(Cluster)และ กลุ่ม ธุรกิจ บริการ

Download Report

Transcript (Cluster)และ กลุ่ม ธุรกิจ บริการ

แผนปฏิบตั ิการ
โครงการตามยุทธศาสตร์ส่งเสริมการส่งออกรายกลุ่มสินค้ า (Cluster)และกลุ่มธุรกิจบริการ
กรมส่งเสริมการส่งออก
กระทรวงพาณิชย์
ร่วมกับ
ศูนย์บริการวิชาการและฝึ กอบรม
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
30 มิถุนายน 2551
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
•ยุทธศาสตร์และโครงการส่งเสริมการส่งออกรายกลุ่มสินค้ า (Cluster)
•แผนปฏิบัติการโครงการสนับสนุนยุทธศาสตร์หลัก ระยะยาว 5 ปี
(ต.ค.2552 – ก.ย. 2557)
• แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ าและบริการ
ระยะสั้น 1-3 ปี (ต.ค.2552 – ก.ย. 2555)
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
สารบัญ
หน้ า
 ยุทธศาสตร์และโครงการของกรมส่งเสริมการส่งออก
1
 แผนปฏิบัติการโครงการสนับสนุนยุทธศาสตร์หลัก
8
ระยะยาว 5 ปี (ต.ค.2552 – ก.ย. 2557)
 แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ าและบริการ
ระยะสั้น 1-3 ปี (ต.ค.2552 – ก.ย. 2555)
 กลุ่มสินค้ าอาหาร
15
 กลุ่มสินค้ าเพื่อสุขภาพ
17
 กลุ่มสินค้ าไลฟ์ สไตล์
19
 กลุ่มอุตสาหกรรมหนัก
23
 กลุ่มสินค้ าแฟชั่น
27
 กลุ่มธุรกิจบริการ
32
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
ยุทธศาสตร์และโครงการของกรมส่งเสริมการส่งออก
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
1
ยุทธศาสตร์หลักของกรมส่งเสริมการส่งออก
ยุทธศาสตร์ท่ี 1
การทาการตลาดอย่าง
มีกลยุทธ์
 วางแผนการบริหารจัดการข้ อมูลการตลาด กลยุทธ์ กิจกรรมทางการตลาด การ
ประชาสัมพันธ์ หรือการลงทุนในต่างประเทศเพื่อให้ สามารถตอบสนองความต้ องการของ
ผู้บริโภค และการขยายตัวของการส่งออก
ยุทธศาสตร์ท่ี 2
การสร้ างมูลค่าเพิ่มและ
นวัตกรรมให้ กบั สินค้ าและ
บริการ
 ส่งเสริมการสร้ างมูลค่าเพิ่มและนวัตกรรมให้ กบั สินค้ าหรือธุรกิจบริการโดยการส่งเสริมการ
พัฒนาการออกแบบ การสร้ างตราสินค้ าเพื่อสร้ างเพิ่มมูลค่าทั้งในเชิง คุณภาพ ภาพลักษณ์
มาตรฐาน และราคาให้ กบั ทั้งสินค้ าและธุรกิจบริการ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3
การสร้ างศักยภาพทางด้ าน
การตลาดและการส่งออกสาหรับ
บุคลากรทั้งภายในและภายนอก
 สร้ างศักยภาพทางด้ านการตลาดและการส่งออกสาหรับบุคลากรทั้งภายในและภายนอก
เพื่อที่จะสนับสนุนแผนงานและการปฏิบัติงานของกรมฯ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ยุทธศาสตร์ท่ี 4
การสร้ างความเข้ มแข็งของ
เครือข่ายทั้งภายในและ
ภายนอกประเทศ
 สนับสนุนการสร้ างเครือข่ายและเพิ่มความเข้ มแข็งระหว่างกลุ่มสินค้ าและธุรกิจบริการ
ระหว่างหน่วยงานภายในกรมฯ รวมถึงการสร้ างความเข้ มแข็งในเครือข่ายกับหน่วยงาน
ภายนอกกรมฯ เพื่อเสริมสร้ างศักยภาพในการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงาน/อุตสาหกรรม
สนับสนุนเพื่อการส่งออก
ยุทธศาสตร์ท่ี 5
การบริหารจัดการห่วงโซ่
อุปทาน
 สนับสนุนการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานแบบบูรณาการ ซึ่งเริ่มต้ นจากผู้บ ริโภคขั้นสุดท้าย
จนถึงผู้จัดจาหน่ายขั้นแรกสุดที่ทาหน้ าที่จัดหาสินค้ า หรือบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
2
โครงการสนับสนุนยุทธศาสตร์หลัก(ระยะยาว 5 ปี ) ปี งบประมาณ 2553–2557
Export Growth with Sustainability
Core
Strategies
1. การทาการตลาด
อย่างมีกลยุทธ์
2. การสร้าง
มูลค่าเพิม่ และ
นวัตกรรมให้กบั สินค้า
และบริการ
3. การสร้างศักยภาพ
ทางด้านการตลาดและ
การส่งออกสาหรับ
บุคลากรและภายนอก
4. การสร้างความ
เข้มแข็งของเครือข่ าย
ทั้งภายในและ
ต่างประเทศ
5. การบริหารจัดการ
ห่วงโซ่ อุปทาน
ยุทธศาสตร์ย่อยสาหรับแต่ละกลุ่มสินค้ า
กลุ่มสินค้ า
Project
Brand Planning
and
Implementation
Brand
Promotion
Brand
Evaluation
and
Support
Brand Equity Index
อาหารและผลิตภัณฑ์
เพือ่ สุขภาพ
สินค้าอุตสาหกรรม
หนัก
สินค้ าไลฟ์ สไตล์
Designer Academy
สินค้ าแฟชั่น
ธุรกิจบริการ
ธุรกิจบริการ
ธุรกิจบริการ
Networking
Market Intelligence Unit
Capability Building
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
3
ยุทธศาสตร์หลักและยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ าและธุรกิจบริการ
ยุทธศาสตร์ย่อยสาหรับแต่ละกลุ่มสินค้ า
กลุ่มสินค้ าอาหาร
การทาการตลาดอย่าง
มีกลยุทธ์
การสร้ างมูลค่าเพิ่ม
และนวัตกรรมให้ กบั
สินค้ าและบริการ
กลุ่มสินค้ า
ผลิตภัณฑ์เพื่อ
สุขภาพ
1. การทาตลาดอย่าง
มีกลยุทธ์ในตลาด
ศักยภาพ
2. การทาตลาดอย่าง
มีกลยุทธ์ในสินค้ า
ที่มศี ักยภาพ
กลุ่มอุตสาหกรรมหนัก
กลุ่มสินค้ าไลฟ์ สไตล์
กลุ่มสินค้ าแฟชั่น
กลุ่มธุรกิจบริการ
1. ส่งเสริม
ผู้ประกอบการราย
ย่อยของไทยไปลงทุน
ต่างประเทศ
2. การทาตลาดอย่างมี
กลยุทธ์ของสินค้ า
ศักยภาพ
(เครื่องจักร) ใน
ตลาดศักยภาพ
1. การทาตลาด
อย่างมีกลยุทธ์ใน
ตลาดศักยภาพ
1. การทาตลาด
อย่างมีกลยุทธ์
ในตลาดที่มี
ศักยภาพ
2. การ
ประชาสัมพันธ์
เชิงรุก
1. ผลักดันธุรกิจ
บริการเป็ น
วาระแห่งชาติ
2. ส่งเสริมการ
ลงทุนยัง
ต่างประเทศ
2. ส่งเสริมการสร้ าง
ความแตกต่าง
ของสินค้ า
3. การสร้ าง
มูลค่าเพิ่มแก่
สินค้ า
3. สนับสนุนการ
พัฒนาและ
ปกป้ องต้ นทุน
ทางปัญญา
1. การสร้ างตรา
สินค้ าของสินค้ า
แนวธรรมชาติ
การสร้างศักยภาพทางด้านการตลาดและการส่งออกสาหรับบุคลากรและภายนอก
การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายทั้งภายในและต่างประเทศ
การบริหารจัดการ
ห่วงโซ่อปุ ทาน
3. หาแหล่งวัตถุดบิ ใหม่
เพื่อลดต้ นทุน
3. หาแหล่งวัตถุดบิ
ใหม่เพื่อลด
ต้ นทุน
4. จัดหาวัตถุดบิ ที่
ขาดแคลน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
