ให้ยาปลอดภัย ใส่ใจทั้งทีม 8 กรกฎาคม 2557 ทวนทอง พัณธะโร

Download Report

Transcript ให้ยาปลอดภัย ใส่ใจทั้งทีม 8 กรกฎาคม 2557 ทวนทอง พัณธะโร

การบริ หารจัดการยาให้ผปู ้ ่ วย :
บทบาทพยาบาล
มี 5 ขัน้ ตอน คือ
1. Ordering (prescribing) แพทย์
2. Transcribing
พยาบาล
3. Dispensing
เภสัชกร
4. Administering
พยาบาล
5. Monitoring
พยาบาล/ แพทย์ / เภสัชกร
การให้ ยา อย่ างปลอดภัย..
จะต้ องป้องกันความคลาดเคลื่อนในทุกขัน้ ตอน
แนวทางบริหารจัดการยาอย่ างปลอดภัย
สมาคมวิชาชีพ
พัฒนาคูม่ ือเพิ่ม
ความปลอดภัย
แนวทางปฏิบัติการเพิม่ ความปลอดภัยในการใช้ ยา
ประเด็นความเสี่ยง
แนวทางป้องกัน
1. Order
1.1(1) ระบุ ชื่อ-สกุล HN อายุ
management
1.1 สั่งแผนการรักษาผิด หรือ วัน/เดือน/ปี เกิดที่หน้ าแฟ้ม
คน
ประวัตผิ ้ ูป่วยและในใบบันทึก
แผนการรักษาทุกแผ่ นและต้ อง
บันทึกให้ ครบก่ อนให้ แพทย์ ใช้ ส่ ัง
การรักษา
1.2 ลายมือไม่ ชัดเจน/ไม่
1.2(1) ทวนสอบแผนการรักษา
กับแพทย์ ผ้ ูส่ ังทุกครัง้
ครบถ้ วน (unclear)
แนวทางปฏิบัตกิ ารเพิม่ ความปลอดภัยในการใช้ ยา
ประเด็นความเสี่ยง
แนวทางป้องกัน
1. Order
management(ต่ อ)
1.3 การคัดลอก
1.3(1) พยาบาลที่รับแผนการรั กษาบันทึกรายการ
ผิดพลาด
ยาในตารางการใช้ ยาต้ องทาการ Double
check/Re-check ให้ ตรงกับคาสั่งการรั กษา
1.4 การรั บแผนการรั กษา 1.4(1) บันทึกแผนการรั กษาและอ่ านทวนแผนการ
ทางโทรศัพท์
รั กษาตามที่บันทึกใน Order Sheet ให้ แพทย์ ฟัง
พร้ อมให้ แพทย์ ยืนยันว่ าแผนการรั กษานัน้ ถูกต้ อง
1.4(1) พยาบาลบันทึกรายละเอียด ชื่อแพทย์ ชื่อ
พยาบาล ผู้บันทึกแผนการรั กษา วันและเวลา
แนวทางปฏิบัติการเพิม่ ความปลอดภัยในการใช้ ยา
ประเด็นความเสี่ยง
2. ได้ รับยาจากเภสัชกรไม่ ตรงตาม
คาสั่งแพทย์
แนวทางป้องกัน
2.1 ตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูลยา
จากฉลากยา ให้ ถูกต้ องตามแผนการรั กษา
2.2 ตรวจสอบความถูกต้ องของชนิดยา
โดยตรวจสอบกับข้ อมูลลักษณะยาที่
โรงพยาบาลเตรี ยมไว้ เช่ น รู ปภาพ
2.3 กรณีได้ รับยาไม่ ตรงตามแผนการ
รั กษาต้ องแจ้ งฝ่ ายเภสัชกรรมเปลี่ยนแปลง
ยาให้ ถูกต้ อง
2.4 รายงานอุบัตกิ ารณ์ ความเสี่ยงทางยา
แนวทางปฏิบัตกิ ารเพิม่ ความปลอดภัยในการใช้ ยา
ประเด็นความเสี่ยง
3. การจัดเก็บยา
3.1 ไม่ ตรงกับช่ องเก็บ
ยาของผู้ป่วยแต่ ละราย
3.2 ไม่ ถูกต้ องกับ
คุณสมบัตขิ องยา
แนวทางป้องกัน
3.1(1) จัดเก็บยาในที่เก็บยาเฉพาะของผู้ป่วยแต่
ละราย
3.1(2) กรณีผ้ ูป่วยย้ ายเตียงต้ องมีการสื่อสารให้
เจ้ าหน้ าที่ทุกท่ านทราบเมื่อย้ ายเตียงและขณะส่ งเวร
3.2(1) มีเอกสารกาหนดวิธีการเก็บรั กษายา โดย
