1. มาตรฐานที่ใช้ในงานเขียนแบบ 1.1 ANSI

Download Report

Transcript 1. มาตรฐานที่ใช้ในงานเขียนแบบ 1.1 ANSI

การเขียนแบบวิศวกรรม
(Engineering Graphics)
สัปดาห์ ท่ ี 1
1.
2.
3.
4.
5.
6.
มาตรฐานในการเขียนแบบ
เครื่องมือเขียนแบบและการใช้ งาน
การเขียนตัวอักษรและตัวเลข
การแบ่ งระยะตัวอักษร (Spacing Letters)
ตารางช่ องรายละเอียด (Title Block)
เส้ น (Lines)
1. เพื่อเรี ยนรู้มาตรฐานการเขียนแบบต่ างๆ
2. เพื่อศึกษาและฝึ กฝนการเขียนแบบทางวิศวกรรม
เบือ้ งต้ น
3. เพื่อฝึ กฝนการเขียนตัวอักษรและตัวเลขทัง้ แนวตัง้
(Vertical Lettering) และแนวเอียง (Incline Lettering)
4. เพื่อเรี ยนรู้ สัญลักษณ์ และความหมายของเส้ นแบบ
ต่ างๆ ในงานเขียนแบบ
1.1 ANSI (American National Standards Institute)
เป็ นมาตรฐานที่กาหนดขึ ้นโดย องค์กรอาสาสมัครที่ไม่ มีผลกาไร
จากการดาเนินงาน ซึง่ ประกอบด้ วยกลุ่มนักธุรกิจและกลุ่มอุตสาหกรรม
ในประเทศสหรั ฐอเมริ กา ก่อตัง้ ในปี ค.ศ. 1918 มีสานักงานใหญ่ อยู่ที่
นิวยอร์ ค
ANSI จะทาหน้ าที่พัฒนามาตรฐานต่าง ๆ ของอเมริ กาให้
เหมาะสมจากนันจะรั
้ บรองขึ ้นไปเป็ นมาตรฐานสากล
ตารางที่ 1.1 มาตรฐาน ANSI/ASME สาหรับงานเขียนแบบทางเทคนิค
1.1 ANSI (American National Standards Institute)
มาตรฐาน ANSI/ASME สารับงานเขียนแบบทางเทคนิค
ANSI/ASME Y14.1-2005
เป็ นมาตรฐานกาหนดขนาดและรูปแบบของกระดาษเขียน
แบบ
ANSI/ASME Y14.2M-1992
เป็ นมาตรฐานกาหนดเส้ นและตัวอักษร
ANSI/ASME Y14.3-2003
เป็ นมาตรฐานกาหนดภาพฉายหลายมุมมอง และภาพตัด
ASME Y14.5-2009
เป็ นมาตรฐานกาหนดสัญลักษณ์การกาหนดขนาดและค่า
ความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต
1.2. ISO (International Standard Organization)
เป็ นมาตรฐานที่ ก าหนดขึ น้ โดย องค์ ก รใหญ่ ที่ ร วบรวมองค์ กร
มาตรฐานจากประเทศต่าง ๆ 130 ประเทศ ISO เป็ นภาษากรี ก
ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม กั น ห รื อ ค ว า ม เ ป็ น ม า ต ร ฐ า น
(Standardization)
ISO เป็ นองค์กรที่มีจดุ มุ่งหมายในการส่งเสริ มให้ มีมาตรฐานสากล
ซึง่ ไม่เพียงแต่ในเรื่ องที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและการสื่อ สาร แต่ยงั รวมไป
ถึงการค้ า การพาณิชย์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้ วย
1.2. ISO (International Standard Organization)
มาตรฐาน ISO สาหรับงานเขียนแบบทางเทคนิค
ISO 128
Technical Drawing – General Principles of Presentation
ISO 129
Technical Drawing – Dimensioning-General Principles, Definitions
methods of Execution and special Indication
ISO 3098/1
Technical Drawing – Lettering-Part 1: Currently Used Characters
ISO 5455
Technical Drawing – Scales
1.3 มอก. (มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม)
เป็ นมาตรฐานของประเทศไทย โดยเป็ นสิ่งหรื อเกณฑ์ทางเทคนิค ที่
กาหนดขึ ้น สาหรับผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม เกณฑ์ทางเทคนิค นี ้จะระบุ
คุณลักษณะที่สาคัญของผลิตภัณฑ์ ประสิทธิภาพของการนาไปใช้ งาน
คุณภาพของวัตถุดิบที่นามาผลิต ซึ่งจะรวมถึงวิธีการทดสอบด้ วย เพื่อ
ใช้ เป็ นเครื่ องตัดสินว่าคุณภาพผลิตภัณฑ์ นนั ้ ๆ เป็ นไปตามมาตรฐาน
หรื อไม่
1.3 มอก. (มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม)
มาตรฐาน มอก. สาหรั บงานเขียนแบบทางเทคนิค
มอก. 210 2520
วิธีเขียนแบบทัว่ ไป : ทางเครื่ องกล
มอก. 210 ล.5 2526
การเขียนแบบทางกล เล่ม 5 วิธีระบุความหยาบละเอียดของผิวงานในแบบ
มอก. 210 ล.6 2529
การเขียนแบบทางกล เล่ม 6 การกาหนดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทาง
เรขาคณิต: สัญลักษณ์และการระบุในแบบ
มอก. 210 ล.7 2529
การเขียนแบบทางกล เล่ม 7 การกาหนดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทาง
เรขาคณิต: สัดส่วนและมิติของสัญลักษณ์
มอก. 210 ล.8 2529
การเขียนแบบทางกล เล่ม 8 การกาหนดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทาง
เรขาคณิต: เดตั ้มและระบบเดตั ้ม
มอก. 210 ล.9 2529
การเขียนแบบทางกล เล่ม 9 การกาหนดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทาง
เรขาคณิต: หลักการวัสดุสงู สุด
1.4 ส่ วนมาตรฐานอื่นๆ เช่ น
o มาตรฐานของญี่ปุ่น เรี ยกว่ า Japanese Standard
(JIS)
o มาตรฐานของเยอรมัน เรี ยกว่ า Deutsches Institut
für Normung (DIN)
ในการเรี ยนการสอนในชัน้ นีเ้ ราใช้ มาตรฐาน ANSI
เป็ นหลัก
2.1 เครื่องมือเขียนแบบ (Drawing Instrument)
1. ดินสอ
2. ยางลบ และแผ่ นกันลบ
3. ไม้ บรรทัด
4. ไม้ ฉากสามเหลี่ยม 30, 60 และ 45
5. วงเวียน
6. ไม้ โปรแทรกเตอร์
7. เพลตต่ างๆ
1. ดินสอ
2. ยางลบ และแผ่ นกันลบ
3. ไม้ บรรทัด
4. ไม้ ฉากสามเหลี่ยม 30, 60 และ 45
5. วงเวียน
6. ไม้ โปรแทรกเตอร์
นักศึกษาควรจะมีเครื่ องมือครบทัง้ 6 ประเภท
(ก) ดินสอไม้
(ข) ดินสอกด
รูปที่ 1.3 น ้าหนักของเส้ น
ระดับแข็ง
ระดับปานกลาง
ระดับอ่ อน
นักศึกษาอาจใช้ ไส้ ดนิ สอขนาดเดียวก็ได้ (เช่ น H หรือ HB) โดยใช้ วิธีลง
นา้ หนักมือหรือแรงกดต่ างๆ กัน
ความหนา 0.5 มม. : ดี – เส้ นคมชัด สม่าเสมอ
ความหนา 0.5 มม. : ไม่ ดี – ความหนาของเส้ นไม่ สม่าเสมอ
ความหนา 0.5 มม. : ไม่ ดี – ความเข้ มของเส้ นไม่ สม่าเสมอ
ความหนา 0.7 มม. : ดี – เส้ นคมชัด สม่าเสมอ
(ก) ไม้ บรรทัด
(ข) ไม้ บรรทัดแบบสามเหลี่ยม
(ก) ไม้ เซ็ต
(ข) ฉากปรั บมุม
การใช้ ไม้ เซ็ตและฉากปรั บมุมจะใช้ ค่ กู ับไม้ ทีหรือไม้ บรรทัด
จับวงเวียนหมุน โดยให้ วง
เวียนอยูร่ ะหว่าง
นิ ้วหัวแม่มือและนิ ้วชี ้
การจัรูบปทีวงเวี
ยนบวงเวียน
่ 1.8 การจั
รูปที่ 1.8 การจับวงเวียน
3.1 เส้ นร่ าง (Guideline)
เทคนิคการเขียนตัวอักษร
4.1 ตัวอักษรใหญ่ แนวเอียง (Inclined Capital Letters)
การเว้ นระยะตัวอักษร ควรจะเว้ นโดยให้ ระยะที่เว้ นมีพนื ้ ที่
ใกล้ เคียงกัน