4
โครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์ย่อย(ระยะสั้น 1-3 ปี ) ปี งบประมาณ 2553–2555
Export Growth with Sustainability
1. การทาการตลาดอย่างมีกลยุทธ์
Core
Strategies


Project



การทาตลาดอย่างมีกลยุทธ์ในตลาด
ศักยภาพ
การทาตลาดอย่างมีกลยุทธ์ในสินค้ า
ที่มีศักยภาพ
การส่งเสริมผู้ประกอบการรายย่อย
ของไทยไปลงทุนต่างประเทศ
การประชาสัมพันธ์เชิงรุก
การผลักดันธุรกิจบริการเป็ นวาระ
แห่งชาติ
2. การสร้างมูลค่าเพิม่ และนวัตกรรม
ให้กบั สินค้าและบริการ




การสร้ างตราสินค้ าของสินค้ าแนว

ธรรมชาติ
การส่งเสริมการสร้ างความแตกต่าง 
ของสินค้ า
การสร้ างมูลค่าเพิ่มแก่สนิ ค้ า
การสนับสนุนการพัฒนาและปกป้ อง
ต้ นทุนทางปัญญา
3. การบริหารจัดการห่วงโซ่ อุปทาน
การหาแหล่งวัตถุดิบใหม่เพื่อลด
ต้ นทุน
การจัดหาวัตถุดิบที่ขาดแคลน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
5
โครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์ย่อยรายกลุ่มสินค้ าและธุรกิจบริการ
กลุ่มสินค้ าอาหาร
การทาตลาดอย่างมี
กลยุทธ์ในตลาด
ศักยภาพ
การทาตลาดอย่างมี
กลยุทธ์ในสินค้ าที่มี
ศักยภาพ
กลุ่มสินค้ า
ผลิตภัณฑ์เพื่อ
สุขภาพ
การสร้ างตราสินค้ าของ
สินค้ าแนวธรรมชาติ
กลุ่มอุตสาหกรรม
หนัก
การส่งเสริมผู้ประกอบ
การรายย่อยของไทยไป
ลงทุนต่างประเทศ
การทาตลาดอย่างมี
กลยุทธ์ของเครื่องจักร
ไทยในตลาดศักยภาพ
การหาแหล่งวัตถุดบิ
ใหม่เพื่อลดต้ นทุน
กลุ่มสินค้ าไลฟ์
สไตล์
การทาตลาดอย่างมี
กลยุทธ์ในตลาด
ศักยภาพ
การส่งเสริมการสร้ าง
ความแตกต่างของ
สินค้ า
การหาแหล่งวัตถุดบิ
ใหม่เพื่อลดต้ นทุน
กลุ่มสินค้ าแฟชั่น
การทาตลาดอย่างมี
กลยุทธ์ในตลาด
ศักยภาพ
การสร้ างมูลค่าเพิ่ม
แก่สนิ ค้ า
การประชาสัมพันธ์
เชิงรุก
กลุ่มธุรกิจบริการ
การผลักดันธุรกิจ
บริการเป็ นวาระ
แห่งชาติ
การส่งเสริมการลงทุน
ยังต่างประเทศ
การสนับสนุนการ
พัฒนาและปกป้ อง
ต้ นทุนทางปัญญา
การจัดหาวัตถุดบิ ที่
ขาดแคลน
Priority Level
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
6
สรุปโครงการสนับสนุนและพัฒนายุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการส่งออก
่ เสริมการสง
่ ออก
โครงการสน ับสนุนยุทธศาสตร์ของกรมสง
ั้ 1-3 ปี
โครงการทีต
่ อบโจทย์ยท
ุ ธศาสตร์ระยะสน
โครงการทีต
่ อบโจทย์ยท
ุ ธศาสตร์ระยะยาว 5 ปี
ิ ค้าอาหาร
กลุม
่ สน
1 Market Intelligence Unit (MIU)
ั ยภาพ
1 การทาตลาดเชงิ รุกในตลาดศก
2 Branding System Revision
ิ ค ้าทีม
ั ยภาพ
่ ศ
ี ก
2 การทาตลาดเชงิ รุกในสน
3 Designer Academy
ิ ค้าผลิตภ ัณฑ์เพือ
กลุม
่ สน
่ สุขภาพ
4 Capability Development
ิ
ิ
การสร
้างตราส
น
ค
้าของส
น
ค
้าแนวธรรมชาติ
1
5 Networking (Product & Services)
กลุม
่ อุตสาหกรรมหน ัก
1 สง่ เสริมผู ้ประกอบการรายย่อยของไทยไปลงทุนต่างประเทศ
ั ยภาพ
่ งจักรไทยในตลาดศก
2 การทาตลาดเชงิ รุกของเครือ
ิ ใหม่เพือ
่ ลดต ้นทุน
3 หาแหล่งวัตถุดบ
ิ ค้าไลฟ์สไตล์
กลุม
่ สน
ั ยภาพ
1 การทาตลาดเชงิ รุกในตลาดศก
ิ ค ้า
2 สง่ เสริมการสร ้างความแตกต่างของสน
ิ ใหม่เพือ
่ ลดต ้นทุน
3 หาแหล่งวัตถุดบ
่ั
ิ ค้าแฟชน
กลุม
่ สน
ั ยภาพ
1 การทาตลาดเชงิ รุกในตลาดศก
ิ ค ้า
่ แก่สน
2 การสร ้างมูลค่าเพิม
ั พันธ์เชงิ รุก
3 การประชาสม
ิ ทีข
่ าดแคลน
4 การจัดหาวัตถุดบ
กลุม
่ ธุรกิจบริการ
1 ผลักดันธุรกิจบริการเป็ นวาระแห่งชาติ
2 สง่ เสริมการลงทุนยังต่างประเทศ (Outward FDI)
ิ ทางปั ญญา
3 สนั บสนุนการพัฒนาและปกป้ องทรัพย์สน
1-3 ปี
5 ปี
ปี งบประมาณ 2553 - 2555
ปี งบประมาณ 2553 - 2557
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
7
แผนปฏิบัติการโครงการสนับสนุนยุทธศาสตร์หลัก
(ระยะยาว 5 ปี ) ปี งบประมาณ 2553 - 2557
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
8
แผนปฏิบัติการโครงการจัดตั้ง Marketing Intelligence Unit
1
Market Intelligence Unit
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
 เพื่อเป็ นแหล่งข้ อมูลที่ผ่านการ
วิเคราะห์ให้ กบั ภาครัฐและ
เอกชน
 เพื่อผลักดันการเติบโตของการ
ส่งออกของประเทศ
1. บริการข้ อมูลเชิงลึกเพื่อการบุกตลาด
ต่างประเทศอย่างมีกลยุทธ์แก่ผ้ ูประกอบการ
ผู้รับผิดชอบ
 ศูนย์สารสนเทศการค้ า
ระหว่างประเทศ (ศสค.)
2. เป็ นศูนย์ Think Tank ของกรมฯ เพื่อเป็ นข้ อมูล
ในการดาเนินงานในปัจจุบัน และการกาหนด
นโยบายในอนาคต (มีการรายงานข้ อมูล
Highlight แก่อธิบดีและหัวหน้ าส่วนรายสอง
สัปดาห์ หรือรายเดือน)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาการตลาดต่างประเทศ
(สพต.)
 สานักบริการส่งออก 1, 2
 สานักส่งเสริมธุรกิจบริการ
 ศูนย์ส่งเสริมการส่งออกในภูมิภาค
 สมาคม-องค์กรเอกชน
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2557 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2557)
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
9
แผนปฏิบัติการโครงการทบทวนระบบการสร้ างแบรนด์
2
Brand Planning
and
Implementation
Brand
Promotion
Brand
Evaluation
and
Support
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
 เพื่อให้ ตราสินค้ าเป็ นเตรื่องมื 1. การเตรียมความพร้ อมของผู้ประกอบการเพื่อ
ส่งเสริมศักยภาพในการสร้ างตราสินค้ าที่ประสบ
ในการเพิ่มมูลค่าอย่างแท้ จริง
ความสาเร็จ
 เพื่อเพื่อนาผลสะท้อนกลับที่
 การประเมินความพร้ อมและศักยภาพในการสร้ าง
ได้ รับมาปรับกลยุทธ์ในการ
ตราสินค้ าของผู้ประกอบการ
ส่งเสริมการสร้ างตราสินค้ าของ
 การให้ คาแนะนาและฝึ กอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพใน
กรมฯ อย่างมีประสิทธิภาพ

ผู้รับผิดชอบ
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์
และเพิ่มมูลค่าสินค้ า (สผพ.)
