ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

บทที่ 4
การวิเคราะห์ ต้นทุนรวม
และการวิเคราะห์ ต้นทุน
ปริมาณ กาไร
งบกาไรขาดทุนแบบต้ นทุนผันแปร
ขาย (หน่ วยขาย X P / น)
หัก ต้ นทุนผันแปร (หน่ วยขาย X V / น)
กาไรส่ วนเกิน (หน่ วยขาย X กาไรส่ วนเกิน / น)
หัก ต้ นทุนคงที่
กาไรก่ อนหักภาษี
หัก ภาษีเงินได้ (%)
กาไรสุ ทธิ
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
ต้ นทุนผันแปร (Variable
Costs) หมายถึง
ต้ น ทุ น ที่ เ ปลี่ ย นแปลงเป็ นอัต ราส่ วนโดยตรงกั บ การ
เปลีย่ นแปลงของระดับกิจกรรม
เช่ น ในการผลิตสิ นค้ า 1 หน่ วย ใช้ วัตถุดิบ 2 ชิ้ น
ชิ้นละ 3 บาท จะเป็ นเงิน 6 บาท ถ้ าผลิตสิ นค้ า 3 หน่ วย
จะต้ องใช้ วตั ถุดบิ 6 ชิ้น เป็ นเงิน 18 บาท
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
ต้ นทุนคงที่ (Fixed Costs) หมายถึง ต้ นทุนที่ไม่
เปลีย่ นแปลงตลอดช่ วงหนึ่งของระดับกิจกรรม
เช่ น ค่ าเช่ าสถานที่ 1 ห้ อง 1,000 บาท สาหรั บ การ
ผลิตตั้งแต่ 0-5,000 หน่ วย
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
ต้ นทุนผันแปร
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
กิจกรรมการผลิตเปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปร
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
ต้ นทุนผันแปร
กิจกรรมการผลิตเปลีย่ นแปลง
เปลีย่ นแปลง
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
ต้ นทุนผันแปร
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย
กิจกรรมการผลิตเปลีย่ นแปลง
เปลีย่ นแปลง
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
กิจกรรมการผลิตเปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปร
เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย
ไม่ เปลีย่ นแปลง
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
กิจกรรมการผลิตเปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปร
เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย
ไม่ เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนคงที่
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
กิจกรรมการผลิตเปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปร
เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย
ไม่ เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนคงที่
ไม่ เปลีย่ นแปลง
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
กิจกรรมการผลิตเปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปร
เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย
ไม่ เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนคงที่
ไม่ เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนคงทีต่ ่ อหน่ วย
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
กิจกรรมการผลิตเปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปร
เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย
ไม่ เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนคงที่
ไม่ เปลีย่ นแปลง
ต้ นทุนคงทีต่ ่ อหน่ วย
เปลีย่ นแปลง
คาศัพท์ เกีย่ วข้ อง
ต้ นทุนรวม (Mixed Costs) หมายถึง ต้ นทุนที่มีท้งั
ส่ วนที่คงที่และส่ วนที่ผันแปรรวมอยู่ โดยส่ วนที่คงที่
เป็ นต้ นทุนอย่ างน้ อยของการให้ บริ หารและส่ วนที่ผัน
แปรเป็ นต้ นทุนทีเ่ กีย่ วข้ องกับระดับของกิจกรรม
การวิเคราะห์ ต้นทุนรวม
ต้ นทุนรวมประกอบไปด้ วย ต้ นทุนคงที่และต้ นทุน
ผั น แปร ซึ่ ง สามารถค านวณหาต้ น ทุ น รวมได้ โ ดยใช้
สมการ
Y = a + bx
โดยกาหนดให้
Y
a
b
x
=
=
=
=
ต้ นทุนรวม
ต้ นทุนคงทีร่ วม
อัตราต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย
ระดับกิจกรรม
ตัวอย่ างการหาต้ นทุนรวม
โดยกาหนดให้
a
b
x
Y
=
=
=
=
5,000 บาท
40 บาทต่ อหน่ วย
ผลิต 600 หน่ วย
?
Y = a + bx Y = 5,000 + 40x
ตัวอย่ างการหาต้ นทุนรวม (ต่ อ)
Y = a + bx
Y = 5,000 + 40(600)
Y = 5,000 + 24,000
Y = 29,000
ตัวอย่ างการหาต้ นทุนรวม (ต่ อ)
เพราะฉะนั้น
ถ้ าผลิต 600 หน่ วยเกิดต้ นทุนเท่ ากับ
29,000 บาท
ปัญหาจากข้ อมูล
เดือน
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
ชั่วโมงเครื่องจักร (ชั่วโมง)
2,800
3,550
2,500
3,250
3,650
4,000
3,100
ต้ นทุนการผลิตรวม (บาท)
158,000
170,000
148,000
164,000
182,000
196,000
156,000
ถ้ าเดือน สิ งหาคม ใช้ ชั่วโมงเครื่องจักร 4,200 ชม.
ต้ นทุนรวม = ?