ระบุวธิ ีจัดเก็บยาแต่ ละชนิด เช่ น ตู้เย็น
3.2(2) มีการควบคุมและตรวจสอบอุณหภูมขิ อง
ตู้เย็น(สาหรั บเก็บยา) ทุกวันให้ ได้ ตามมาตรฐาน
แนวทางปฏิบัตกิ ารเพิม่ ความปลอดภัยในการใช้ ยา
ประเด็นความเสี่ยง
4. การจัดเตรี ยมยา
Wrong drug /
Wrong dose/
Wrong strength/
Wrong time
/Omission /
unauthorized drug
แนวทางป้องกัน
1. ตรวจสอบประวัตกิ ารแพ้ ยา
2. ขณะเตรี ยมยาต้ องตรวจสอบ แผนการรั กษา /
ตารางการให้ ยา
3. เตรี ยมยาตามคู่มือของสถาบันที่กาหนดไว้
โดยสหสาขาวิชาชีพ
4. ยาที่เป็ น HAD ต้ องมี Double
Check/Recheck
5. ยาที่จัดเตรี ยม ต้ องใช้ ซา้ ต้ องระบุ ชื่อ-สกุล
ขนาดยา ความเข้ มข้ น วันเวลาที่ผสม ผู้ผสม
วัน/เวลาหมดอายุ และจัดเก็บแบบป้องกันการ
แพร่ กระจายเชือ้
แนวทางปฏิบัติการเพิม่ ความปลอดภัยในการใช้ ยา
ประเด็นความเสี่ยง
5. การแจกยาแก่ ผ้ ูป่วย
Wrong patient /
Wrong route/
Wrong rate/
Wrong technique
แนวทางป้องกัน
1. มีการตรวจสอบเพื่อระบุตัวผู้ป่วยให้ ถูกต้ อง โดย
ถามชื่อ-สกุล และป้ายข้ อมือ
2. ตรวจสอบตารางการให้ กับตัวยาก่ อนส่ งมอบยา
3. ให้ ข้อมูลยาและเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูป่วยซักถาม
4. ให้ ผ้ ูป่วยรั บประทานยาต่ อหน้ า
5. ติดตามประเมินอาการและประสิทธิผลของยา
หลังให้ ยา
6.ประเมินอาการไม่ พงึ ประสงค์ หลังการให้ ยา
7. มีการทดสอบความเที่ยงตรงของอุปกรณ์ การให้
ยาให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน
บทเรียนการพัฒนา
ทีมใส่ ใจในการพัฒนา
ข้ อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนาระบบยาเร่ งด่ วนของสรพ
ข้ อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบยาเร่ งด่ วนของสรพ
ระบบกระจายยา
โดยให้ ขยายผลการปรับลดปริมาณยา หรือ จานวนวันในการกระจายยาใน
หอผู้ป่วยใน ให้ เหมาะสมกับการสั่งใช้ ยามากขึน้ โดยเฉพาะในหอผู้ป่วยที่มี
ความเสี่ยงสูง/วิกฤติ
การเก็บและสารอง
ยาในหอผู้ป่วย
โดยให้ ทบทวนให้ มีรายการยาที่เหมาะสมตามความจาเป็ นเร่ งด่ วน ของการ
ดูแลรั กษาและการควบคุมสภาวะการจัดเก็บในทุกหน่ วยงาน ให้ เหมาะสม
เพื่อให้ ยามีคุณภาพที่ดีจนถึงการใช้ งาน
การทบทวนคาสั่งใช้
ยาโดยเภสัชกร
เพื่อให้ การทบทวนคาสั่งใช้ ยาสามารถตรวจพบปั ญหาสาคัญและตรวจสอบ
พบความคลาดเคลื่อนทางยาในระหว่ างแผนกได้ ควรให้ เภสัชกรเข้ าถึง
คาสั่งการใช้ ยา/การรั กษาที่เกี่ยวข้ องได้ ในทุกคาสั่ง รวมทัง้ เข้ าถึงข้ อมูล
เฉพาะของผู้ป่วยที่จาเป็ นต่ อการทบทวนได้ อย่ างเพียงพอ
การดาเนินการ
•
สำรวจข้อมูล ศึกษำปัญหำ ในกำรสำรองยำในหอผูป้ ่ วย
–
–
รำยกำรยำสำรองในหอผูป้ ่ วย
