4.3 วิธีการจัดการน้ำเสียที่มีชุมชนเป็นส่วนร่วม

Download Report

Transcript 4.3 วิธีการจัดการน้ำเสียที่มีชุมชนเป็นส่วนร่วม

ประธานกลุ่ม : นายชัยศรี ธาราสวัสด์ ิ พิพฒ
ั น์
เลขากลุ่ม : นางสาวอรุณี สุรตั น์ พิพิธ
โครงการวิจยั
เรื่อง การจัดการน้าเสียเชิงบูรณาการในตลาดน้าอโยธยา
โครงการวิจยั
เรื่อง การจัดการน้าเสียเชิงบูรณาการในตลาดน้าอโยธยา
หลักการ/ความสาคัญของการจัดทาโครงการวิจยั
เนื่องจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็ นแหล่งท่องเทีย่ วทีจ่ ดั อยู่ในอันดับ ที่ 2 ของประเทศ
โดยลักษณะทางภูมศิ าสตร์มแี ม่น้ า 3 สายไหลผ่าน ซึง่ เชื่อมกับเครือข่ายคลองธรรมชาติและคลอง
ขุด ซึ่งเป็ นแหล่งสัญจรและมีการพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ปจั จุบนั ตลาดน้ าเป็ นทางเลือกหนึ่งที่
ผูป้ ระกอบการสร้างขึ้นเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาจับจ่ายใช้สอย เพื่อเป็ นการสร้างรายได้
ให้กบั ชุมชน จะเห็นได้ว่าปจั จุบนั มีการเพิม่ จานวนของตลาดน้ ามากขึ้น จากสาเหตุของการเพิม่
จานวนตลาดน้ าดังกล่าวทาให้มกี จิ กรรมทีก่ ่อให้เกิดน้ าเสียในพืน้ ทีอ่ ย่างหลีกเลีย่ งได้ยาก เครือข่าย
นักวิจยั สิง่ แวดล้อมเล็งเห็นว่า การจัดการน้ าเสียทีเ่ ป็ นระบบและเป็ นแบบบูรณาการทีช่ ุมชนมีส่วน
ร่วมจึงต้องมีระบบการจัดการน้ าเสียโดยให้ชุมชนมีสว่ นร่วมจึงเป็ นสิง่ จาเป็ นอย่างยิง่ เพื่อรองรับการ
พัฒนาระบบการท่องเทีย่ วของจังหวัดและทาให้เกิดแนวทางลดผลกระทบด้านผลพิษทางหนึ่ งใน
ปจั จุบนั จึงต้องมีระบบการจัดการน้ าเสียโดยให้ชุมชนมีสว่ นร่วม
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพือ่ สารวจและศึกษาคุณภาพน้ าบริเวณตลาดน้ าอโยธยา
2.2 เพือ่ หาวิธกี ารทีเ่ หมาะสมในการจัดการน้ าเสียทีช่ ุมชนมีสว่ นร่วม
3. ขอบเขตการศึกษาวิจยั (ประเด็นการศึกษา ,พืน้ ที่ศึกษา,กลุ่มตัวอย่าง)
3.1 พืน้ ทีก่ ารศึกษา คือ ตลาดน้ าอโยธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
3.2 ประเด็นการศึกษาคุณภาพน้ า คือ ทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีวภาพของแหล่งน้ าก่อน
และหลังการศึกษา
3.3 กลุม่ ตัวอย่าง คือ ผูป้ ระกอบการ นักท่องเทีย่ ว และชุมชนข้างเคียงบริเวณตลาดน้ า
3.4 วิธกี ารจัดการน้ าเสีย
- วิธกี ารบาบัดน้ าเสีย
- การหาแนวทางให้ชุมชนมีสว่ นร่วม
4. วิธีดาเนินการและสถานที่ทาการวิจยั หรือเก็บข้อมูล
4.1 สารวจแหล่งที่มาและปริมาณของน้าเสีย
4.1.1 สร้างแบบสารวจ / แบบสอบถาม
4.1.2 ดาเนินการสารวจกิจกรรมทีก่ ่อให้เกิดน้ าเสีย, ปริมาณน้ าเสีย, พฤติกรรมการใช้น้ า,