ตัวอย่ างการเขียนตัวอักษร
5
6
2
9
1
10
8
1.ชื่อชิ ้นส่วนที่เขียน
2.ชื่อหน่วยงานหรื อชื่อและที่อยู่ของเจ้ าของแบบ
3.มาตรส่วน
4.หมายเลขแบบ
5.มุมมองมาตรฐาน
3
4
6. ลงชื่อผู้เขียน (Draft man)
7. ลงชื่อผู้ออกแบบ (Designer)
8. ลงชื่อผู้รับรองความถูกต้ องของแบบตามมาตรฐาน
9. วัน-เดือน-ปี ที่เขียนแบบ
10.ค่าความคลาดเคลื่อนโดยทัว่ ไป (General Tolerance)
(Arrowhead)
0.35
.
(Dimension line)
(Extension line)
(Center line)
0.3
(Phantom line)
0.3
(Hidden line)
0.6
(Short Break line)
(Section line)
(Visible line)
0.3
0.6
0.3
.
0.3
0.3
.
(Cutting Plane line)
(Center line)
.
.
(Note)
0.5
.
.
.
.
0.3
(Leader line)
.
.
0.6
.
0.3
0.6
.
.
จบสัปดาห์แรก
อย่าลืมทาการบ้าน
ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียน
ผ่าน e-learning