การสร้ างตราสินค้ าให้ ประสบความสาเร็จ
การประเมินความสาเร็จของตราสินค้ า
2. การผลักดันตราสินค้ าระดับอุตสาหกรรมและ
ระดับประเทศให้ เป็ นที่ร้ จู ักเพื่อส่งเสริมการขยาย
ตลาดของสินค้ าและบริการของไทย (กลยุทธ์
Co-Branding & Brand Extension)
 ตราสินค้ า Industrial Brand และ Thailand Brand
มุ่งเน้ นการสื่อสารด้ านคุณภาพและมาตรฐาน
ทบทวนยุทธศาสตร์การสื่อสาร ช่องทางในการ
สื่อสาร รวมถึงความต่อเนื่องในการสื่อสาร
 สร้ าง National Image ของประเทศที่ชัดเจน เพื่อใช้
เป็ นเครื่องมือในการสื่อสารและประชาสัมพันธ์สนิ ค้ า
และบริการของประเทศ (Export/ Tourism/ FDI)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง




สานักบริการส่งออก 1, 2
สานักส่งเสริมธุรกิจบริการ
สานักประชาสัมพันธ์
สถาบันฝึ กอบรมการค้ า
ระหว่างประเทศ
 สมาคม-องค์กรเอกชน
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2557 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2557)
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
10
แผนปฏิบัติการโครงการเพิ่มบทบาทหน้ าที่ของสานักพัฒนาผลิตภัณฑ์
และเพิ่มมูลค่าในด้ านการออกแบบอย่างเป็ นระบบ (Branding Academy)
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
3
Designer Academy
 เพื่อกระตุ้นกระแสการตื่นตัว
และความกระตือรือร้ นในด้ าน
การออกแบบทั้งสินค้ าและ
บริการแก่คนไทย
 ประชาสัมพันธ์สนิ ค้ าและธุรกิจ
บริการของไทยสู่ตลาด
 เพิ่มมูลค่าการส่งออกโดย
ตอบสนองความต้ องการของ
ตลาด
 ผลิต Designer มืออาชีพ
 ประชาสัมพันธ์บทบาทและ
หน้ าที่ของกรมฯ
 ส่งเสริมให้ เกิดความร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้ง
ภาครัฐ และเอกชน
ผู้ประกอบการ
กิจกรรม
1. การให้ คาปรึกษา
2. การบริการห้ องสมุดด้ านการออกแบบ
3. การฝึ กอบรมตามหลักสูตรที่สอดคล้ องกับ
แนวโน้ มความต้ องการสินค้ าและธุรกิจบริการ
4. การจัดนิทรรศการ / เวทีพบปะระหว่างมืออาชีพ
และมืออาชีพ
5. จัดประกวด Designer Academy Fantasia
6. ประเมินผลการดาเนินการของทุกกิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์
และเพิ่มมูลค่าสินค้ า (สผพ.)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักประชาสัมพันธ์
 กระทรวงอุตสาหกรรม/
สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อม
 สมาคม-องค์กรเอกชน
 สถาบันการศึกษา
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2557 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2557)
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
11
แผนปฏิบตั กิ ารโครงการส่งเสริมศักยภาพหน่วยงาน/บุคลากรภายนอก และภายใน
4
Capability Building
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
 เพื่อให้ ความรู้ทางด้ าน
การตลาดและการส่งออกอย่าง
เป็ นระบบและมีการติดตาม
อย่างต่อเนื่อง
 เพื่อให้ บุคลากรในกรมฯ
สามารถตอบสนองต่อความ
ต้ องการของผู้ประกอบการได้
 ส่งเสริมและสร้ างความเข้ มแข็ง
ให้ กบั หน่วยงานที่ประจาอยู่ใน
ต่างประเทศ (การค้ า
ต่างประเทศ) ให้ มีบทบาทที่
ชัดเจน และเข้ มแข็งมากขึ้น
เพื่อที่จะสามารถสนับสนุนการ
เป็ นตัวกลางในการค้ าระหว่าง
ประเทศได้
กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ
1. การฝึ กอบรมผู้ประกอบการอย่างต่อเนื่องทั้ง
 สถาบันฝึ กอบรมการค้ า
สาหรับผู้ประกอบการรายใหม่และรายเก่าเพื่อ
ระหว่างประเทศ
เสริมสร้ างความรู้ทางด้ านการตลาดอย่างต่อเนื่อง
และต่อยอดที่จะพัฒนาศักยภาพการส่งออก
2. การจัดทา Training Roadmap ซึ่งตอบสนองถึง
 ความต้ องการของหน้ าที่งาน (ภาพรวมและในแต่
ละกลุ่มสินค้ าและธุรกิจบริการ)
 Competency
 เป้ าหมายหลักของกรมฯ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 แนวโน้ ม และองค์ความรู้ใหม่ในเชิงธุรกิจ
 สานักบริการส่งออก 1, 2
 สานักให้ คาปรึกษาธุรกิจ
ระหว่างประเทศ
 สานักพัฒนาการตลาด
ต่างประเทศ/สานักงานส่งเสริม
การค้ าในต่างประเทศ
 ศูนย์ส่งเสริมการส่งออก
ในภูมิภาค
 สมาคม-องค์กรเอกชน
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2557 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2557)
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
12
แผนปฏิบัติการโครงการผลักดันการสร้ าง Network หรือประสานงานระหว่างกลุ่มสินค้ า
และธุรกิจบริการ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
5
กลุ่มสินค้ า
อาหารและผลิตภัณฑ์
เพื่อสุขภาพ
สินค้ าอุตสาหกรรม
หนัก
สินค้ าไลฟ์ สไตล์
ธุรกิจบริการ
ธุรกิจบริการ
ธุรกิจบริการ
สินค้ าแฟชั่น
 เพื่อประสานการระหว่างสินค้ า
ที่มีความเชื่อมโยงกัน
 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ประชาสัมพันธ์สนิ ค้ าต่างๆ
กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ
1. การวิเคราะห์ความต้ องการของการพัฒนาตาม
 สานักพัฒนาการตลาด
ความต้ องการของหน่วยงานและสอดคล้ องกับ
ต่างประเทศ/สานักงานส่งเสริม
วัตถุประสงค์ของกรมฯ
การค้ าในต่างประเทศ
2. การจัดทาแผนการพัฒนาเพื่อตอบสนองความ
ต้ องการของหน่วยงานภายในและภายนอกซึ่งอาจ
มีความแตกต่างกัน
3. การจัดการฝึ กอบรม การศึกษาดูงาน หรือจัดการ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการให้ ท้งั บุคลากรภายในและ
ภายนอก (เช่น ผู้ประกอบการ) เพื่อเสริมสร้ าง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
ความรู้และทักษะทางด้ านการตลาดและการ
 สานักบริการส่งออก 1, 2
ส่งออกให้ ควบคู่กนั ไป
 สานักส่งเสริมธุรกิจบริการ
4. การประเมินผลการพัฒนาเพื่อประเมินความ
 สถาบันฝึ กอบรมการค้ า
จาเป็ นและผลลัพธ์ของหลักสูตรรวมถึงการ
ระหว่างประเทศ
พัฒนาทางด้ านศักยภาพ
 สานักประชาสัมพันธ์
 สมาคม-องค์กรเอกชน
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2557 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2557)
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
13
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ า
และธุรกิจบริการ (ระยะสั้น 1 - 3 ปี )
กลุ่มสินค้ าอาหาร
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2555 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2555)
 ประกอบด้ วย 2 แผนงาน คือ
1) แผนการทาตลาดอย่างมีกลยุทธ์ในตลาดศักยภาพ