ควำมต้องกำรอุปกรณ์จดั เก็บยำ, ยำเสพติด
การดาเนินการ
ข้อมูลที่พบ
– ยาเสพติด 1.ตู้ไม่ มีกุญแจ Lock 2.มีกุญแจแต่ ไม่ Lock / ไม่ มีสัญญาณปิ ด-เปิ ด
3.ผสมแล้ วไม่ ระบุชนิดและความแรง 4. เก็บยามากกว่ า 1 ชนิดใน tray เดียวกัน
5. มียาเกินจานวนที่Stock
– HAD 1.จัดเก็บรวมกับยาผู้ป่วยทั่วไป 2.เข้ าถึงง่ าย/รวมอยู่กับยาเสพติด 3.ผสม
แล้ ว ไม่ label
– ยาที่ต้องเก็บในตู้เย็น : ไม่ label ชื่อผู้ป่วย
– ยาที่เก็บในอุณหภูมิ < 25°C :มีทงั ้ เก็บที่อุณหภูมหิ ้ อง และเก็บในตู้เย็น
– การตรวจสอบ 1.ไม่ สม่าเสมอ 2.จานวนไม่ ตรง 3.ไม่ ตรงไม่ อธิบายการแก้ ไข/
เหตุผล 4. ไม่ ตรวจนับ/ลืมคืนยา/การคืนยาภายหลัง
การดาเนินการ
•
จัดหำอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกับหน่ วยพัฒนำคุณภำพ
–
ตู้เก็บยำเสพติด
ภำชนะเก็บยำสต๊อก , ยำเฉพำะรำย
•
จัดทำระเบียบปฏิบตั ิ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะทำงำนฯ
–
–
การดาเนินการ
•
สื่อสำรทำควำมเข้ำใจระเบียบปฏิบตั ิ ทงั ้ 4 เรือ่ ง
วันที่ 20 พ.ย.56 กลุ่ม HN, senior staff จำนวน 80 คน
– วันที่ 21 พ.ย.56 กลุ่มพยำบำล จำนวน 240 คน
–
การดาเนินการ
•
ติดตำมกำรปฏิบตั ิ ตำมระเบียบปฏิบตั ิ ทงั ้ 4 เรื่อง โดยกำรลง
audit กำรปฏิบต
ั ิ ที่หอผูป้ ่ วย
–
ผลการตรวจเยี่ยม
เรื่อง
KPI
target
4 ธ.ค-13ธ.ค.56
> 80%
79.1%
MR (N=225 ราย)
MR within 24 h
Stock (N=52 ward)
-จานวนครั ง้ ที่พบยาหมดอายุ
-จานวนครั ง้ ที่ยาไม่ ตรงกับรายการยา
สารอง (ขาด/เกิน)
-การสูญหายของยา
0
0
- 8 ครัง้
0
-อัตราการสูญหายของยาเสพติด
0
-0
ยังไม่ พบแต่ มีข้อมูลผลลัพธ์
เชิงกระบวนการ
ยาเสพติด
รอบยามาตรฐาน -อัตราความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้
ยา,การจ่ ายยา,การบริหารยา
-11 ครั ง้
ยังไม่ สามารถตรวจได้ แต่ มี
ข้ อมูลผลลัพธ์ เชิง
กระบวนการ
ผลการตรวจเยี่ยม
หอผู้ป่วยที่มีการทา MR>80% ใน 24 hr
100
100 100
100 100 100 100
100
100
100 100 100 100
100 100 100
100
100
90
88.9
87.5
83.3
83.3
83.3
80
80 80
80 80
80
70
60
50
40
30
20
10
SICU
MICU2
MICU1
6ข
6ก
burn
5ค
3ค
3ข
3ก
2ก
LR
5จ
5ก
สว.15
สว.14
สว.13
สว.12
สว9B
สว9A
AE4
AE3
AE2
AE1
2ง
4ข
4ก
0
การสารองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock)
วัตถุประสงค์ เพื่อ 1)ให้ มียาช่ วยชีวิต (Life saving) ยาจาเป็ น
(Essential drugs) เพียงพอ พร้ อมใช้ 2)จัดเก็บอย่ างถูกต้ องตาม
มาตรฐาน
1. การสารองยา (Stock)
1.1 ทบทวนรายการ/จานวน ยาสารองให้ มีจานวนเพียงพอและพร้ อม
ใช้ ทนั เวลา (ปรั บเปลี่ยนลดจานวน หรื อรายการยา กรณีเพิ่ม