ความรูข้ องชาวบ้านในชุมชนเกีย่ วกับน้ าเสีย
4.1.3 ประมวลผลทางสถิติ
4.2 วิเคราะห์คณ
ุ ภาพน้า (ก่อนและหลัง)
4.2.1 เก็บตัวอย่างน้ าบริเวณก่อนถึงตลาดน้ า ในบริเวณตลาดน้ าและหลังออกจากตลาดน้ า
4.2.2 วิเคราะห์คุณภาพน้ าทางกายภาพ เช่น อัตราการไหล, สี, กลิน่ , ความขุน่ , อุณหภูม,ิ
TPS, SS, Conductivity
4.2.3 วิเคราะห์คุณภาพน้ าทางเคมี เช่น pH, DO, BOD, Nitrate, Phosphate
4.2.4 วิเคราะห์คุณภาพน้ าทางชีวภาพ เช่น TPC, Coliform, Fecal coliform, Plankton,
(phytoplankton , zooplankton) และ benthos
4.3 วิธีการจัดการน้าเสียที่มีชุมชนเป็ นส่วนร่วม
4.3.1 ประชุมผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้อง เพือ่ ค้นหาปญั หาและความคิดเห็นของชุมชนเกีย่ วกับการ
จัดการน้ าเสีย
4.3.2 จัดอบรมให้ความรูแ้ ละสร้างการมีสว่ นร่วมของชุมชน
4.3.3 สาธิตวิธกี ารบาบัดน้ าเสียตัวอย่างโดยใช้ระบบบาบัดน้ าเสียอย่างง่าย
4.3.4 ผูป้ ระกอบการและชุมชนข้างเคียงทีเ่ กีย่ วข้องร่วมกันสร้างระบบบาบัดน้ าเสีย/ ปรับปรุง
จัดทาระบบบาบัดน้ าเสียขนาดเล็กให้ชุมชน
4.3.5 จัดประชุมประเมินการมีสว่ นร่วมของชุมชนแบบเวทีชาวบ้าน (ไม่เกิน 50 คน)
แผนการดาเนินงาน
ปี 2553
กิ จกรรม/แผนงาน
เม.ย. พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ปี
2554
ผูร้ บั ผิดชอบ
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.
กิจกรรมที่ 1 สร้างแบบสารวจ/
แบบสอบถาม (1 เดือน)
รศ.ขนิษฐา เจริญลาภ
ผศ.ดร.ปทุมทิพย์ ต้นทับทิมทอง
นางสาวจิตตานันท์ รังสิมนั ตุชาติ
กิจกรรมที่ 2 ดาเนินการสารวจ/
วิเคราะห์ผลสารวจ (1 เดือน)
รศ.ขนิษฐา เจริญลาภ
ผศ.ดร.ปทุมทิพย์ ต้นทับทิมทอง
นางสาวจิตตานันท์ รังสิมนั ตุชาติ
นางสาวอรุณี สุรตั น์พพิ ธิ
ผศ.วรรณดี แสงดี
นางสาวดารานัย รบเมือง
ผศ.องอาจ พฤกษ์ประมูล
ดร.จุฑาธิป อยู่เย็น
กิจกรรมที่ 3 เก็บตัวอย่างและ
วิเคราะห์คุณภาพน้า
- ก่อนบาบัด
- หลังบาบัด 1 เดือน
กิจกรรมที่ 4 จัดประชุมชีแ้ จงและ
อบรมให้กบั ชาวบ้าน
กิจกรรมที่ 5 สาธิตและติดตามการ
บาบัดน้าเสียของชุมชนตลาดน้า
นายชัยศรี ธาราสวัสดิ ์พิพฒ
ั น์
นายสุชาติ วิเชียรสรรค์
ร.ท.สมรรถ ปรีกลาง
นายทวีป ณ ระนอง
ผศ.องอาจ พฤกษ์ประมูล
นางเจนจิรา รุธริ โก
นายชัยศรี ธาราสวัสดิ ์พิพฒ
ั น์
นายสุชาติ วิเชียรสรรค์
ร.ท.สมรรถ ปรีกลาง
นายทวีป ณ ระนอง
กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีชาวบ้าน
นายชัยศรี ธาราสวัสดิ ์พิพฒ
ั น์
นายสุชาติ วิเชียรสรรค์
ร.ท.สมรรถ ปรีกลาง
นายทวีป ณ ระนอง
