สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงการ LCDIP

Download Report

Transcript สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงการ LCDIP

สรุ ปผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
โครงการ LCDIP
สมัย ศิริทองถาวร
ผูอ้ านวยการสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์จงั หวัดเชียงใหม่
ปริวตั ร เขื่อนแก้ว
ผูช้ ่วยนักวิจยั
ส่วนที่ 1 สรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล LCDIP1
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ
เปรียบเทียบ/หาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยส่วนบุคคล
ประวัติ ปั จจัยเสี่ยงต่างๆ กับสภาวะเด็กที่ประกอบด้วย 2
สภาวะ คือ Low birthweight กับ Birth
asphyxia เก็บรวบรวมข้อมูลตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม
พ.ศ.2556 ทาการคัดเลือกข้อมูลที่สมบูรณ์มาใช้ในการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลในส่วนที่ 1 จานวน 2,780 ตัวอย่าง
ทำกำรวิเครำะห์โดยใช้สถิติ Chi-Square Tests ซึ่งสำมำรถ
สรุ ปผลกำรวิเครำะห์ดงั ต่อไปนี้
 เด็กที่มีสภาวะ Low
birthweight มีจานวนมากกว่าเด็กที่มี
สภาวะ Birth asphyxia
 จังหวัดเชี ยงใหม่ มีเด็กในโครงการมากที่สุด รองลงมา คือ จังหวัด
เชียงราย ลาปาง ลาพูน น่ าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ตามลาดับ
และเมื่อทาการเปรียบเทียบสัดส่วนระหว่างจังหวัดกับสภาวะเสี่ ยงของเด็ก
พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยพบว่า จังหวัด
เชียงใหม่ เชียงราย น่ าน และแม่ฮ่องสอน มีสดั ส่วนของเด็กที่มีภาวะ
Birth asphyxia มากกว่าลาปาง ลาพูน พะเยา และแพร่
 เพศของเด็กมีความสัมพันธ์ กับสภาวะเสี่ยงอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติ
โดยพบว่ า เพศชายมีสัดส่ วนที่มีภาวะ Birth asphyxia มากกว่ า
หญิง หรื อกล่ าวได้ ว่าเพศหญิงมีสัดส่ วนที่มีภาวะ Low
birthweight มากกว่ าชาย
 อาชีพของมารดาและบิดา ระดับการศึกษาของบิดา สถานะครอบครั ว
และประวัตอิ ดีตของมารดา ไม่ มีความสัมพันธ์ กับสภาวะเสี่ยงของเด็ก
 ระดับการศึกษาของมารดามีความสัมพันธ์ กับสภาวะเสี่ยงของเด็กอย่ างมี
นัยสาคัญทางสถิติ โดยพบว่ า มารดาที่มีระดับการศึกษาต่ามีสัดส่ วน
ของบุตรที่มีภาวะ Birth asphyxia มากกว่ ามารดาที่มีการศึกษา
สูง ในทางกลับกันมารดาที่มีการศึกษาสูงมีสัดส่ วนของบุตรที่มีภาวะ
Low birthweight มากกว่ ามารดาที่มีการศึกษาต่า

ผลเลือดของมารดา(Anti HIV) มีความสัมพันธ์กบั สภาวะเสี่ยงของเด็ กอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ โดยพบว่า มารดาที่มีผลเลือดของมารดา(Anti HIV) ผิดปกติ
มีสดั ส่วนของบุตรที่มีภาวะ Low birthweight มากกว่ามารดาที่มีผลเลือดของ
มารดา(Anti HIV) ปกติ

ปั จจัยเสี่ยงของภาวะ Low birthweight ที่มีจานวนมากที่สุด คือ Medical
risks in current pregnancy รองลงมา ได้แก่ Medical risks
predating pregnancy , Health-care risks ,
Demographic risks และ Behavioral and
environmental risks ตามลาดับ