รายการ/จานวน ให้ ระบุความจาเป็ น)
1.2 ตรวจสอบจานวนยาสารองทุกวัน
1.3 ทบทวนรายการยา และจานวนร่ วมกับทีมแพทย์ ผ้ ูดูแลผู้ป่วยทุก
3 เดือน และ/หรื อเมื่อจาเป็ นตามความต้ องการของกลุ่มผู้ป่วย
การสารองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock)(ต่ อ)
2. การจัดเก็บตามมาตรฐาน
2.1 ยาเสพติด
2.1.1 จัดเก็บในตู้ หรือกล่ อง และล็อคทุกครัง้ (มี
สัญญาณ แสง เสียง เมื่อเปิ ด)
2.1.2 บันทึกการใช้ ทุกครัง้ (ตามแบบฟอร์ ม)
2.1.3 เมื่อผสมแล้ วให้ ระบุ ชนิดยา ความแรง วัน/
เวลาผสม และหมดอายุ
2.1.4 ตรวจสอบจานวนทุกเวร หัวหน้ าหอผู้ป่วย
ติดตามกากับอย่ างสม่าเสมอ อย่ างน้ อย สัปดาห์ ละ 1 ครัง้
การสารองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock)(ต่อ)
2. การจัดเก็บตามมาตรฐาน
2.2 ยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drugs; HAD) มีการจัดเก็บในพืน้ ที่
หรื อภาชนะที่เข้ าถึงได้ โดยตัง้ ใจเท่ านัน้
2.2.1 จัดเก็บยาแยกจากยาทั่วไปของผู้ป่วย (รออุปกรณ์ )
2.2.2 เมื่อเปิ ดใช้ แล้ วต้ องระบุชนิดยา ระบุความแรง วันเวลาผสม
และหมดอายุ
2.3 การเก็บยาในตู้เย็น ตรวจสอบฉลากที่ระบุระดับอุณหภูมขิ องยาแต่ ละ
ชนิด
2.3.1 แยกชนิดของยาอย่ างชัดเจน
2.3.2 ยาผู้ป่วยเฉพาะรายต้ องระบุช่ ือผู้ป่วยอย่ างชัดเจน และแยกเก็บ
เป็ นรายบุคคล
การสารองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock) (ต่ อ)
2.4 การจัดเก็บยาผู้ป่วยที่นามาจากบ้ าน
2.4.1 ตรวจสอบรายการยาและจานวนยา
2.4.2 ตรวจสอบแผนการักษาที่จาเป็ นต้ อง
ต้ องให้ ยานอกบัญชีของผู้ป่วย ส่ งยาให้ เภสัชกร
ตรวจสอบชนิดและคุณภาพทางกายภาพของยา
2.4.3 จัดยาให้ ผ้ ูป่วยตามแผนการรั กษา
2.4.4 จัดเก็บยาผู้ป่วยซึ่งไม่ ได้ ใช้ ในสถานที่
เก็บและพิจารณาคืนยาเมื่อผู้ป่วยกลับบ้ าน
การจัดเก็บยาในหอผู้ป่วย
PCA , PCEA Drug box
Emergency drug box
การจัดเก็บยาในตู้เย็น
ยาสารองและยาผู้ป่วยเฉพาะราย
วัดอุณหภูมิต้ เู ย็น
ตู้จัดเก็บยาเสพติด
Fentanyl
Morphine
Pethidine
การประเมินภายหลังการได้ รับยา
ประเมิน
ประสิทธิผล
ประเมินความ
ปลอดภัย
ใครมีหน้ าที่สังเกตอาการ
ไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยา?
•
•
•
•
แพทย์ นับว่ าเป็ นบุคคลที่สาคัญมาก
เภสัชกร นับว่ าเป็ นผู้ท่ มี ีความรู้ เรื่ องยามากที่สุด
พยาบาล นับเป็ นบุคลากรที่ใกล้ ชิดกับผู้ป่วยที่สุด
ผู้ป่วย ญาติหรื อผู้ดูแล ป่ วยจะเป็ นบุคคลแรกที่รับรู้
ได้ ว่าเกิดความผิดปกติขนึ ้
(จันทิมา โยธาพิทักษ์ ,2537)
ใครมีหน้ าทีส่ ั งเกตอาการ
ไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยา?