วิธีวเิ คราะห์ ต้นทุนรวม
1. วิธีวเิ คราะห์ ตามระดับกิจกรรมสู ง - ต่า
(The High-low Method)
ตามวิธีนี้ จะคานวณโดยใช้ ข้อมูลของต้ นทุนรวม
ณ ระดับกิจกรรม 2 ระดับคือ ข้ อมูลของต้ นทุนรวม ณ
ระดับกิจกรรมสู งสุ ดและข้ อมูลของต้ นทุนรวม ณ ระดับ
ตา่ สุ ดและนามาวิเคราะห์ ตามขั้นตอนดังนี้
วิธีวเิ คราะห์ ต้นทุนรวม (ต่ อ)
ขั้นที่ 1 เปรี ยบเทียบผลต่ างขางต้ นทุนรวมและระดับ
กิจกรรมสู งสุ ดและตา่ สุ ด
ขั้นที่ 2 คานวณหาอัตราต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วยโดยใช้
สู ตร ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมสู งสุ ด – ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด
กิจกรรมสู งสุ ด – กิจกรรมตา่ สุ ด
ขั้นที่ 3 คานวณหาต้ นทุนคงทีโ่ ดยใช้ สูตร
ต้ นทุนคงที่ = ต้ นทุนรวม - ต้ นทุนผันแปรรวม
ตัวอย่ างที่ 1
บริษทั ปองคุณ จากัด มีข้อมูลเกีย่ วกับชั่วโมงเครื่องจักร และต้ นทุน
การผลิตรวมตั้งแต่ เดือนมกราคม ถึง เดือนกรกฎาคม ดังนี้
เดือน
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
ชั่วโมงเครื่องจักร (ชั่วโมง)
2,800
3,550
2,500
3,250
3,650
4,000
3,100
ต้ นทุนการผลิตรวม (บาท)
158,000
170,000
148,000
164,000
182,000
196,000
156,000
จากข้ อมูลข้ างต้ นคานวณหาต้ นทุนผันแปรและต้ นทุนคงทีไ่ ด้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 เดือนที่กจิ กรรมสู งสุ ด คือ เดือนมิถุนายน ส่ วนเดือน
ทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด คือ เดือน มีนาคม
เดือน
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
ชั่วโมงเครื่องจักร (ชั่วโมง)
2,800
3,550
2,500
3,250
3,650
4,000
3,100
ต้ นทุนการผลิตรวม (บาท)
158,000
170,000
148,000
164,000
182,000
196,000
156,000
จากข้ อมูลข้ างต้ นคานวณหาต้ นทุนผันแปรและต้ นทุนคงทีไ่ ด้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 เดือนที่กจิ กรรมสู งสุ ด คือ เดือนมิถุนายน ส่ วนเดือน
ทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด คือ เดือน มีนาคม
เดือน
มกราคม
กุมภาพันธ์
ชั่วโมงเครื่องจักร (ชั่วโมง)
2,800
3,550
ต้ นทุนการผลิตรวม (บาท)
158,000
170,000
มีนาคม
2,500
148,000
เมษายน
พฤษภาคม
3,250
3,650
164,000
182,000
มิถุนายน
4,000
196,000
กรกฎาคม
3,100
156,000
ขั้นที 2 การคานวณหาต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วยมีดงั นี้
อัตราต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย =
การเปลีย่ นแปลงในต้ นทุน
การเปลีย่ นแปลงในกิจกรรม
= ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมสู งสุ ด – ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด
กิจกรรมสู งสุ ด – กิจกรรมตา่ สุ ด
=
=
196,000 – 148,000 บาท
4,000 – 2,500 ชั่วโมง
48,000 บาท
1,500 ชั่วโมง
= 32 บาทต่ อชั่วโมงเครื่องจักร
ขั้นที่ 3 อัตราต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย จากการคานวณอัตราต้ นทุนผัน
แปรต่ อหน่ วยได้ เท่ ากับ 32 บาท ต่ อชั่วโมงเครื่องจักร การคานวณหาต้ นทุน
ผันแปรรวมจะใช้ จุดกิจกรรมสู งสุ ดหรื อกิจกรรมต่าสุ ดก็ได้ สมมุ ติว่าถ้ า
เลือกจุดตา่ สุ ด
ต้ นทุนผันแปรรวม = ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย X จานวนชั่วโมง
= 32 บาท ต่ อ ชั่วโมง X 2,500 ชั่วโมง
=
80,000 บาท
ขั้นที่ 4 ต้ นทุนคงที่ การคานวณต้ นทุนคงทีม่ ี ดังนี้
ต้ นทุนรวม = ต้ นทุนผันแปรรวม + ต้ นทุนคงทีร่ วม
ต้ นทุนคงทีร่ วม =
ต้ นทุนคงทีร่ วม =
ต้ นทุนรวม – ต้ นทุนผันแปรรวม
148,000 – 80,000
ต้ นทุนคงทีร่ วม =
68,000 บาท
จากการคานวณข้ างต้ นจะได้ สมการ
ต้ นทุน คือ Y = a + bx
สมการต้ นทุนรวม
Y = 68,000 + 32X
เดือนสิ งหาคม ใช้ 4,200 ชม.
Y = 68,000 + 32(4,200)
Y = 68,000 + 134,400
Y = 202,400 บาท
วิธีวเิ คราะห์ ต้นทุนรวม (ต่ อ)
2. วิธีแผนภูมกิ ระจาย
การจาแนกต้ นทุนโดยวิธีนี้ แสดงโดยใช้ กราฟ ให้ นาค่ าต้ นทุน
ในระดับกิจกรรมต่ าง ๆ ทีร่ วบรวมมาไปกาหนดจุดในกราฟ
จากตัวอย่ างที่ 1 การวิเคราะห์ ตามวิธีแผนภูมิกระจาย
ได้ สมการต้ นทุนรวม คือ
Y = 60,000 + 35.20X
วิธีวเิ คราะห์ ต้นทุนรวม (ต่ อ)
3.วิธีกาลังสองน้ อยทีส่ ุ ด
(Simple Linear Regression)
การจาแนกต้ นทุนตามวิธี นี้ จะมีลักษณะคล้ ายกับวิธี
แผนภูมิกระจาย แต่ จะแตกต่ างกันตรงที่เส้ นตรงที่จะลากผ่ าน
จุดต่ าง ๆ เป็ นเส้ นตรงที่ได้ มาจากการคานวณ และจากการ