2) แผนการทาตลาดอย่างมีกลยุทธ์สาหรับสินค้ าที่มีศักยภาพ
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
14
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าอาหาร
1
แผนการทาตลาด
อย่างมีกลยุทธ์ใน
ตลาดศักยภาพ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
 เพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาดหลักที่
สาคัญที่อาจยังมีความต้ องการ
เพิ่มขึ้นอยู่ เช่น ผักผลไม้
 เพื่อกระจายความเสี่ยงในตลาด
หลักที่มีการส่งออกเป็ น
ส่วนมาก เช่น สหรัฐฯ หรือ
ญี่ปุ่น ที่ประสบปัญหาทาง
เศรษฐกิจ
 เพื่อส่งเสริมการทาตลาดใหม่ท่ี
มีศักยภาพและยังไม่ได้ มีการ
ส่งออก
 เพื่อส่งเสริมความยั่งยืนของ
สินค้ าที่มีศักยภาพ เช่น ไก่ กุ้ง
สินค้ าแปรรูป
กิจกรรม
1. การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลตลาดโดยใช้ ข้อมูล
จาก MIU โดยมุ่งเน้ นตลาดใหม่ท่มี ีศักยภาพเพื่อ
ศึกษาความต้ องการของตลาดคู่ค้า เช่น เรื่อง
พฤติกรรมของผู้บริโภค การใช้ บรรจุภัณฑ์ ที่
เหมาะสมกับวิถีชีวิตและความต้ องการของ
ผู้บริโภค เช่น
 ตลาดประเทศเพื่อนบ้ าน เช่น สิงคโปร์ ฮ่องกง
และจีนเป็ นต้ น
 ตลาดยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย
 ตลาดตะวันออกกลาง เช่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2. การจัดกิจกรรมทางการตลาด เช่น Roadshow
ในรูปแบบที่มีความน่าสนใจมากขึ้น เข่น
“Traditional Thai Food Roadshow” เพื่อสร้ าง
ความตระหนักและกระแสอาหารไทยให้ เป็ นที่ร้ ูจัก
หรือการเข้ าร่วมงาน Trade Fair งาน Exhibition
เป็ นต้ น
3. การผลักดันการประชาสัมพันธ์และโฆษณาสินค้ า
อาหารไทยในการเป็ นผู้นาการผลิต การตลาด
ผลิตภัณฑ์อาหารคุณภาพ โดยการสร้ างโอกาส
จากวิกฤตอาหารโลกในการขยายตลาดหลักและ
ตลาดใหม่
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาการตลาด
ต่างประเทศ/สานักงานส่งเสริม
การค้ าในต่างประเทศ
 ศูนย์สารสนเทศการค้ าระหว่าง
ประเทศ
 สานักประชาสัมพันธ์
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
15
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าอาหาร (ต่อ)
2
แผนการทาตลาด
อย่างมีกลยุทธ์สาหรับ
สินค้าทีม่ ีศกั ยภาพ
หรือแนวโน้ม
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม/แผนงาน
 เพื่อเพิ่มส่วนแบ่งตลาดใน
1. การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลตลาดโดยใช้ ข้อมูล
สินค้ าที่อาจยังมีความต้ องการ
จาก MIU โดยมุ่งเน้ นการศึกษาตลาดที่มี
เพิ่มขึ้นอยู่
ศักยภาพสาหรับสินค้ าฮาลาล และ สินค้ าเกษตร
 เพื่อเพิ่มมูลค่าการส่งออกโดย
อินทรีย์ เช่น ตลาดยุโรป เป็ นต้ น
ใช้ สนิ ค้ าที่เป็ นแนวโน้ มของโลก
2. การสื่อสารและให้ ความรู้แก่ผ้ ูผลิต ตัวกลาง ผู้
เช่น สินค้ าฮาลาล สินค้ าเกษตร
แปรรูป และผู้ส่งออกเกี่ยวกับสินค้ าเกษตร
อินทรีย์ เป็ นต้ น
อินทรีย์และ ฮาลาลเพื่อสร้ างการรับรู้ถึงการ
พัฒนาสินค้ า และความต้ องการในตลาดโลก
3. การจัดกิจกรรมทางการตลาดเพื่อสร้ างความ
ตระหนักและกระแสอาหารไทยให้ เป็ นที่ร้ ูจัก
หรือการเข้ าร่วมงาน Trade Fair งาน
Exhibition เป็ นต้ น
4. การประชาสัมพันธ์และโฆษณาสินค้ าอาหารใน
ตลาดที่มีศักยภาพรวมถึงการเน้ นเรื่องมาตรฐาน
ของสินค้ าอาหารของประเทศไทย เช่น HACCP
GMP หรือ HALAL เป็ นต้ นโดยผ่านช่อง
ทางการสื่อสารต่างๆเช่น สนามบิน รถแท็กซี่
หรือเคเบิลทีวี เป็ นต้ น
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาการตลาด
ต่างประเทศ/สานักงานส่งเสริม
การค้ าในต่างประเทศ
 สถาบันฝึ กอบรมการค้ า
ระหว่างประเทศ
 สานักประชาสัมพันธ์
 ศูนย์ส่งเสริมการส่งออก
ในภูมิภาค
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
16
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ า
และธุรกิจบริการ (ระยะสั้น 1 - 3 ปี )
กลุ่มสินค้ าเพื่อสุขภาพ
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2555 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2555)
 ประกอบด้ วย
- แผนการสร้ างตราสินค้ าของสินค้ าแนวธรรมชาติ
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
17
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าเพื่อสุขภาพ
1
แผนการสร้างตรา
สินค้าของสินค้า
แนวธรรมชาติ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
 เพื่อส่งเสริมสินค้ าแนว
ธรรมชาติท่ผี ลิตขึ้นจากวัตถุดิบ
หรือปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ใน
ประเทศไทยถึง 70%
 เพื่อสนับสนุนการส่งออกสินค้ า
แนวธรรมชาติท่มี ีความ
เกี่ยวข้ องกับอุตสาหกรรมอื่น
เช่น สปา โรงแรม และ
โรงพยาบาล เป็ นต้ น ซึ่ง
สามารถส่งออกหรือพัฒนาไป
พร้ อมกันได้
กิจกรรม
1. การผลักดันการสร้ างตราสินค้ าระดับอุตสาหกรรม
สาหรับสินค้ าแนวธรรมชาติโดยมีความเชื่อมโยงกับ
National Brand Concept ของประเทศไทย
2. การผลักดันการสร้ างตราสินค้ าระดับผู้ประกอบการ
โดยศึกษา และนาตราสินค้ า เช่น “THANN” หรือ
“HARNN” ซึ่งประสบความสาเร็จในการส่งออก
โดยใช้ เป็ นกรณีศึกษาเพื่อให้ ความรู้และส่งเสริม
การสร้ างตราสินค้ าให้ แก่ผ้ ูประกอบการ
3. การเข้ าร่วมงานแสดงสินค้ าในตลาดต่างประเทศ
โดยร่วมกับธุรกิจบริการ เช่น โรงพยาบาล สปา
เป็ นต้ น เพื่อทาให้ สนิ ค้ าเป็ นที่ร้ จู ักและเพื่อเป็ นการ
พบผู้ประกอบการที่เป็ นกลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย เช่น
ประเทศญี่ปุ่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย สหราช
อาณาจักร เป็ นต้ น
4. การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาและการรับรอง
สินค้ า (Scientific Research Paper) เพื่อรับรอง
คุณภาพและมาตรฐานของสินค้ าแนวธรรมชาติ
5. การผลักดันการจดลิขสิทธิ์ทรัพย์สนิ ทางปัญญาโดย
ให้ การสนับสนุนทางด้ านการเงินและลดระยะเวลา
ในการจดลิขสิทธิ์ให้ มีประสิทธิภาพทัดเทียมกับ
ต่างประเทศ เช่น สหรัฐฯ ได้
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่ม
มูลค่าสินค้ า
 สานักประชาสัมพันธ์
 กระทรวงสาธารณสุข
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
18
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ า
และธุรกิจบริการ (ระยะสั้น 1 - 3 ปี )
กลุ่มอุตสาหกรรมหนัก
