่มีอยูเ่ ข้า
ด้วยกัน เพื่อความร่วมมือในการพัฒนากลุม่ โดยมีศูนย์ทา
หน้าที่ในการประสานงาน
ลักษณะของข่ายงานสารสนเทศ
มีศูนย์ซึ่งมีฐานข้อมูลเฉพาะเรือ่ งโดยไม่ซ้ ากันตั้งแต่สองแห่งขึ้น
ไป และมีการรวบรวมสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ
ศูนย์มีการติดต่อเชื่อมโยงกันโดยระบบโทรคมนาคม
ผูใ้ ช้กระจายตามแหล่งต่างๆ ที่ห่างไกลศูนย์
มีการส่งสารสนเทศให้ผใ
ู ้ ช้บริการ
วัตถุประสงค์ของข่ายงาน
เพื่อใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จากทรัพยากรสารสนเทศ
เพื่อให้ผใ
ู ้ ช้เข้าถึงสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยวิธี
ประหยัด คุม้ ค่า
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการและการดาเนินงาน
เพื่อแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
เพื่อใช้ประโยชน์จากผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูช
้ านาญการ ในแต่ละสาขา
เพื่อสร้างแบบแผนและมาตรฐานในการปฏิบต
ั งิ าน
ลักษณะการจัดตัง้
ตามสภาพภูมิศาสตร์
ตามหน้าที่เฉพาะของงานเกี่ยวกับสารสนเทศ
ตามสาขาวิชา
ตามประเภทผูใ้ ช้
โครงสร้างของข่ายงาน
ข่ายงานแบบกระจาย
ข่ายงานแบบรวมศูนย์กลาง
ข่ายงานแบบผสม
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั ่วไป
ระบบศูนย์แนะแหล่งสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อมนานาชาติ
(อินโฟเทอร์รา่ )International Referral System for
Sources of Environmental Information INFOTERRA
ภายใต้ UNEP
สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
รวบรวมรายชื่อหน่วยงานทางด้านสิ่งแวดล้อม
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั ่วไป
ข่ายงานสารสนเทศขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ
มาตรฐาน (ไอโซเน็ต) ISO Information Network ISONET
เพื่อรวบรวมสารสนเทศด้านมาตรฐาน
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั ่วไป
ข่ายงานการแลกเปลี่ยนสารสนเทศและประสบการณ์ทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก
(แอสตินโฟ) The Regional Network for then
exchange of Information and Experience in
Science and Technology in Asia and the
Pacific - STINFO
เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์ในภูมิภาค
สานักงานคณะกรรมการวิจย
ั แห่งชาติ
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั ่วไป
เครื อ ข่ า ยสารสนเทศเอเชี ย -แปซิ ฟิ ก Asia
Pacific
Information Network – APIN
ท าหน้า ที่ เ ครื อ ข่ า ยระดับ ภู มิ ภ าคส าหรับ โครงการสารสนเทศเพื่ อ
มวลชน ธรรมนู ญของเครือ ข่่ายสารสนเทศเอเชี ย-แปซิ ฟิก ระบุให้
สานักงานเลขานุการ UNESCO แห่งชาติร่วมกับ UNESCO ใน
การคั ด เลื อ กและเสนอชื่ อ หน่ ว ยงานแห่ ง ชาติ ส าหรั บ เครื อ ข่ า ย
สารสนเทศเอเชี ย -แปซิ ฟิ ก ของแต่ล ะประเทศ และให้ห น่ วยงาน
แห่ ง ชาติ รับ ผิ ด ชอบงบประมาณส าหรับ ส่ ง ผู ้แ ทนเข้า ประชุ ม ของ
ตนเอง เพื่ อ ให้ค่ า ใช้จ่ า ยเป็ นไปอย่ า งประหยัด และ UNESCO
สามารถให้ความช่วยเหลือประเทศยากจนได้เต็มที่
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั ่วไป
ศูนย์เครือข่ายข้อสนเทศด้านแหล่งพลังงานใหม่/พลังงาน
หมุนเวียนและเทคโนโลยีภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก
Information Network on New and
Renewable Energy Resources and
Technologies for Asia and the Pacific INNERTAP
เพื่อแลกเปลี่ยนความรูแ
้ ละประสบการณ์ดา้ นพลังงานใหม่
พลังงานหมุนเวียน และการประหยัดพลังงาน
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั ่วไป
ข่ายงานสารสนเทศและการขยายเทคโนโลยีอุตสาหกรรมแห่ง
ภูมิภาคเอเชีย (เทคโนเนท เอเชีย) Asian Network for
Industrial Technology Information and
Extension - TECHNONET ASIA
เพื่อปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพการผลิตของบริษัทขนาด
เล็ก และขนาดกลาง โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ในทางอุตสาหกรรมเพื่อใช้ในการผลิต
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุข
ข่ายงานบริการสารสนเทศทางการแพทย์และสาธารณสุข
(เฮลลิส) Health Literature, Library and
Information Services - HELLIS