วิเคราะห์ ตามหลักคณิตศาสตร์ จะได้ สูตรในการคานวณหา
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วยและต้ นทุนคงทีไ่ ด้ ดงั นี้
สูตรในการคานวณ
a = Y - bX
(ต้ นทุนคงที)่
n
b
(ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย)
= nXY - XY
2
2
nX - X)
จากตัวอย่ างเดิมของบริษทั ปองคุณ จากัด นามาจาแนกเป็ น
ต้ นทุนคงทีแ่ ละต้ นทุนผันแปร โดยมีข้นั ตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 คานวณ x ,y ,xy และ x2 ดังนี้
2
เดือน (n)
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
รวม
ชั่วโมงเครื่องจักร (x) ค่ าบารุ งรักษา (y)
2,800
3,550
2,500
3,250
3,650
4,000
3,100
22,850
158,000
170,000
148,000
164,000
182,000
196,000
156,000
1,174,000
(xy)
(x2)
442,400,000
603,500,000
370,000,000
533,000,000
664,300,000
784,000,000
483,600,000
7,840,000
12,602,500
6,250,000
10,562,500
13,322,500
16,000,000
9,610,000
3,880,800,000 76,187,500
ขั้นที 2 จากข้ อมูลข้ างต้ นนาไปใส่ สูตรเพือ่ หาค่า b ดังนี้
b
=
nXY - XY
(ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย) nX2 - X)2
b
=
b
=
b
=
7(3,880,800,000) - (22,850)(1,174,000 )
7(76,187,500) - (22,850)( (22,850)
339,700,000
111,900,000
30.35746202
b = 30.36
ขั้นที่ 3 คานวณผลที่ได้ จากขั้นที่ 1 และ 2 มาคานวณในสู ตร
เพิม่ หาค่ า a
a
(ต้ นทุนคงที)่
=
Y - bX
n
a
=
1,174,000 – 30.36(22,850)
7
a
= 68,610.57 บาท
สมการต้ นทุนรวม
Y = 68,610.57 + 30.36X
สรุปสมการต้ นทุนรวมทั้ง 3 วิธี
วิธี สูง-ต่า Y = 68,000 + 32X
วิธี แผนภูมิ Y = 60,000 + 35.20X
วิธี สมการถดถอย Y = 68,610.57 + 30.36X
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 4
ข้ อ 1 กรณีไม่มีปัจจัยอืน่ มาเกีย่ วข้อง
ข้ อ 2 กรณีมีปัจจัยอืน่ มาเกีย่ วข้อง
ข้ อ 1 วิธีวเิ คราะห์ ตามกิจกรรมสูงตา่
b/น
b/น
= ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมสู งสุ ด – ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด
กิจกรรมสู งสุ ด – กิจกรรมตา่ สุ ด
=
33 – 15 = 18 =
12 – 3
9
นา b/น แทน ณ จุดกิจกรรมตา่ สุ ด
a = ต้ นทุนรวม - ต้ นทุนผันแปร
a = 15 - ( 3 X 2 ) = 15 – 6 =
2 บาท
9 บาท
สมการต้ นทุนรวม Y = 9,000 + 2,000X
ข้ อ 1 วิธีวเิ คราะห์ ตามกิจกรรมสูงตา่
b/น
b/น
= ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมสู งสุ ด – ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด
กิจกรรมสู งสุ ด – กิจกรรมตา่ สุ ด
=
33 – 15 = 18 =
12 – 3
9
นา b/น แทน ณ จุดกิจกรรมสู งสุ ด
a = ต้ นทุนรวม - ต้ นทุนผันแปร
a = 33 - ( 12 X 2 ) = 33 – 24 =
2 บาท
9 บาท
สมการต้ นทุนรวม Y = 9,000 + 2,000X
ข้ อ 1 วิธีวเิ คราะห์ กาลังสองน้ อยที่สุด
จากข้ อมูลสรุปได้ ดงั นี้
X
Y
= 50
= 163
XY
X2
n
= 1,266
= 408
=
7
ขั้นที 2 จากข้อมูลข้างต้นนาไปใส่ สูตรเพือ่ หาค่า b/น และ a ดังนี้
b/น =
b/น =
a
=
nXY - XY
nX2 - X)2
7(1,266) - [(50)(163)] = 712 =
7(408) - [(50) (50)]
356
Y - bX = 163 – 2(50) =
n
7
สมการต้ นทุนรวม Y = 9,000 + 2,000X
2
9
สมการต้ นทุนรวมข้ อ 1
วิธี สูง-ต่า
Y = 9,000 + 2,000X
วิธีกาลังสองน้ อยทีส่ ุ ด
Y = 9,000 + 2,000X
ข้ อ 2 วิธีวเิ คราะห์ ตามกิจกรรมสูงตา่
b/น
= ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมสู งสุ ด – ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด
กิจกรรมสู งสุ ด – กิจกรรมตา่ สุ ด
32 – 20 = 12 = 1.33 บาท
12 – 3
9
นา b/น แทน ณ จุดกิจกรรมตา่ สุ ด
a = ต้ นทุนรวม - ต้ นทุนผันแปร
a = 20 - ( 3 X 1.33) = 20 – 3.99 = 16.01 บาท
b/น
=
OR
สมการต้ นทุนรวม Y = 16,010 + 1,330X
ข้ อ 2 วิธีวเิ คราะห์ ตามกิจกรรมสูงตา่
b/น
= ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมสู งสุ ด – ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด
กิจกรรมสู งสุ ด – กิจกรรมตา่ สุ ด
32 – 20 = 12 = 1.33 บาท
12 – 3
9
นา b/น แทน ณ จุดกิจกรรมสู งสุ ด
a = ต้ นทุนรวม - ต้ นทุนผันแปร
a = 32 - (12 X 1.33) = 32 – 15.96 = 16.04 บาท
b/น
=
สมการต้ นทุนรวม Y = 16,040 + 1,330X
ข้ อ 2 วิธีวเิ คราะห์ กาลังสองน้ อยที่สุด
จากข้ อมูลสรุปได้ ดงั นี้
X
Y
= 50
= 169
XY
X2
n
= 1,291
= 408
=
7
ขั้นที 2 จากข้อมูลข้างต้นนาไปใส่ สูตรเพือ่ หาค่า b/น และ a ดังนี้
b/น =
b/น =
a
=
nXY - XY
nX2 - X)2
7(1,291) - [(50)(169)] = 587 = 1.65