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2555 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2555)
 ประกอบด้ วย 3 แผนงาน คือ
1) ส่งเสริมผู้ประกอบการรายย่อยของไทยไปลงทุนต่างประเทศ
2) แผนการทาตลาดอย่างมีกลยุทธ์ของเครื่องจักรไทยในตลาดศักยภาพ
3) แผนหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ เพื่อลดต้ นทุน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
19
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มอุตสาหกรรมหนัก
1
ส่งเสริมผูป้ ระกอบ
การรายย่อยของไทย
ไปลงทุนต่างประเทศ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
 เพื่อสนับสนุนให้ ผ้ ูประกอบการ 1. ใช้ขอ้ มูลจาก MIU เพือ่ พิจารณาประเทศ
เป้าหมายในการเข้าไปลงทุน เช่น ประเทศจีน
รายย่อยของไทย ได้ เปรียบใน
เวียดนาม โดยพิจารณาจากปัจจัยต้ นทุนและ
การไปลงทุนในต่างประเทศ ทั้ง
ความต้ องการของตลาด เช่น ค่าแรงงาน ความ
ในเชิงต้ นทุนและการขยาย
ต้ องการสินค้ าในประเทศ โครงสร้ างภาษี ฯลฯ
ตลาด
 เพื่อช่วยลดความเสี่ยงในการไป 2. ใช้ขอ้ มูลจาก MIU ในการวิเคราะห์ความ
เสีย่ ง (Risk Evaluation) ในการไปลงทุนยัง
ลงทุนยังต่างประเทศให้ แก่
ตลาดต่างประเทศ เพื่อเป็ นข้ อมูลประกอบการ
ผู้ประกอบการรายย่อยของไทย
ตัดสินใจแก่ผ้ ูประกอบการรายย่อย เช่น ความ
 เพื่อสนับสนุนให้ ใช้ สทิ ธิ
เสี่ยงของนโยบาย ความพร้ อมของ
ประโยชน์ทางการค้ า
อุตสาหกรรมสนับสนุน
3. ศึกษาความประสงค์และความพร้อมของ
ผูป้ ระกอบการที่มีศักยภาพเพื่อสนับสนุนให้
ไปลงทุนยังต่างประเทศ
4. สนับสนุนเงินทุนในการดาเนินงานขั้นแรกแก่
ผูป้ ระกอบการ เช่น ค่าใช้ จ่ายในการยื่นจด
ทะเบียน จัดทาเอกสาร เป็ นต้ น
5. ประสานงานและร่วมมือกับสานักงานการค้า
ต่างประเทศเพื่อจัดเวทีการเจรจาหาความ
ร่วมมือทางการค้ ากับคู่ค้าในประเทศเป้ าหมาย
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 2
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 ศูนย์สารสนเทศการค้ าระหว่าง




ประเทศ
สานักพัฒนาการตลาด
ต่างประเทศ/สานักงานส่งเสริม
การค้ าในต่างประเทศ
สานักงานส่งเสริมการลงทุน
กรมเจรจาการค้ าระหว่าง
ประเทศ
กระทรวงการคลัง
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
20
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มอุตสาหกรรมหนัก (ต่อ)
2
แผนการทาตลาด
อย่างมีกลยุทธ์ของ
เครือ่ งจักรไทยในตลาด
ศักยภาพ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
 เพื่อเพิ่มมูลค่าและปริมาณการ 1. การเข้าตลาดด้วยวิธีการให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับเครื่องจักร
(Educate ตลาด) เพือ่ ให้เกิดการรับรู ้ (Awareness)
ส่งออกของสินค้ าเครื่องจักร
เครื่องจักรไทย เช่น เข้ าไปให้ คาปรึกษาหรือนาเสนอความ
ไทยที่ผลิตโดยผู้ประกอบการ
ช่วยเหลือแก่ลูกค้ า เช่น การดัดแปลงรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์
รายย่อย
ขาดเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เครื่องเจียระไนโลหะ ฯลฯ
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 2
โดยนาเสนอคาปรึกษาให้ สอดคล้ องกับ function ที่
เครื่องจักรไทยสามารถแก้ ปัญหาให้ ได้ หรือนาเสนอ
เครื่องจักรกลต้ นแบบ
2. การเปลีย่ นบทบาทของสานักงานการค้าต่างประเทศโดย
เบื้องต้ นให้ สคต. ทาหน้ าที่เป็ นทูตเข้ าไปเสนอความ
ช่วยเหลือด้ านเครื่องจักรในระดับกระทรวงในประเทศ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
เป้ าหมาย
 สานักพัฒนาการตลาด
3. การศึกษาข้อมูลตลาดที่มีศกั ยภาพในการส่งออกโดยเน้น
ต่างประเทศ/สานักงาน
ตลาดเพือ่ นบ้าน และประเทศอื่นๆ ที่ยงั ทาการเกษตร
ส่งเสริมการค้ าใน
เช่น
ต่างประเทศ
 กัมพูชา ลาว และพม่า
 ศูนย์สารสนเทศการค้ า
 จีนที่ยังต้ องการใช้ เครื่องจักรเทคโนโลยีไม่สงู มาก
ระหว่างประเทศ
4. การพัฒนาช่องทางการตลาดและการกระจายสินค้า โดย
 กรมทรัพย์สน
ิ ทางปัญญา
อาศัยกิจกรรมที่ได้ดาเนินการอยู่อย่างต่อเนื่อง เช่น
Business Matching การร่วมงานแสดงสินค้ า หรือ
Roadshow
5. การอานวยความสะดวกเพือ่ ลดขั้นตอนการจดสิทธิบตั ร
ทรัพย์สินทางปั ญญาให้ มคี วามสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
รวมถึงการให้ เงินสนับสนุนค่าดาเนินการจดสิทธิบัตรใน
Management Consulting Services (MCCU), Academic
and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
ต่างประเทศ
Chulalongkorn University
21
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มอุตสาหกรรมหนัก (ต่อ)
3
แผนหาแหล่งวัตถุดิบ
ใหม่ เพือ่ ลดต้นทุน
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
 เพื่อแสวงหาแหล่งวัตถุดิบราคา
ถูก ทดแทนแหล่งวัตถุดิบที่มี
ราคาสูงขึ้นหรือผันผวนและมี
แนวโน้ มที่จะหมดไป
1. การใช้ขอ้ มูลจาก MIU ในการระบุแหล่ง
วัตถุดิบราคาถูก คุณภาพดี หรือ Supplier
ที่มีศักยภาพจากประเทศที่มีอุตสาหกรรม
สนับสนุนแข็งแกร่ง เช่น เหล็กจากประเทศ
รัสเซีย
2. การผลักดันให้ผปู ้ ระกอบการสร้าง
เครือข่ายความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อให้
เกิดการรวมกลุ่มในการเจรจาต่อรองหา
ข้ อตกลง ซื้อ-ขาย วัตถุดิบจากต่างประเทศ
เพื่อให้ เกิดผลประโยชน์ท่ชี ่วยให้ กลุ่ม
ผู้ประกอบการพึงพอใจมากที่สดุ
3. การประสานงานและร่วมมือกับสานักงาน
การค้าต่างประเทศให้ จัดเวทีสาหรับการ
เจรจาหาความร่วมมือทางการค้ ากับคู่ค้าใน
ประเทศที่มีราคาวัตถุดิบถูก
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 2
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาการตลาด
ต่างประเทศ/สานักงาน
ส่งเสริมการค้ าใน
ต่างประเทศ
 ศูนย์สารสนเทศการค้ า
ระหว่างประเทศ
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
22
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ า
และธุรกิจบริการ (ระยะสั้น 1 - 3 ปี )
กลุ่มสินค้ าไลฟ์ สไตล์
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2555 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2555)
 ประกอบด้ วย 3 แผนงาน คือ
1) แผนการทาตลาดอย่างมีกลยุทธ์ในตลาดศักยภาพ
2) แผนส่งเสริมการสร้ างความแตกต่างของสินค้ า
3) แผนหาแหล่งวัตถุดิบใหม่เพื่อลดต้ นทุน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
23