แพทย์ : การตรวจร่ างกาย การสั่งตรวจทางห้ องปฏิบัติการ
การสั่งตรวจวินิจฉัยอื่นๆ การนัดผู้ป่วยมาติดตาม ความรู้
เรื่อง ADR
เภสัชกร : เภสัชกรควรทาหน้ าที่เป็ นที่ปรึกษาหรือให้ ข้อมูล
แก่ บุคลากรสาธารณสุขอื่นๆ เกี่ยวกับ ADR ผลการ
ตรวจที่สาคัญในการเฝ้าระวังหรือสังเกตอาการ ADR
จากยาต่ างๆ
ใครมีหน้ าทีส่ ั งเกตอาการ
ไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยา?
พยาบาล : ผู้ป่วยที่พกั รักษาตัวในโรงพยาบาล การตรวจ
ร่ างกายประจาวัน การรวบรวมผลการตรวจทาง
ห้ องปฏิบตั กิ าร หรือผลการตรวจอื่นๆ การทาความ
สะอาดให้ แก่ ผ้ ูป่วย ความผิดปกติทางผิวหนัง ผื่นแพ้
ผู้ป่วย ญาติหรื อผู้ดแู ล สาหรับ ADR ผู้ป่วยจะเป็ นบุคคล
แรกที่รับรู้ได้ ว่าเกิดความผิดปกติขนึ ้ ผู้ป่วยอาจไม่ ทราบว่ า
อาการผิดปกติ ดังนัน้ การให้ ความรู้ แก่ ผ้ ูป่วยและญาติ
สังเกตอาการ ADR ได้ เร็วขึน้
การให้ ยา High Alert Drug;(HAD)
Infusion pump drip
Label line
แบบบันทึกการเฝ้ าระวังการใช้ ยา
Morphine
Fentanyl
ระบบเฝ้ าระวังความคลาดเคลือ่ น
ระดับเกือบพลาด(Near miss)
พัฒนาโปรแกรมโดย พว.สุดถนอม กมลเลิศ งานบริการพยาบาล
โรงพยาบาลศรี นครินทร์
1. Prescribing error
2. Processing error
3. Dispensing error
4. Administration error
ระดับ A มีเหตุการณ์ ท่ มี ีโอกาสก่ อให้ เกิดความคลาดเคลื่อน
ระดับ B มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึน้ แต่ ไม่ ถงึ ตัวผู้ป่วย
ระบบเฝ้ าระวังความคลาดเคลือ่ น
ระดับเกือบพลาด(Near miss) (ต่ อ)
error(11) ตัวอย่ าง
1.1 แพทย์ ส่ ังยาผิดขนาด/ไม่ ระบุขนาด
1.2 แพทย์ ส่ ังด้ วยวาจา/โทรศัพท์
1.3แพทย์ เขียนคาสั่งไม่ ชัดเจน/อ่ านไม่ ออก
2. Processing error(9) ตัวอย่ าง
2.1 ติดสติกเกอร์ ผิดคน
2.2 ระบุวัน/เวลาให้ ยาไม่ ถูกต้ อง
1. Prescribing
ระบบเฝ้ าระวังความคลาดเคลือ่ น
ระดับเกือบพลาด(Near miss)(ต่ อ)
3. Dispensing error (10) ตัวอย่ าง
3.1 จ่ ายยาผิดหอผู้ป่วย
3.2 จ่ ายยาผิดขนาด
3.3 จ่ ายยาไม่ ครบตามจานวน
4.Administration error(9) ตัวอย่ าง
4.1 เก็บยาไม่ ถูกต้ อง(ยากลุ่มเสี่ยงสูง/ยาต้ องเก็บในตู้เย็น)
4.2 จัดยาผิดขนาด
4.3 จัดยาผิดเวลา
การนาส่ งยาสู่ หอผู้ป่วยอย่ างปลอดภัย
พนักงานการแพทย์ นาส่ งยา
ยาต้ องเก็บในตู้เย็น
การนาส่ งยาสู่ หอผู้ป่วยอย่ างปลอดภัย
กล่ องนาส่ งยา
กล่ องคืนยา
ระบบรายงานความคลาดเคลื่อน
ระดับNear miss
สุดถนอม กมลเลิศ
รายงานอุบัตกิ ารณ์
รัชนี ศรีวิชัย
ขอบคุณค่ ะ