7(408) - [(50)( (50)]
356
Y - bX = 169 – 1.65(50) =12.36
n
7
สมการต้ นทุนรวม Y = 12,360 + 1,650X
สมการต้ นทุนรวมข้ อ 2
วิธี สูง-ต่า
Y = 16,010 + 1,330X หรือ Y = 16,040 + 1,330X
วิธีกาลังสองน้ อยทีส่ ุ ด
Y = 12,360 + 1,650X
การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน
(Break-even Point Analysis)
การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุนเป็ นเทคนิคการวางแผนการ
ลงทุ น ที่ วิ เ คราะห์ ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ของต้ น ทุ น คงที่
ต้ นทุนผันแปรและกาไรของกิจการ
ซึ่งวิธีวเิ คราะห์ จุดคุ้มทุนสามารถทาได้ 3 วิธี คือ
การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน (ต่ อ)
วิธีวเิ คราะห์ จุดคุ้มทุนสามารถทาได้ 3 วิธี คือ
1.การคานวณหาจุดคุ้มทุนโดยใช้ สมการ
2. การคานวณหาจุดคุ้มทุนโดยใช้ กราฟ
3. การคานวณหาจุดคุ้มทุนโดยใช้ กาไร
ส่ วนเกิน
การคานวณหาจุดคุ้มทุนโดยใช้ สมการและสู ตร
สามารถค านวณได้ ใ นแง่ ข อง ปริ ม าณของจุ ด คุ้ ม ทุ น และ
มูลค่ าจุดคุ้มทุน ในทีน่ ีก้ าหนดให้
S
P
Q
F(a)
V(b)
TV
TC
BE
คือ ยอดขาย = PQ
คือ ราคาขายต่ อหน่ วยของสิ นค้ า
คือ ปริมาณสิ นค้ าที่ขายหรือผลิต
คือ ต้ นทุนคงที่
คือ ต้ นทุนต่ อหน่ วย
คือ ต้ นทุนผันแปร = VQ
คือ ต้ นทุนรวม = F + VQ
คือ จุดคุ้มทุน ( Break - Even point )
โดยคาจากัดความของจุดคุ้มทุนจะได้ ว่า ปริมาณจุดคุ้มทุน หมายถึง
ปริมาณสิ นค้ าทีท่ าให้ ธุรกิจมีรายได้ เท่ ากับต้ นทุนรวม ดังสมการ
S
PQ
PQ – VQ
Q (P – V)
Q
=
=
=
=
=
ปริมาณจุดคุ้มทุน (หน่ วย)
TC
F + VQ
F
F
F
P-V
=
F
P- V
ดังนั้นสูตรการหาจุดคุ้มทุน มีดงั นี้
จุดคุ้มทุนต่ อหน่ วย (หน่ วย) =
ต้ นทุนคงที่ (F)
ราคาขายต่ อหน่ วย(P) - ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย (V)
จุดคุ้มทุนต่ อหน่ วย (หน่ วย) =
มูลค่ าจุดคุ้มทุน (บาท) =
ต้ นทุนคงที่ (F)
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย
ต้ นทุนคงที่ (F)
อัตรากาไรส่ วนเกินต่ อยอดขาย
มูลค่ าจุดคุ้มทุน (บาท) = จุดคุ้มทุน(หน่ วย) X ราคาขายต่ อหน่ วย
หมายเหตุ
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย คานวณได้ จาก
ราคาขายต่ อหน่ วย(P) - ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย (V)
อัตรากาไรส่ วนเกินต่ อยอดขาย คานวณได้ จาก
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย X 100
ราคาขายต่ อหน่ วย (P)
งบกาไรขาดทุนแบบต้ นทุนผันแปร
ขาย (หน่ วยขาย X P / น)
หัก ต้ นทุนผันแปร (หน่ วยขาย X V / น)
กาไรส่ วนเกิน (หน่ วยขาย X กาไรส่ วนเกิน / น)
หัก ต้ นทุนคงที่
กาไรก่ อนหักภาษี
หัก ภาษีเงินได้ (%)
กาไรสุ ทธิ
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
งบกาไรขาดทุนแบบต้ นทุนผันแปร
100
ขาย (หน่ วยขาย X
)
หัก ต้ นทุนผันแปร (หน่ วยขาย X
กาไรส่ วนเกิน (หน่ วยขาย X
หัก ต้ นทุนคงที่
กาไรก่ อนหักภาษี
หัก ภาษีเงินได้ (%)
กาไรสุ ทธิ
60
?
)
)
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
งบกาไรขาดทุนแบบต้ นทุนผันแปร
100
ขาย (หน่ วยขาย X
)
หัก ต้ นทุนผันแปร (หน่ วยขาย X
กาไรส่ วนเกิน (หน่ วยขาย X
หัก ต้ นทุนคงที่
กาไรก่ อนหักภาษี
หัก ภาษีเงินได้ (%)
กาไรสุ ทธิ
60
40
)
)
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
งบกาไรขาดทุนแบบต้ นทุนผันแปร
100 %
60 %)
40 %)
ขาย (หน่ วยขาย X
)
หัก ต้ นทุนผันแปร (หน่ วยขาย X
กาไรส่ วนเกิน (หน่ วยขาย X
หัก ต้ นทุนคงที่
กาไรก่ อนหักภาษี
หัก ภาษีเงินได้ (%)
กาไรสุ ทธิ
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
XXX
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 4
ข้ อ 3 และ ข้ อ 4
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
117,000
119,000
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
20,000
45,900
20
15
18
105,300
15
10,000
9,000
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
(3,900 )
12,770
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
96,000
45,900
20
15
18
20,000
117,000
119,000
105,300
15
10,000
9,000
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
(3,900 )
12,770
4,620
120,000 X (100% - 20%)
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
96,000
45,900
20
15
18
20,000
4,000
(3,900 )
12,770
117,000
119,000
105,300
15
120,000 – 96,000 – 20,000
10,000
9,000