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าไลฟ์ สไตล์
1
แผนการทาตลาดอย่างมี
กลยุทธ์ในตลาด
ศักยภาพ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
 เพื่อเพิ่มมูลค่าและปริมาณการ
ส่งออกสินค้ าไลฟ์ สไตล์
 เพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาดหลักที่
สาคัญที่อาจยังมีความต้ องการ
เพิ่มขึ้นอยู่
 เพื่อกระจายความเสี่ยงในตลาด
หลักที่มกี ารส่งออก เช่น สหรัฐฯ
หรือ ญี่ปุ่น ที่ประสบปัญหาทาง
เศรษฐกิจ
 เพื่อส่งเสริมการทาตลาดใหม่ท่มี ี
ศักยภาพและยังไม่ได้ มกี าร
ส่งออก
กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ
1. การผลักดันให้ผูป้ ระกอบการร่วมมือกันนาเสนอสินค้าใน
ลักษณะ Contract Project (Cross-Selling) คือนาเสนอสินค้ า
ไลฟ์ สไตล์ท้งั กลุ่มที่เข้ ากัน เช่น เฟอร์นิเจอร์ เครื่องตกแต่งบ้ าน
เครื่องใช้ บนโต๊ะอาหาร เคหะสิ่งทอ ในการรับงานโครงการ เช่น
ตกแต่งสปา โรงแรม
รีสอร์ท สนามกอล์ฟ สปอร์ตคลับ
2. การเร่งผูป้ ระกอบการให้สร้างตราสินค้า โดยการเจาะตลาด
เบื้ องต้น แนะนาให้ผูป้ ระกอบการใช้กลยุทธ์ Co-Branding
คือ นาเสนอตราสินค้ าที่แตกต่างกัน สาหรับสินค้ าที่ต้องใช้
ประกอบกัน เช่น เฟอร์นิเจอร์โต๊ะตรา “X” กับผ้ าคลุมโต๊ะตรา
“Y”
3. การศึกษาข้อมูลตลาดเชิงลึกที่มีศกั ยภาพในการส่งออกจาก
MIU และสนับสนุนผูป้ ระกอบการให้ขยายการส่งออกไปยัง
ตลาดที่มีศกั ยภาพนอกเหนือจากตลาดหลัก
4. การพัฒนาช่องทางการตลาดและการกระจายสินค้า โดย
อาศัยกิจกรรมที่ได้ดาเนินการอยู่อย่างต่อเนือ่ ง เช่น Business
Matching การร่วมงานแสดงสินค้ า หรือ Roadshow
 สานักบริการส่งออก 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์




และเพิ่มมูลค่าสินค้ า
สานักพัฒนาการตลาด
ต่างประเทศ/สานักงาน
ส่งเสริมการค้ าใน
ต่างประเทศ
สานักประชาสัมพันธ์
ศูนย์สารสนเทศการค้ า
ระหว่างประเทศ
สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
24
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าไลฟ์ สไตล์ (ต่อ)
2
แผนส่งเสริมการ
สร้างความแตกต่าง
ของสินค้า
วัตถุประสงค์
 เพื่อตอบสนองความต้ องการที่
หลากหลายและเฉพาะเจาะจง
ของตลาด
 เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้ าน
ราคามาเป็ นการแข่งขันในเชิง
คุณภาพ
กิจกรรม
1. การพัฒนาและให้ความรูแ้ ก่ผปู ้ ระกอบการเพื่อ
ปรับตัวมาเป็ นการผลิตสินค้ าที่สร้ างความ
แตกต่าง โดยเน้นการผลิตทีส่ ามารถ
ปรับเปลีย่ นรูปแบบตามความต้องการของ
ลูกค้า (Customized Products) และเน้ นผลิต
สินค้ ารูปแบบใหม่ คุณภาพดี และใช้ งานได้ จริง
2. การผลักดันการผลิตบุคลากรโดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ Designer มืออาชีพให้ ตรงตามความต้ องการ
ของผู้ประกอบการ โดยกรมฯ ให้ การฝึ กอบรม
เชิงลึกและจัดหลักสูตรพัฒนาฝี มือ Designer
รวมทั้งเพิ่มบทบาทกรมฯ ในการกระตุ้นกระแส
ความตื่นตัวของคนไทยต่อเรื่องการออกแบบ
สินค้ าและบริการ ผ่านการจัด Reality show
3. การศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการรูปแบบ
สินค้าใหม่ๆ ที่เป็ นที่ต้องการของตลาด
(Market-Driven) จาก MIU
4. การจัดเวทีประกวดและเวทีแสดงสินค้าการ
ออกแบบในระดับประเทศ ทั้งสาหรับระดับมือ
สมัครเล่น และมืออาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่ม
มูลค่าสินค้ า
 ศูนย์สารสนเทศการค้ าระหว่าง
ประเทศ
 สานักงานส่งเสริมการค้ าใน
ต่างประเทศ/สานักพัฒนา
การตลาดต่างประเทศ
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
25
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าไลฟ์ สไตล์ (ต่อ)
3
แผนหาแหล่งวัตถุดบิ
ใหม่ เพื่อลดต้ นทุน
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
 เพื่อแสวงหาแหล่งวัตถุดิบราคา
ถูก ทดแทนแหล่งวัตถุดิบที่มี
ราคาสูงขึ้นหรือผันผวนและมี
แนวโน้ มที่จะหมดไป
 เพื่อใช้ ทดแทนและช่วยลดภาวะ
ราคาไม่ในประเทศสูง เช่น ไม้
ยางพารา
กิจกรรม
1. การใช้ขอ้ มูลจาก MIU ในการระบุแหล่ง
วัตถุดิบราคาถูก คุณภาพดี หรือ Supplier ที่มี
ศักยภาพจากประเทศที่มีอุตสาหกรรม
สนับสนุนแข็งแกร่ง เช่น ไม้ จากแอฟริกาใต้
รัสเซีย ยุโรปตะวันออก เหล็กจากประเทศ
รัสเซีย
2. การผลักดันให้ผปู ้ ระกอบการสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อให้ เกิดการ
รวมกลุ่มในการเจรจาต่อรองหาข้ อตกลง ซื้อขาย วัตถุดิบจากต่างประเทศ เพื่อให้ เกิด
ผลประโยชน์ท่ชี ่วยให้ กลุ่มผู้ประกอบการพึง
พอใจมากที่สดุ
3. การประสานงานและร่วมมือกับสานักงาน
การค้าต่างประเทศให้ จัดเวทีสาหรับการ
เจรจาหาความร่วมมือทางการค้ ากับคู่ค้าใน
ประเทศที่มีราคาวัตถุดิบถูก
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาการตลาด
ต่างประเทศ/สานักงาน
ส่งเสริมการค้ าใน
ต่างประเทศ
 ศูนย์สารสนเทศการค้ า
ระหว่างประเทศ
 กรมเจรจาการค้ าระหว่าง
ประเทศ
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
26
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ า
และธุรกิจบริการ (ระยะสั้น 1 - 3 ปี )
กลุ่มสินค้ าแฟชั่น
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2555 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2555)
 ประกอบด้ วย 4 แผนงาน คือ
1) แผนการทาตลาดอย่างมีกลยุทธ์ในตลาดศักยภาพ
2) แผนการสร้ างมูลค่าเพิ่มแก่สนิ ค้ า
3) แผนประชาสัมพันธ์เชิงรุก
4) แผนจัดหาวัตถุดิบที่ขาดแคลน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
27
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าแฟชั่น
1
แผนการทาตลาด
อย่างมีกลยุทธ์ใน
ตลาดศักยภาพ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
 ลดการพึ่งพิงและลดความเสี่ยง 1. การศึกษาข้ อมูลพฤติกรรมการตลาดเชิงลึก
วิเคราะห์การแข่งขันในตลาด และปัจจัย
จากการส่งออกไปยังตลาดหลัก
ภายในประเทศที่มีอทิ ธิพลต่อการนาเข้ า เพื่อ
และเพื่อขยายสัดส่วนการ
การวางกลยุทธ์ในการขยายตลาด
ส่งออกไปสู่ตลาดศักยภาพ
2. การพัฒนารูปแบบสินค้ าให้ ตรงตามความ
โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศ
ต้ องการของตลาด (Market-driven) หรือ
เศรษฐกิจใหม่ และประเทศที่มี
พิจารณาช่องทางในการสร้ างความแตกต่าง
ของสินค้ าไทยโดยเปรียบเทียบกับคู่แข่งใน
การผลิตสินค้ ากลุ่มแฟชั่นเพื่อ
ตลาดเป้ าหมาย เช่น เน้ นคุณภาพของสินค้ า
การส่งออก