ปั จจัยเสี่ยงของภาวะ Birth asphyxia ที่มีจานวนมากที่สุด คือ Factor
from delivery and abnormal delivery (ปั จจัยจากการคลอด
และความผิดปกติจากการคลอด) รองลงมา ได้แก่ Fetal factor (ปั จจัยที่
เกี่ยวกับเด็ก) และ Maternal factor (ปั จจัยทางมารดา) ตามลาดับ
 OBSTETRIC HISTORY มีความสัมพันธ์กบั สภาวะเสี่ ยงของเด็กอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ โดยพบว่า มารดาที่มี OBSTETRIC HISTORY จะ
มีสดั ส่วนของบุตรที่มีภาวะ Low birthweight มากกว่ามารดาที่ไม่มี
OBSTETRIC HISTORY
 เมื่อพิจารณาที่องค์ประกอบย่อยของ OBSTETRIC HISTORY พบว่า
 มารดาที่เคยคลอดบุตรน้ าหนักน้อยกว่า
2,500 กรัม จะมีสดั ส่วนของบุตรที่มี
ภาวะ Low birthweight มากกว่ามารดาที่ไม่เคยคลอดบุตรน้ าหนักน้อยกว่า
2,500 กรัม
 มารดาที่เคยคลอดบุตรน้ าหนักมากกว่า
4,000 กรัม จะมีสดั ส่วนของบุตรที่มี
ภาวะ Birth asphyxia มากกว่ามารดาที่ไม่เคยคลอดบุตรมากกว่า 4,000
กรัม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล LCDIP2
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ
เปรียบเทียบผลการประเมินพัฒนาเด็กแรกเกิดระหว่างเด็ กที่
มีภาวะ Low birthweight กับ Birth
asphyxia เก็บรวบรวมข้อมูลตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม
พ.ศ.2556 คัดเลื อกข้อมูลที่สมบูรณ์มาใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูลในส่วนที่ 2 จานวน 2,715 ตัวอย่าง
ทาการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ Chi-Square Tests ซึ่งสามารถ
สรุปผลการวิเคราะห์ดงั ต่อไปนี้
 เด็กที่มีสภาวะเสี่ ยงที่แตกต่างกันมี ความสามารถในการขยับเคลื่ อนไหวแขนขา
เท่ากัน 2 ข้าง แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยพบว่า เด็ กที่มีภาวะ
Birth asphyxia มีสดั ส่วนของการทาไม่ได้ในการขยับเคลื่อนไหวแขน
ขาเท่ากัน 2 ข้าง มากกว่าเด็กที่มีภาวะ Low birthweight
 เด็กที่มีสภาวะเสี่ ยงที่แตกต่างกันมีความสามารถในการสะดุง้ หรือเคลื่ อนไหว
ร่างกายเมื่อได้ยินเสียงพูด แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยพบว่า
เด็กที่มีภาวะ Birth asphyxia มีสดั ส่วนของการทาไม่ได้ในการสะดุง้
หรือเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อได้ยินเสียงพูด มากกว่าเด็กที่มีภาวะ Low
birthweight
 เด็กที่มีสภาวะเสี่ ยงที่แตกต่างกันมีความสามารถในการดูดนมได้ดี
แตกต่างกัน
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยพบว่า เด็กที่มีภาวะ Birth asphyxia มีสดั ส่วน
ของการทาไม่ได้ในการดูดนมได้ดีมากกว่าเด็กที่มีภาวะ Low birthweight
 เด็กที่มีสภาวะเสี่ ยงที่แตกต่างกันมีความสามารถในการมองสบตาขณะตื่ น และ
ส่งเสียงในลาคอ-ทาเสียงอ้อแอ้ ไม่แตกต่างกัน
 เด็กที่มีสภาวะเสี่ ยงที่แตกต่างกันมีผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการระบบประสาท
(Neurodevelopment) : Moro Reflex แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดย
พบว่า เด็กที่มีภาวะ Birth asphyxia มีสดั ส่วนของผลที่ผิดปกติมากกว่าเด็กที่มี
ภาวะ Low birthweight
 เด็กที่มีสภาวะเสี่ ยงที่แตกต่างกันมีผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการระบบประสาท
(Neurodevelopment) : Muscle tone และ Ankle Clonus ไม่แตกต่างกัน
ส่วนที่ 3 สรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล LCDIP3
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ
เปรียบเทียบผลการติดตามพัฒนาเด็กตัง้ แต่ 1 เดือน จนถึง
ปั จจุบนั (เด็กอายุสงู สุด 7 เดือน) ระหว่างเด็กที่มีภาวะ
Low birthweight กับ Birth asphyxia เก็บรวบรวมข้อมูล
ตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2556 คัดเลือกข้อมูลที่สมบูรณ์
มาใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลในส่วนที่ 3 จานวน 2,769
ตัวอย่าง (จากเด็ก 1,525 คน)
ทาการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ Chi-Square Tests ซึ่งสามารถ
สรุปผลการวิเคราะห์ดงั ต่อไปนี้
 ในภาพรวมของเด็กทุกช่วงวัย
พบว่า
Gross Motor และ Fine
Motor แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยพบว่า เด็กที่มีภาวะ Birth
asphyxia มีสดั ส่วนของพัฒนาการที่ล่าช้ามากกว่าเด็ กที่มีภาวะ Low
birthweight
 เด็ กที่มีสภาวะเสี่ ยงที่แตกต่างกันมีพฒ
ั นาการด้าน Receptive language ,
Expression language และ Personal social ไม่แตกต่างกัน
 เด็ กที่มีสภาวะเสี่ ยงที่แตกต่างกันมีพฒ
ั นาการด้าน

ช่วงอายุ 1 เดือน พบว่า เด็กที่มีสภาวะเสี่ยงที่แตกต่างกันมีพฒ
ั นาการทัง้ 5 ด้าน ได้แก่ Gross
Motor , Fine Motor , Receptive language , Expression language และ Personal social ไม่แตกต่าง
กัน

ช่วงอายุ 2 เดือน พบว่า เด็กที่มีสภาวะเสี่ยงที่แตกต่างกันมีพฒ
ั นาการทัง้ 5 ด้าน ได้แก่ Gross
Motor , Fine Motor , Receptive language , Expression language และ Personal social ไม่แตกต่าง
กัน

ช่วงอายุ 3 – 4 เดือน พบว่า เด็กที่มีสภาวะเสี่ยงที่แตกต่างกันมีพฒ
ั นาการทัง้ 5 ด้าน ได้แก่ Gross
Motor , Fine Motor , Receptive language , Expression language และ Personal social ไม่แตกต่าง
กัน

ช่วงอายุ 5 – 6 เดือน เด็กที่มีสภาวะเสี่ยงที่แตกต่างกันมีพฒ
ั นาการด้าน Gross Motor , Fine Motor
และ Personal social แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยพบว่า เด็กที่มีภาวะ Birth
asphyxia มีสดั ส่วนของพัฒนาการที่ล่าช้ามากกว่าเด็ กที่มีภาวะ Low birthweight ทัง้ 3 ด้าน

ช่วงอายุ 7 – 9 เดือน มีขอ้ มูลไม่มากพอจะสร้างข้อสรุป
จบการนาเสนอรายงาน
ขอบคุณครั บ