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
54,000
96,000
45,900
20
15
18
20,000
4,000
(3,900 )
12,770
117,000
119,000
105,300
10,000
9,000
15
45,900  (100% - 15%)
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
54,000
96,000
45,900
20
15
18
4,000
(3,900 )
12,770
117,000
119,000
105,300
20,000
12,000
10,000
9,000
15
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
54,000
126,500
117,000
119,000
96,000
45,900
20
15
18
20,000
12,000
10,000
9,000
4,000
(3,900 )
12,770
105,300
15
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
54,000
126,500
117,000
119,000
96,000
45,900
103,730
105,300
20
15
18
20,000
12,000
10,000
9,000
4,000
(3,900 )
12,770
15
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
54,000
126,500
117,000
119,000
96,000
45,900
103,730
105,300
20
15
18
10
15
20,000
12,000
10,000
9,000
4,000
(3,900 )
12,770
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
54,000
126,500
117,000
119,000
96,000
45,900
103,730
105,300
20
15
18
10
15
20,000
12,000
10,000
9,000
4,000
(3,900 )
12,770
2,700
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
54,000
126,500
117,000
119,000
96,000
45,900
103,730
105,300
101,150
20
15
18
10
15
20,000
12,000
10,000
9,000
4,000
(3,900 )
12,770
2,700
4,620
ข้ อ 3 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ
ยอดขาย
(บาท)
ต้ นทุนผันแปร
(บาท)
อัตรากาไรส่ วนเกิน
(%)
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
1
2
3
4
5
120,000
54,000
126,500
117,000
119,000
96,000
45,900
103,730
105,300
101,150
20
15
18
10
15
20,000
12,000
10,000
9,000
13,230
4,000
(3,900 )
12,770
2,700
4,620
ข้ อ 4 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ หน่ วยขาย
(หน่ วย)
1
2
3
4
5
6,000
8,000
5,500
7,000
ยอดขาย
(บาท)
300,000
300,000
560,000
220,000
กาไรส่ วนเกิน
ต่ อหน่ วย
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
(บาท)
(บาท)
40,000
60,000
24
80,000
15,000
88,000
90,000
77,000
6
6
ต้ นทุนผันแปร ต้ นทุนคงที่
(บาท)
392,000
168,000
ข้ อ 4 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ หน่ วยขาย
1
2
3
4
5
ยอดขาย
ต้ นทุนผันแปร ต้ นทุนคงที่
กาไรส่ วนเกิน
ต่ อหน่ วย
กาไรสุ ทธิ
(หน่ วย)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
5,000
6,000
8,000
5,500
7,000
300,000
300,000
560,000
220,000
180,000
40,000
60,000
24
80,000
15,000
88,000
90,000
77,000
6
6
392,000
168,000
ข้ อ 4 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ หน่ วยขาย
1
2
3
4
5
ยอดขาย
ต้ นทุนผันแปร ต้ นทุนคงที่
กาไรส่ วนเกิน
ต่ อหน่ วย
กาไรสุ ทธิ
(หน่ วย)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
5,000
6,000
8,000
5,500
7,000
300,000
300,000
560,000
220,000
180,000
225,000
392,000
40,000
60,000
24
12.50
80,000
15,000
88,000
90,000
77,000
6
6
168,000
ข้ อ 4 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ หน่ วยขาย
1
2
3
4
5
ยอดขาย
ต้ นทุนผันแปร ต้ นทุนคงที่
กาไรส่ วนเกิน
ต่ อหน่ วย
กาไรสุ ทธิ
(หน่ วย)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
5,000
6,000
8,000
5,500
7,000
300,000
300,000
560,000
220,000
180,000
225,000
392,000
40,000
60,000
80,000
90,000
77,000
24
12.50
21
6
6
80,000
15,000
88,000
168,000
ข้ อ 4 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ หน่ วยขาย
1
2
3
4
5
ยอดขาย
ต้ นทุนผันแปร ต้ นทุนคงที่
(หน่ วย)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
5,000
6,000
8,000
5,500
7,000
300,000
300,000
560,000
220,000
180,000
225,000
392,000
187,000
168,000
40,000
60,000
80,000
90,000
77,000
กาไรส่ วนเกิน
ต่ อหน่ วย
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
(บาท)
24
80,000
12.50 15,000
21
88,000
6
(57,000)
6
ข้ อ 4 ให้ นักศึกษาเติมคาในช่ องว่างโดยแต่ ละกรณีไม่ เกีย่ วข้ องกัน
ลาดับ หน่ วยขาย
1
2
3
4
5
ยอดขาย
ต้ นทุนผันแปร ต้ นทุนคงที่
(หน่ วย)
(บาท)
(บาท)
(บาท)
5,000
6,000
8,000
5,500
7,000
300,000
300,000
560,000
220,000
210,000
180,000
225,000
392,000
187,000
168,000
40,000
60,000