หรือการออกแบบ
3. การส่งเสริมให้ ตราสินค้ าที่มีความพร้ อมทั้ง
ด้ านมาตรฐาน กาลังการผลิต การจัดการและ
การตลาดทาการขยายสาขาในประเทศ
เป้ าหมาย โดยอาจให้ การสนับสนุนด้ านเงินทุน
ในรูปแบบการร่วมลงทุน (Venture capital
fund) เพื่อสร้ างให้ เป็ น Pioneer Team
สาหรับสินค้ าแฟชั่น โดยอาจเริ่มต้ นที่ตลาด
เอเชีย เช่น ฮ่องกง ญี่ปุ่น
4. การผลักดันผู้ประกอบการสินค้ าแฟชั่น
ภายในประเทศ เช่น ประตูนา้ โบ๊เบ๊ ที่มีการ
ออกแบบเป็ นของตนเอง ให้ มีการส่งออกยัง
ตลาดต่างประเทศ (From Passive to Proactive)
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 2
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์
และเพิ่มมูลค่าสินค้ า
 สานักประชาสัมพันธ์
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
28
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าแฟชั่น (ต่อ)
2
แผนการสร้ าง
มูลค่าเพิ่มแก่สนิ ค้ า
วัตถุประสงค์
กิจกรรม
 เพื่อพัฒนาความสามารถในการ
แข่งขันอย่างยั่งยืน และ
ยกระดับการแข่งขัน ซึ่งไทยมี
ความเสียเปรียบในเชิงราคาแก่
ประเทศคู่แข่งขันหลัก เช่น จีน
และเวียดนาม มาเป็ นการ
แข่งขันในเชิงคุณภาพ
 สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม
ในการผลิต และการออกแบบ
สินค้ าที่สามารถตอบสนอง
แนวโน้ มความต้ องการของ
ตลาด
 ให้ ความสาคัญแก่การออกแบบ
และการสร้ างตราสินค้ า เพื่อ
เพิ่มมูลค่า โดยผ่านการพัฒนา
ผู้ประกอบการและสร้ าง
บุคลากรทักษะ
1. การสร้ างความร่วมมือระหว่างกรมฯ ภาค
การศึกษา และผู้ประกอบการ ในการสร้ าง
นวัตกรรมการผลิต และออกแบบที่
ตอบสนองต่อความต้ องการและแนวโน้ ม
ของตลาด โดยเสนอสิ่งจูงใจหรือสิทธิ
พิเศษ เช่น การลดภาษี หรือการให้ เงิน
สนับสนุน แก่ผ้ ูประกอบการ
2. การให้ ความรู้และข้ อมูลเชิงวิเคราะห์ถึง
รูปแบบความต้ องการของตลาดในสินค้ า
แต่ละประเภทแก่ผ้ ูประกอบการ โดย
อาศัย Market Intelligence Unit เพื่อการ
ผลิตสินค้ าที่ตอบโจทย์ความต้ องการของ
ผู้ซ้ ือมากขึ้น (Market- Driven)
3. การให้ การสนับสนุนพื้นฐานในการ
พัฒนาการออกแบบและการสร้ างตรา
สินค้ า โดยผ่านสานักพัฒนาผลิตภัณฑ์ฯ
และ Designer Academy เพื่อสร้ าง
รากฐานในการไต่บันไดสู่การพัฒนาที่
เข้ มแข็งของการออกแบบและการสร้ าง
ตราสินค้ า
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 2
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่ม
มูลค่าสินค้ า
 ศูนย์สารสนเทศการค้ าระหว่าง
ประเทศ
 สานักงานส่งเสริมการค้ าใน
ต่างประเทศ/สานักพัฒนา
การตลาดต่างประเทศ
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
29
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าแฟชั่น (ต่อ)
3
แผนประชาสัมพันธ์
เชิงรุก
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
 สร้ างการรับรู้แก่นานาชาติใน 1. ร่วมมือกับกลุ่มประเทศอาเซียนผู้ผลิตสินค้ าแฟชั่นใน
การสื่อสารการเป็ น Emerging Fashion Hub ของโลก
ศักยภาพของกลุ่มสินค้ าแฟชั่น
โดยผลักดันผ่านกิจกรรม เช่น ASEAN Fashion
ของไทย ทั้งในเชิงความทันสมัย
Week หรือจัดงานแสดงสินค้ า ดังตัวอย่างงาน
คุณภาพ และมาตรฐานที่เป็ นที่
Bangkok Gems Festival เป็ นต้ น
ยอมรับจากนานาชาติ
2. ประชาสัมพันธ์สนิ ค้ าโดยใช้ Cultural Event เป็ น
 รักษาส่วนแบ่งการตลาดใน
กิจกรรมนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับตลาดใหม่ท่ี
ตลาดหลักและสนับสนุนความ
ไทยมิได้ ร่วมค้ าอย่างสม่าเสมอ เช่น ตลาดยุโรป
ตะวันออก แอฟริกา เพื่อสร้ างความรับรู้และซึมซับ
ตระหนักต่อสินค้ าไทยในตลาด
ชื่อเสียงของประเทศไทย ก่อนผลักดันการขยาย
ใหม่เพื่อการเจาะตลาด
สินค้ าเป้ าหมายเข้ าสู่ตลาดใหม่
3. สื่อสารโดยหยิบยกจุดขายในด้ านคุณภาพ เช่น การ
ได้ รับ Environmental Friendly or Safety Certified
เช่น Eco-Label หรือ REACH ของผู้ประกอบการ
ไทยที่มศี ักยภาพ เพื่อเน้ นคุณภาพที่เหนือกว่าคู่แข่ง
และสร้ างให้ เกิดทัศนะคติในเชิงบวกต่อสินค้ าแฟชั่น
ไทยโดยรวม (ขาย image, not product per se)
4. ใช้ ประโยชน์จากสินค้ าที่มตี ราสินค้ าเป็ นที่ร้ จู ักใน
ตลาดนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสื้อผ้ าแฟชั่น เช่น
Boudior/ Sretsis/ Senada และอื่นๆ เป็ น Pioneer
Team ในการทา Roadshow เพื่อประชาสัมพันธ์สนิ ค้ า
แฟชั่นจากประเทศไทย โดยนาสินค้ าเครื่องหนัง
และอัญมณีท่มี แี บรนด์ท่ยี ังไม่เป็ นที่ร้ จู ักร่วม
Roadshow เพื่อการประชาสัมพันธ์
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 2
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักประชาสัมพันธ์
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่ม
มูลค่าสินค้ า
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
30
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มสินค้ าแฟชั่น (ต่อ)
4
แผนจัดหาวัตถุดิบ
ที่ขาดแคลน
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
 หาแหล่งวัตถุดิบเพื่อรองรับการ
ผลิต และทดแทนวัตถุดิบใน
ประเทศที่ขาดแคลน
1. จัดทาข้ อมูลแหล่งวัตถุดิบในตลาดใหม่โดยใช้
ข้ อมูลจาก Market Intelligence Unit
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัตถุดิบในการผลิตอัญ
มณีและเครื่องประดับ และเครื่องหนัง ซึ่ง
ผู้ประกอบการไทยยังคงอาศัยการนาเข้ าเป็ น
สัดส่วนสูง
2. ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ประกอบการเพื่อให้
เกิดอานาจการต่อรองในเชิงราคาในการซื้อ
วัตถุดิบเพื่อการผลิต โดยใช้ การให้ เงิน
สนับสนุนเป็ นกลไกในการกระตุ้นให้ เกิดการ
รวมกลุ่มเพื่อสร้ างอานาจต่อรอง
3. ผลักดันให้ เกิดการจัดตั้ง “ตลาดแลกเปลี่ยน
สินค้ าอัญมณี” (Thailand Gems Exchange
Center) โดยเน้ นที่พลอยสี และเครื่องเงิน
ซึ่งเป็ นวัตถุดิบที่หาได้ ในประเทศและเพื่อน
บ้ าน (ดูตัวอย่าง Shanghai Diamond/ Gold
Exchange ของจีน)
4. ส่งเสริมการสร้ างเครือข่ายระหว่างนักจัดหา
วัตถุดิบของไทยกับ Supplier ในตลาด
วัตถุดิบหลัก โดยผ่านการประสานงานของ
สานักการค้ าต่างประเทศ
ผู้รับผิดชอบ
 สานักบริการส่งออก 2
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 ศูนย์สารสนเทศการค้ าระหว่าง
ประเทศ
 สานักงานส่งเสริมการค้ าใน
ต่างประเทศ/ สานักพัฒนา
การตลาดต่างประเทศ