เพื่อการใช้ทรัพยากรสารสนเทศทางด้านการแพทย์และ
สาธารณสุขร่วมกัน
หอสมุดคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุข
ศูนย์สารสนเทศทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ (ซีมิค) Southeast Asia Medical Information
Center - SEAMIC
เพื่อช่วยเหลือสมาชิกในด้านการวางแผนการแพทย์ สาธารณสุข
และการฝึ กอบรมบุคลากร ด้านการแลกเปลี่ยนและการ
ให้บริการสารสนเทศ
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุข
ข่ายงานสารสนเทศด้านประชากรและการวางแผนครอบครัวของ
ประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(อาเซียน ป็ อบอิน) ASEAN Population Information
Network - ASEAN POPIN
สนับสนุ นและส่งเสริมสารสนเทศด้านประชากรและการวางแผน
ครอบครัวแก่ประเทศสมาชิก
กรมอนามัย ศูนย์สารสนเทศทางประชากรศาสตร์ ฯลฯ
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร
ระบบข้อสนเทศทางการเกษตรและเทคโนโลยีนานาชาติ
(แอกริส) International Information System for
the Agricultural Sciences and Technology AGRIS
เพื่อเป็ นศูนย์รวมและเผยแพร่สารสนเทศทางการเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร
ระบบสนเทศงานวิจยั การเกษตรทันสมัยนานาชาติ (คาลิส)
Current Agricultural Information System –
CARIS
เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร
ศูนย์สนเทศทางกระบือนานาชาติ (ไอบิค) International
Buffalo Information Center – IBIC
รวบรวมและจัดเก็บเอกสารทางกระบือจากแหล่งต่างๆ ทั ่วโลก
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร
ธนาคารข้อสนเทศทางการเกษตรสาหรับเอเชีย (ไอบา)
The Agricultural Information Bank for Asia –
AIBA
เพื่อตอบสนองความต้องการด้านการวิจย
ั ทางการเกษตรและ
สาขาที่เกี่ยวข้องกับทางด้านการเกษตร
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร
ระบบข่าวสารทางการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(ซีฟิส) Southeast Asian Fisheries Information
System – SEAFIS
เพื่อเป็ นศูนย์ในการรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล สารสนเทศ
ทางการประมง
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศสาขา มีหน้าที่ดงั นี้
1. เป็ นที่เก็บรวบรวมข้อมูลหรือสารนิเทศ เฉพาะเรือ
่ งจากแหล่ง
ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน องค์การ
สถาบัน กลุม่ บุคคล ตลอดจนผูส้ นใจทั ่วไป
2. เป็ นสื่อกลางแนะนาแหล่งสารนิเทศที่มีอยูท
่ ั ่วประเทศ
3. ส่งเสริมและเผยแพร่าข้อมูลหรือสารนิเทศเกี่ยวกับศูนย์
ประสานงานสารนิเทศสาขาอื่น ๆ ที่จะจัดตั้งขึ้นในอนาคต
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศทางวิชาการแห่งชาติสาขา
เกษตรศาสตร์
มีหน่วยงานความร่วมมือ 17 แห่ง
สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
http://ainc.lib.ku.ac.th/index.php
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ
1.จัดหาและพัฒนาทรัพยากรด้านการเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้สมบูรณ์
ครบถ้วน เพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ
2.ส่งเสริมการใช้แหล่งสารนิเทศทางวิชาการด้านการเกษตร และสาขาที่
เกี่ยวข้อง ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
3.ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างแหล่งสารนิเทศด้านการเกษตร
และสาขาที่เกี่ยวข้อง และให้ความร่วมมือกับงานสารนิเทศสาขาอื่นๆ
4.พัฒนาบุคลากรโดยการจัดฝึ กอบรมระยะสั้น สัมมนา หรือบรรยายพิเศษแก่
ผูป้ ฏิบตั งิ าน รวมทั้งเสนอความรูใ้ หม่ๆต่อผูใ้ ช้บริการ
5.ทาหน้าที่เชื่อมโยงแหล่งผลิตสารสนเทศ และผูใ้ ช้บริการ ในระดับชาติ ระดับ
ภูมิภาค และระดับนานาชาติ โดยนาเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ให้บริการ
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศสาขาแพทยศาสตร์
มีสมาชิก 150 แห่ง
หอสมุดและคลังความรูม
้ หาวิทยาลัยมหิดล
http://mulinet10.li.mahidol.ac.th/thainatis/in
dex.php
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มีหน่วยงานความร่วมมือ 15 แห่ง
สานักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://siweb.dss.go.th/stinc/index.asp