80,000
90,000
77,000
กาไรส่ วนเกิน
ต่ อหน่ วย
กาไรสุ ทธิ
(บาท)
(บาท)
24
80,000
12.50 15,000
21
88,000
6
(57,000)
6
(35,000)
บทที่ 4
การวิเคราะห์ ต้นทุนรวม
และการวิเคราะห์ ต้นทุน
ปริมาณ กาไร
การวิเคราะห์
ต้ นทุนรวม
เพือ่ หา
ต้ นทุนคงที่
และ
ต้ นทุนผันแปร
ต่ อหน่ วย
การหา
ความสั มพันธ์ กาไร
ส่ วนเกิน
จุดคุ้มทุน
พฤติกรรมต้ นทุน
ข้ อมูลในอดีต
วิเคราะห์
Y = ต้ นทุนรวม
a = ต้ นทุนคงที่
b = ต้นทุนผันแปรต่อหน่ วย
X = ระดับกิจกรรม
สมการต้ นทุนรวม
Y = a + bX
พฤติกรรมต้ นทุน
ข้ อมูลในอดีต
วิธีกราฟ
วิธีจุดสู ง - ต่า
วิธีสมการถดถอย
วิเคราะห์
โดยมี 3 วิธี
สมการต้ นทุนรวม
Y = a + bX
การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน (ต่ อ)
จุดคุ้มทุนต่ อหน่ วย (หน่ วย) =
ต้ นทุนคงที่ (F)
ราคาขายต่ อหน่ วย(P) - ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย (V)
จุดคุ้มทุนต่ อหน่ วย (หน่ วย) =
มูลค่ าจุดคุ้มทุน (บาท) =
ต้ นทุนคงที่ (F)
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย
ต้ นทุนคงที่ (F)
อัตรากาไรส่ วนเกินต่ อยอดขาย
มูลค่ าจุดคุ้มทุน (บาท) = จุดคุ้มทุนต่ อหน่ วย X ราคาขายต่ อหน่ วย
การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน (ต่ อ)
การวิเคราะห์ เป้าหมายของกาไรทีต่ ้ องการ
(Target Profit Analysis)
1.ไม่ คานึงถึงผลกระทบทางด้ านภาษี สามารถแบ่ งได้ เป็ น 2 กรณี คือ
1.1 กรณีกาหนดกาไรเป็ นจานวนเงินที่แน่ นอน
1.2 .กรณีกาหนดกาไรเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ของยอดขาย
1.1 กรณีกาหนดกาไรเป็ นจานวนเงินทีแ่ น่ นอน
เป้าหมายของกาไรที่ต้องการ (หน่ วย) =
ต้ นทุนคงที่ (F) + กาไรก่อนหักภาษี (EBT)
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย
1.2 .กรณีกาหนดกาไรเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ของยอดขาย
S = F + VQ + ( S X อัตรากาไร)
การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุน (ต่ อ)
การวิเคราะห์ เป้าหมายของกาไรทีต่ ้ องการ
(Target Profit Analysis)
2.คานึงถึงผลกระทบทางด้ านภาษี สามารถแบ่ งได้ เป็ น 2 กรณี คือ
2.1 กรณีกาหนดกาไรเป็ นจานวนเงินที่แน่ นอน
2.2 .กรณีกาหนดกาไรเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ของยอดขาย
2.1 กรณีกาหนดกาไรเป็ นจานวนเงินทีแ่ น่ นอน
เป้าหมายของกาไรที่ต้องการ (หน่ วย) =
ต้ นทุนคงที่ (F) + กาไรหลังหักภาษี (NI)
( 1 – อัตราภาษี)
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย
1.2 .กรณีกาหนดกาไรเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ของยอดขาย
หมายเหตุ
การค านวณก าไรสุ ท ธิ ใ ห้ เ ป็ นก าไรก่ อ นหั ก ภาษี
คานวณมาจาก
กาไรสุ ทธิ = กาไรก่ อนหักภาษี – ภาษี
กาไรสุ ทธิ = กาไรก่ อนหักภาษี – (กาไรก่อนหักภาษี X อัตราภาษี)
กาไรสุ ทธิ = กาไรก่ อนหักภาษี ( 1 - อัตราภาษี)
กาไรสุ ทธิ
( 1 - อัตราภาษี)
= กาไรก่ อนหักภาษี
ส่ วนเกินที่ปลอดภัย (The Margin of Safety)
ส่ วนเกิ น ที่ ป ลอดภั ย หมายถึ ง ส่ วนเกิ น ของยอดขาย
(ปริมาณการขาย) ตามงบประมาณหรือยอดขาย (ปริมาณการขาย)
ที่เกิดขึน้ จริง เมื่อนายอดขาย (ปริมาณการขาย) ณ จุดคุ้มทุนมาหัก
ออกแล้ ว ส่ วนเกินที่ปลอดภัยนี้เป็ นยอดขายหรื อปริ มาณการขายที่
สามารถเปลี่ยนแปลงลดลงได้ ก่อนที่จะประสบกับผลขาดทุน ซึ่ ง
สามารถเขียนเป็ นสู ตรได้ ดงั นี้
ส่ วนที่ปลอดภัย(บาท)
= ยอดขายที่เกิดซื้อจริง – ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน
ส่ วนเกินที่ปลอดภัย (หน่ วย)
= ปริมาณการขายจริง – ปริมาณการขาย ณ จุดคุ้มทุน
อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย (%) = ส่ วนเกินที่ปลอดภัย (บาท) X 100
ยอดขาย (บาท)
อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย (%) = ส่ วนเกินที่ปลอดภัย (หน่ วย) X 100
หน่ วยขาย (หน่ วย)
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 4
ข้ อ 5
ข้ อ 5
จากข้ อมูลต่ อไปนีใ้ ห้ นักศึกษา
5.1 หาสมการสมการต้ นทุนรวมโดย วิธีวเิ คราะห์ ตามระดับกิจกรรมสู ง - ต่า
5.2 คานวณหาต้ นทุนรวมของการผลิต 4,500 หน่ วย
5.3 หาจุดคุ้มทุนทีเ่ ป็ นหน่ วย / บาท
5.4 หาจุดขายทีเ่ ป็ นหน่ วยโดยต้ องการกาไรก่อนหักภาษี 89,991.00 บาท
5.5 หาจุดขายทีโ่ ดยต้ องการกาไรสุ ทธิ 134,986.50 บาท (สมมติอตั ราภาษี
25%)
5.6 หายอดขายโดยต้ องการกาไรก่อนหักภาษี 15% ของยอดขาย และ
5.7 ส่ วนเกินทีป่ ลอดภัย (บาท/หน่ วย) โดยมียอดขายปกติ 800,000 บาท