กิจกรรมที่ 7 สรุปผลและเขียนรายงาน
สมาชิกเครือข่ายฯ
กลุ่มการจัดการน้าเสีย
งบ
ประมาณ
6. ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั
6.1 เป็ นตลาดน้ าต้นแบบด้านการจัดการน้ าเสีย
6.2 ทาให้เกิดการพัฒนาการท่องเทีย่ วตลาดน้ าอย่างยังยื
่ น
6.3 ชุมชนได้รบั ความรู้ มีสว่ นร่วมและพึง่ พาตนเองได้ในการจัดการน้ าเสีย
6.4 สามารถลดปญั หาของผลกระทบทีเ่ กิดจากมลพิษทางน้ า
6.5 เกิดการบูรณาการงานวิจยั ของเครือข่ายนักวิจยั สิง่ แวดล้อม
ชื่อ-นามสกุล
สถานที่ทางาน
เบอร์โทร
E-mail
1. รศ.ขนิ ษฐา เจริญลาภ
ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
089-1425195
[email protected]
2. ผศ.ดร.ปทุมทิ พย์ ต้นทับทิ มทอง
ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
086-8841970
Pathumthip.t@ rmutk.ac.th
3. นางสาวอรุณี สุรตั น์พิพิธ
ม.เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
084-0457555
[email protected]
4. นายชัยศรี ธาราสวัสดิ์ พิพฒ
ั น์
ม.ราชภัฏสวนสุนันทา
081-5670261
[email protected]
5. นายสุชาติ วิ เชียรสรรค์
ข้าราชการบานาญ กรมประมง
081-8411408, 080-5589287
[email protected]
6. ผศ.วรรณดี แสงดี
ม.เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
089-6328690
[email protected]
7. ร.ท.สมรรถ ปรีกลาง
สถาบันวิ จยั วิ ทยาศาสตร์การแพทย์
084-6371773
[email protected]
8. นายทวีป ณ ระนอง
สานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 11
044-243480
[email protected]
9. นายยุทธการ ขันเงิ น
โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช
087-8771187
[email protected]
10. นางสาวดารานัย รบเมือง
ม.เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
084-1037869
[email protected]
[email protected]
11. นางสาวจิ ตตานันท์ รังสิ มนั ตุชาติ
บ.การ์เด้น เซ็นเตอร์ จากัด
086-6658667
[email protected]
12. ผศ.ดร.เบญจภรณ์ ประภักดี
ม.มหิ ดล
081-8285876
[email protected]
13. ผศ.องอาจ พฤกษประมูล
ม.เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
081-6855910
14. นางเจนจิ รา รุธิรโก
วิ ทยาลัยเทคนิ คนครราชสีมา
081-5996400
[email protected]
14. นางสาวจุฑาธิ ป อยู่เย็น
ศูนย์วิจยั และฝึ กอบรมด้านสิ่ งแวดล้อม
087-5913910
[email protected]
15. นางศรินธร สุกสอาด
ศูนย์วิจยั และฝึ กอบรมด้านสิ่ งแวดล้อม
085-1809950
[email protected]
16. นางสาวกมลพร จุดจองสิ น
ศูนย์วิจยั และฝึ กอบรมด้านสิ่ งแวดล้อม
087-2569569
[email protected]