 ศูนย์ส่งเสริมการส่งออก
ในภูมิภาค
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
31
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาทางยุทธศาสตร์รายกลุ่มสินค้ า
และธุรกิจบริการ (ระยะสั้น 1 - 3 ปี )
ธุรกิจบริการ
 ระยะเวลาดาเนินการ ปี งบประมาณ 2553 – 2555 (ต.ค.2552 – ก.ย. 2555)
 ประกอบด้ วย 3 แผนงาน คือ
1) แผนผลักดันธุรกิจบริการเป็ นวาระแห่งชาติ
2) แผนส่งเสริมการลงทุนไปยังต่างประเทศ
3) แผนสนับสนุนการพัฒนาและการปกป้ องต้ นทุนทางปัญญา
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
32
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์ธุรกิจบริการ
1
แผนผลักดันธุรกิจ
บริการเป็ นวาระแห่งชาติ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
1. การจัดการประชาสัมพันธ์ผ่าน Campaign ระดับประเทศ
 กระตุ้นความตื่นตัวในธุรกิจ
ภายใต้ ช่ อื “THAILAND: SERVICE SUPREMEACY”
บริการ ผ่านการสร้ างกระแส
เพื่อผลักดันการพัฒนาธุรกิจบริการทั้งภายในประเทศ และ
ประชาสัมพันธ์
เพื่อการส่งออก โดยสามารถแบ่งกลุ่มการรณรงค์ออกเป็ น:
 ส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจบริการ  “THAI SPIRITS” สาหรับบริการที่เป็ น Symbolic ของ
ในประเทศให้ เข้ มแข็ง
ไทย ได้ แก่ ธุรกิจร้ านอาหารไทย สปา และการให้ บริการ
 เป็ น Platform ในการพัฒนา
พักฟื้ นหลังการรักษาพยาบาล
ธุรกิจบริการสู่สากล
 “THAI DYNAMISM”: สาหรับบริการที่ตอบสนอง
แนวโน้ ม Globalization ได้ แก่ ธุรกิจคอนเทนต์ ธุรกิจการ
พิมพ์ และธุรกิจการออกแบบและก่อสร้ าง การจัดแสดง
สินค้ า
 “THAI VITALITY”: เป็ นบริการที่จาเป็ นต่อการ
ให้ บริการในประเทศ ในขณะเดียวกันก็ได้ สร้ างโอกาส
สาหรับการให้ บริการแก่ต่างชาติ ได้ แก่ การศึกษานานาชาติ
ธุรกิจการรักษาพยาบาล
2. การจัดโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุนการรณรงค์ใหญ่ โดย
ผลักดันการพัฒนาในธุรกิจบริการในแต่ละกลุ่มในทุกด้ าน
ทั้งการพัฒนาศักยภาพการให้ บริการและสร้ างมูลค่าเพิ่ม
การพัฒนาบุคลากร การให้ การสนับสนุนทางการเงิน เช่น
การสร้ างฐานข้ อมูลเชิงสถิตเิ กี่ยวกับธุรกิจบริการ การจัด
ประกวดคุณภาพการให้ บริการ การขยายการให้ รางวัล
ธุรกิจบริการผ่าน PM Award การให้ เงินสนับสนุนการ
พัฒนาทรัพย์สนิ ทางปัญญา และการจดลิขสิทธิ์ และการให้
สิทธิพิเศษทางภาษี เป็ นต้ น
ผู้รับผิดชอบ
 สานักส่งเสริมธุรกิจบริการ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักประชาสัมพันธ์
 สถาบันฝึ กอบรมการค้ าระหว่าง
ประเทศ
 หน่วยงานราชการ
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
33
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์ธุรกิจบริการ (ต่อ)
2
แผนส่งเสริมการ
ลงทุนไปยัง
ต่างประเทศ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
กิจกรรม
1. การจัดทาข้ อมูลการตลาดเชิงลึก โดยพิจารณาจาก
 เพื่อการขยายตลาดการ
ความต้ องการสินค้ าและบริการในประเทศเป้ าหมาย
ให้ บริการของผู้ประกอบการ
โครงสร้ างภาษี กฎระเบียบ และข้ อจากัดในการ
ธุรกิจบริการของไทย
ดาเนินธุรกิจในแต่ละประเทศ เพื่อให้ คาแนะนาแก่
 สร้ างความเข้ มแข็งของธุรกิจ
ผู้ประกอบการที่มีศักยภาพในการลงทุนยัง
ไทยในตลาดต่างประเทศ
ต่างประเทศ
2. การประสานงานกับสานักงานการค้ าต่างประเทศเพื่อ
จัดเวทีการเจรจาหาความร่วมมือทางการค้ ากับ
ผู้ประกอบการในประเทศเป้ าหมายและสร้ าง
เครือข่ายพันธมิตร Suppliers ในตลาดต่างประเทศ
3. การพัฒนา Mode of Delivery เช่น ระบบแฟรนไชส์
และ Licensing ให้ มีความเข้ มแข็ง โดยสนับสนุนการ
พัฒนาศักยภาพและความพร้ อมของผู้ประกอบการ
ก่อนเข้ าสู่ระบบ รวมถึงอานวยความสะดวกในการ
ดาเนินการขั้นต้ นในตลาดต่างประเทศ เช่น การหา
พันธมิตรร่วมลงทุน การช่วยเหลือประสานงานใน
การจดทะเบียนดาเนินธุรกิจ และการปฏิบัติตาม
กฎระเบียบต่างๆ ที่กาหนดไว้ ในตลาดเป้ าหมาย
4. การจัดให้ มีกลไกประกันความเสี่ยงโดยความ
คุ้มครองของรัฐบาล เช่น Risk Mitigation
Marketing Tool และ Financial Aid แก่
ผู้ประกอบการรายย่อยในการบุกตลาดต่างประเทศ
ผู้รับผิดชอบ
 สานักส่งเสริมธุรกิจบริการ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักงานส่งเสริมการค้ าใน
ต่างประเทศ/ สานักพัฒนาการ
ตลาดต่างประเทศ
 ศูนย์สารสนเทศการค้ าระหว่าง
ประเทศ
 สถาบันการเงิน
 สมาคม-องค์กรเอกชน
 สานักงานส่งเสริมการลงทุน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
34
แผนปฏิบัติการโครงการพัฒนายุทธศาสตร์ธุรกิจบริการ (ต่อ)
3
แผนสนับสนุนการ
พัฒนาและการปกป้ อง
ต้ นทุนทางปัญญา
กิจกรรม
วัตถุประสงค์/เป้ าหมาย
 เพื่อกระตุ้นการสร้ างวัตถุดบิ 1.
ทางปัญญา ซึ่งเป็ นต้ นทุนที่
สาคัญของธุรกิจบริการหลาย
ประเภท และเป็ นช่องทางใน
การสร้ างมูลค่าเพิ่มของธุรกิจ
บริการไทย
 ปกป้ องทรัพย์สนิ ทางปัญญา 2.
ของไทย เพื่อการสร้ างมูลค่าใน
ระยะยาว
การสร้ างเวทีและกิจกรรมพบปะเพื่อแลกเปลี่ยน
ความรู้ระหว่างนักเขียน นักแปล ครีเอทีฟ และ
ผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์อย่างสม่าเสมอ เพื่อสร้ าง
ความตื่นตัวให้ แก่วงการวิชาชีพ ผ่านกิจกรรม
ต่างๆ เช่น การจัดสัมมนาระหว่างประเทศ การ
ฝึ กอบรม การจัดประกวด เป็ นต้ น
การให้ ความรู้และสร้ างความตระหนักถึง
ความสาคัญในการจดสิทธิบัตรเพื่อเป็ นเจ้ าของ
ทรัพย์สนิ ทางปัญญา ผ่านช่องทางการสื่อสาร
ต่างๆ ที่กรมฯ จัดให้ มีอยู่แล้ วในปัจจุบัน รวมถึง
หน่วยงานเครือข่ายของกระทรวงพาณิชย์ เช่น
สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์ให้ บริการข้ อมูลการ
ส่งออก การฝึ กอบรมต่างๆ ที่จัดโดยกรมฯ และ
สานักงานพาณิชย์จังหวัด
3. การผลักดันการดาเนินการจดสิทธิบัตรทรัพย์สนิ
ทางปัญญาของไทยให้ มีความสะดวกและรวดเร็ว
ยิ่งขึ้น รวมถึงการให้ เงินสนับสนุนค่าดาเนินการ
ในการจดสิทธิบัตรในต่างประเทศ
ผู้รับผิดชอบ
 สานักส่งเสริมธุรกิจบริการ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
 สานักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่ม
มูลค่าสินค้ า
 กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา
 สถาบันการศึกษา
 สมาคม-องค์กรเอกชน
Management Consulting Services (MCCU), Academic and Training Center, Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
35