หมายเหตุ ถ้าบริ ษทั ฯ ขายสินค้ าในราคาขาย 170 บาทต่ อหน่ วย
จานวนหน่ วยผลิต (หน่ วย)
4,000
1,200
2,000
5,500
5,400
1,300
4,000
ต้ นทุนรวม (บาท)
705,964
466,764
537,964
849,464
879,764
450,564
705,964
5.1 หาสมการต้ นทุนรวม วิธีวเิ คราะห์ ตามกิจกรรมสู งต่า
b/น
b/น
= ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมสู งสุ ด – ต้ นทุนทีก่ จิ กรรมตา่ สุ ด
กิจกรรมสู งสุ ด – กิจกรรมตา่ สุ ด
=
849,464 – 466,764 = 382,700 =
5,500 – 1,200
4,300
นา b/น แทน ณ จุดกิจกรรมตา่ สุ ด
a = ต้ นทุนรวม - ต้ นทุนผันแปร
a = 466,764 - (1,200 X 89 ) =
89 บาท
359,964 บาท
สมการต้ นทุนรวม Y = 359,964 + 89X
5.2 คานวณหาต้ นทุนรวมของการผลิต 4,500 หน่ วย
จากสมการต้ นทุนรวม Y = 359,964 + 89X
ถ้ าผลิต 4,500 หน่ วย
ต้ นทุนรวม Y = 359,964 + 89(4,500)
ต้ นทุนรวม Y = 359,964 + 400,500
ต้ นทุนรวม Y = 760,464
ดังนั้นถ้ าผลิต 4,500 หน่ วย ต้ นทุนรวม = 760,464 บาท
5.3 หาจุดคุ้มทุนทีเ่ ป็ นหน่ วย / บาท
จุดคุ้มทุน (หน่ วย)
=
ต้ นทุนคงที่ (F)
ราคาขายต่ อหน่ วย(P) - ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย (V)
จุดคุ้มทุน (หน่ วย)
=
จุดคุ้มทุน (หน่ วย) =
359,964 = 359,964
170 - 89
81
4,444 หน่ วย
มูลค่ าจุดคุ้มทุน (บาท) = 4,444 X 170 = 755,480 บาท
5.4 หาจุดขายทีเ่ ป็ นหน่ วยโดยต้ องการกาไรก่ อนหักภาษี 89,991.00 บาท
เป้าหมายของกาไรที่ต้องการ (หน่ วย) =
เป้ าหมายฯ (หน่ วย)
เป้ าหมายฯ (หน่ วย)
ต้ นทุนคงที่ (F) + กาไรก่อนหักภาษี (EBT)
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย
= 359,964 + 89,991
81
449,955
=
81
เป้ าหมายของกาไรที่ต้องการ (หน่ วย) = 5,555 หน่ วย
5.5 หาจุดขายทีโ่ ดยต้ องการกาไรสุ ทธิ 134,986.50 บาท (สมมติอตั ราภาษี 25%)
เป้าหมายของกาไรที่ต้องการ (หน่ วย) =
ต้ นทุนคงที่ (F) + กาไรหลังหักภาษี (NI)
( 1 – อัตราภาษี)
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย
เป้าหมายฯ (หน่ วย) =
เป้าหมายฯ (หน่ วย) =
359,964 + 134,986.50
1 – 25%
81
359,964 + 134,986.50
75%
81
5.5 หาจุดขายทีโ่ ดยต้ องการกาไรสุ ทธิ 134,986.50 บาท (สมมติอตั ราภาษี 25%)
เป้าหมายฯ (หน่ วย) =
359,964 + 179,982
81
เป้าหมายฯ (หน่ วย) =
539,964
81
เป้ าหมายของกาไรสุ ทธิทตี่ ้ องการ (หน่ วย) = 6,666 หน่ วย
5.6 หายอดขายโดยต้ องการกาไรก่ อนหักภาษี 15% ของยอดขาย
S
S
S
สมมุติ ยอดขาย = S
= F + VQ + ( S X อัตรากาไร)
= 359,964+(89Q)+(SX15%)
= 359,964 + 89Q + 0.15S
ตัวแปร มีกตี่ ัว
2 ตัว
5.6 หายอดขายโดยต้ องการกาไรก่ อนหักภาษี 15% ของยอดขาย
S
S
สมมุติ ยอดขาย = S
= F + VQ + ( S X อัตรากาไร)
= 359,964+(SX52.35%)+(SX15%)
89  170 X 100
5.6 หายอดขายโดยต้ องการกาไรก่ อนหักภาษี 15% ของยอดขาย
S
S
S
S
สมมุติ ยอดขาย = S
= F + VQ + ( S X อัตรากาไร)
= 359,964+(SX52.35%)+(SX15%)
= 359,964 + 0.5235S + 0.15S
= 359,964 + 0.6735S
S – 0.6735S = 359,964
0.3265S = 359,964
S = 359,964  0.3265 = 1,102,493.11 บาท
เพราะฉะนั้นต้ องมียอดขายเท่ ากับ
1,102,493.11 บาท
ถึงจะมีกาไร 15% ของยอดขาย
ตรวจสอบคาตอบจากงบกาไรขาดทุนแบบต้ นทุนผันแปร
ขาย (100%)
หัก ต้ นทุนผันแปร
กาไรส่ วนเกิน
หัก ต้ นทุนคงที่
กาไรสุ ทธิ
(52.35%)
1,102,493.11
577,155.14
525,337.97
359,964.00
165,373.97
อัตรากาไร = 165,373.97  1,102,493.11 X 100 = 15%
5.7 ส่ วนเกินที่ปลอดภัย (บาท/หน่ วย) โดยมียอดขายปกติ 800,000 บาท
ส่ วนที่ปลอดภัย(บาท) = ยอดขายทีเ่ กิดขึน้ จริง – ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน
ส่ วนทีป่ ลอดภัย(บาท) = 800,000 – 755,480
ส่ วนทีป่ ลอดภัย(บาท) = 44,520 บาท
ส่ วนเกินทีป่ ลอดภัย (หน่ วย) = ปริมาณการขายจริง – ปริมาณการขาย ณ จุดคุ้มทุน
ส่ วนที่ปลอดภัย(หน่ วย) = (800,000/170) – 4,444
ส่ วนทีป่ ลอดภัย(หน่ วย) = 262 หน่ วย
5.8 อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย
อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย (%) = ส่ วนเกินที่ปลอดภัย (บาท) X 100
ยอดขาย (บาท)
อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย (%) =
800,000 - 755,480
มูลค่ าจุดคุ้มทุน
5.8 อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย
อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย (%) = ส่ วนเกินที่ปลอดภัย (บาท) X 100
ยอดขาย (บาท)
อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย (%) = ( 800,000
- 755,480 ) X 100
800,000
อัตราส่ วนเกินที่ปลอดภัย (%) = 5.57%
การประยุกต์ ใช้ โดยใช้ แนวคิดกาไรส่ วนเกิน
(Some Application of CVP Concepts)
การเปลีย่ นแปลงในต้ นทุนคงทีแ่ ละยอดขาย
การเปลีย่ นแปลงในต้ นทุนผันแปรและปริมาณการขาย
การเปลีย่ นแปลงในต้ นทุนคงที่ ราคาขาย และปริมาณขาย
การเปลีย่ นแปลงในต้ นทุนผันแปร ต้ นทุนคงที่ และปริมาณขาย
ตามตัวอย่ างการวิเคราะห์ หน้ า 131 ถึง 133
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 4
ข้ อ 6 และ ข้ อ 7
ข้ อ 7
จากข้ อมูลต่ อไปนีใ้ ห้ คานวณหาผลกาไรจากการดาเนินงานแต่
ละกรณี (อิสระจากกัน) พร้ อมทั้งราคาขายต่ อหน่ วยและต้ นทุนผัน
แปรต่ อหน่ วยไม่ เปลีย่ นแปลง
ยอดขาย 1,200,000 บาท
ต้ นทุนคงที่ 430,000 บาท
ต้ นทุนผันแปร 660,000 บาท
ข้ อ 7
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
100%
ยอดขาย
1,200,000
หัก ต้ นทุนผันแปร
660,000 55%
กาไรส่ วนเกิน
540,000 45%
หัก ต้ นทุนคงที่
430,000
กาไรสุ ทธิ
110,000
กาไรส่ วนเกินลดลง
ตอบ =
ต้ นทุนคงทีเ่ พิม่ ขึน้
ตอบ =
ยอดขายเพิม่ ขึน้
ตอบ =
15% ในขณะที่ยอดขายคงเดิม
กาไรสุ ทธิ (70,000) บาท
8%
กาไรสุ ทธิ 75,600 บาท
9%
กาไรสุ ทธิ 158,600 บาท
ยอดขายลดลง
ตอบ =
10% และต้ นทุนคงทีล่ ดลง 6%
กาไรสุ ทธิ 81,800 บาท
ยอดขายเพิม่ ขึน้
10% และต้ นทุนคงทีเ่ พิม่ ขึน้ 10%
และกิจการจะเปลีย่ นแปลงนโยบายหรือไม่
ตอบ =
กาไรสุ ทธิ 121,000 บาท
เปลีย่ นแปลงนโยบายใช้ นโยบายใหม่
ตัวอย่ างเพิม่ เติม
บริษัท มีราคาขายต่ อหน่ วย 140 บาท มีกาไรส่ วนเกิน
ต่ อหน่ วยเท่ ากับ 35 บาท มีต้นทุนคงที่ 490,000 บาท โดย
บริษัท มีกาไรก่ อนหักภาษีตามยอดขายปกติคอื 210,000 บาท
ถ้ าบริ ษัทมีนโยบายใหม่ คือ ลดราคาขายต่ อหน่ วยลดลง 10
บาท ซึ่งจะทาให้ หน่ วยขายเพิม่ ขึน้ จากเดิม 35% (ต้ นทุนคงที่
คงเดิม)
อยากทราบว่ า บริษัท ควรเปลี่ยนนโยบายใหม่ หรือไม่ เพราะ
เหตุใด
ทาให้ กาไรลดลง
25,000 บาท
ข้ อ 6
บริษทั ปองคุณ จากัด ต้ องการลดต้ นทุนผันแปรลงลง เพือ่
จะทาให้ บริษทั มีจุดคุ้มทุนลดลง 1,900 หน่ วย โดยข้ อมูลการผลิต
และขายมีดงั นี้
ราคาขายต่ อหน่ วย 740 บาท ต้ นทุนคงที่ 1,197,000 บาท
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย 600 บาท
คาถาม
บริษทั ต้ องลดต้ นทุนผันแปรลงเท่ าไหร่
จุดคุ้มทุนเดิม = 1,197,000 / (740-600) = 8,550 หน่ วย
ลดจุดคุ้มทุนเหลือ = 8,550 - 1,900 = 6,650 หน่ วย
จุดคุ้มทุนใหม่ = 6,650 หน่ วย
ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย = ?
จุดคุ้มทุน (หน่ วย) =
ต้ นทุนคงที่ (F)
ราคาขายต่ อหน่ วย(P) - ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย (V)
= 1,197,000
6,650
740 - V
6,650(740 – V)
= 1,197,000
4,921,000 – 6,650V = 1,197,000
V
= 4,921,000 - 1,197,000
V
= 560
6,650
ดังนั้นบริษทั จะต้ อง
ลดต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย
600 – 560 = 40 บาท
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 4
ข้ อ 8
จากข้ อมูลต่ อไปนี้ ให้ หา จุดคุ้มทุนของสิ นค้ าแต่ ละประเภท
สิ นค้ า จานวนขายปี ราคาขาย / หน่ วย ต้ นทุนผันแปร / หน่ วย
ก่อน(หน่ วย) (บาท/หน่ วย)
(บาท/หน่ วย)
H.
U.
T.
20,000
10,000
30,000
100
120
130
มีข้นั ตอนดังนี้
70
80
90
ต้ นทุนคงที่
(บาท)
2,662,000
ขั้นตอนที่ 1 หาอัตราส่ วนการขายของสิ นค้ า
สิ นค้ า H : U : T = 20,000 : 10,000 : 30,000
=2 : 1 : 3
ขั้นตอนที่ 2 หากาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วยของสิ นค้ าแต่ ละชนิด
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วย
สิ นค้ า H = 100 – 70 = 30
สิ นค้ า U = 120 – 80 = 40
สิ นค้ า T = 130 – 90 = 40
ขั้นตอนที่ 3 หากาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วยต่ ออัตราส่ วนการขายรวม
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วยต่ ออัตราส่ วนการขายรวม
สิ นค้ า H = 30 X 2
=
60
สิ นค้ า U = 40 X 1
=
40
สิ นค้ า T = 40 X 3
= 120
รวม
220
ขั้นตอนที่ 4 หาจุดคุ้มทุนเฉลีย่
=
ต้ นทุนคงทีร่ วม
กาไรส่ วนเกินต่ อหน่ วยต่ ออัตราส่ วนการขายรวม
=
2,662,000
220
=
12,100 หน่ วย
ขั้นตอนที่ 5 หาจุดคุ้มทุนของแต่ ละสิ นค้ า
สิ นค้ า H = 12,100 X 2 =
สิ นค้ า U = 12,100 X 1 =
สิ นค้ า T = 12,100 X 3 =
24,200 หน่ วย
12,100 หน่ วย
36,300 หน่ วย
END
บทที่ 4