สารละลายโซเดียมกับไตและอาหาร รพ สาขา

Download Report

Transcript สารละลายโซเดียมกับไตและอาหาร รพ สาขา

อาจารย์ศศิวรรณ ทัศนเอี่ยม
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
1
โซเดียม (Sodium, Na)
• โซเดียม (Sodium) เป็ นไอออนประจุบวกที่สาคัญในของเหลวนอกเซลล์
(Extracellular fluid)
ค่าปกติในผูใ้ หญ่และเด็กเท่ากัน คือ 135-145 mEq/L
• การรักษาสมดุลของความเข้มข้นของโซเดียมถูกควบคุมโดยการซึมผ่านของน้าเข้าออก โดยอาศัยการทางานของระบบฮอร์โมน
– Renin-Angiotensin-Aldosterone ซึง่ ถูกสร้างจาก ไต, ปอด, ต่อมหมวกไต ตามลาดับ
เป็ นฮอร์โมนทีท่ าหน้าทีร่ ว่ มกับ ADH เพือ่ ควบคุมน้าในร่างกาย Aldosterone ถูกหลังจาก
่
Adrenal gland
– Antidiuretic hormone (ADH, vasopressin, arginine vasopressin) ถูกสร้างจากต่อม
Posterior pituitary gland ซึง่ ADH จะทาหน้าทีใ่ ห้ไตกักเก็บน้าไว้ โดยมีตวั กระตุน้ ทีส่ าคัญ
คือภาวะ volume depletion แต่ในภาวะอื่นๆ ก็สามารถกระตุน้ การหลัง่ ADH ได้
2
3
เกลือ คืออะไร?
• เกลือสาหรับคนทัวๆ
่ ไป หมายถึง เกล็ดผลึกสีขาวใช้สาหรับ
ปรุงแต่งรสชาติอาหาร หรือใช้ในการถนอมอาหาร
• เกลือสาหรับนักเคมี หมายถึง ส่วนผสมทางเคมีทเ่ี กิดจาก
โซเดียม (40%)
4
เกลือ(โซเดียม)
มีประโยชน์ ต่อร่ างกายอย่ างไร?
ร่างกายของเราต้องการโซเดียม เพื่อช่วย
•
•
•
•
ปรับสมดุลของเหลวและเกลือแร่ในร่างกาย
ช่วยให้การส่งกระแสไฟฟ้าไปตามเส้นประสาทให้ทางานได้เป็ นปกติ
ช่วยการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ
ควบคุมการเต้นของหัวใจ
ปริมาณเกลือเพียงเล็กน้ อยก็เพียงพอสาหรับการทางานของระบบ
ร่างกาย
5
ผลเสียของการกินเค็ม
1. การกินเค็มส่งเสริมให้ความดันโลหิตสูงขึน้
2. การกินเค็มมีผลทา ให้ผนังกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายหนาขึน้ โดยอาจไม่สมั พันธ์กบั การเพิม่ ขึน้
ของความดันโลหิต หรือกล่าวคือ คนทีก่ นิ เค็มแม้จะไม่ทาให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง แต่กอ็ าจทาให้
เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจหนาได้ ซึง่ ก็ถอื เป็ นปจั จัยเสีย่ งอย่างหนี่งต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
3. การกินเค็มมีผลทา ให้อตั ราการกรองของเสียผ่านไตเพือ่ ขับถ่ายออกทางปสั สาวะมากขึน้ หรือ
กล่าวง่ายๆ คือ ทา ให้ไตต้องทา งานมากขึน้ นันเองนอกจากนี
่
้ ยังมีผลทาให้อตั ราการขับโปรตีน
ชนิดหนี่งในร่างกายทีม่ ชี อ่ื ว่า Albumin ออกทางปสั สาวะมากขึน้ ซึง่ การตรวจพบปริมาณ Albumin ที่
มากขึน้ ในปสั สาวะถือเป็ นตัวบ่งชีถ้ งึ ภาวะไตเสือ่ มในระยะแรก ทัง้ จากโรคความดันโลหิตสูงและ
โรคเบาหวาน ผลกระทบต่อการทางานของไตดังกล่าวนี้เกิดขึน้ ได้แม้ความดันโลหิตจะไม่ได้สงู ขึน้
เช่นเดียวกับการเปลีย่ นแปลงทีห่ วั ใจ
6
7
อัตราการกรองของ Plasma ออกจาก Glomeruli เรียกว่า
Glomerular filtration rate (GFR)
เป็ นจานวนของ Plasma หรือ fluid ที่กรองผ่าน glomeruli ของ
ไตทัง้ สองข้าง ต่อเวลา 1 นาที มีหน่ วยเป็ น ml/min
ค่าเฉลี่ยปกติ 125 ml/min หรือ 180 ลิตร/วัน
8
โดยค่าปกติอยู่ที่ประมาณ 100 มล.ต่อนาที (ในกรณี ไตทางาน 100%)
ดังนัน้ ค่าที่ได้จากคานวณจะใกล้เคียงกับเปอร์เซ็นต์การทางานของไต
•
•
•
•
•
1. ไตผิดปกติ* และ GFR ปกติหรือเพิม่ ขึน้
> 90 (ml/min)
2. ไตผิดปกติ* และ GFR ลดลงเล็กน้อย
60 – 89 (ml/min)
3. GFR ลดลงปานกลาง
30 – 59 (ml/min)
4. GFR ลดลงมาก
15 – 29 (ml/min)
5. ไตวายระยะสุดท้าย
< 15 (ml/min) (ต้องรับการบาบัดทดแทนไต)
ข้ อมูลจาก : dms.moph.go.th และ si.mahidol.ac.th
9
การไหลเวียนของเลือดที่ไต
10
11
การไหลเวียนของเลือดที่ไต (ต่อ)
• เลือดมาเลี้ยงไตทางเส้นเลือดที่ชื่อว่า renal arteries ซึ่งเป็ นแขนง
ของ abdominal aorta ผ่านเข้าไปที่ renal hilus
• และแตกแขนงออกไปเป็ น afferent arterioles และเป็ นกลุ่มเส้น
เลือดฝอย glomerular capillaries ที่อยู่บริเวณ Bowman’ capsule
• จากนัน้ ออกไปตามเส้นเลือด efferent arteriole ซึ่งจะแตกแขนง
อีกครัง้ เป็ น peritubular capillaries ก่อนเข้าสู่เส้นเลือดดา renal
vein และ posterior vena cava เข้าสู่หวั ใจต่อไป
12
13
กลไกการสร้างน้าปัสสาวะ
• หน้ าที่หลัก คือ การกรองของเสียที่ร่างกายไม่
ต้องการออกมาเป็ นปัสสาวะ
• ไตผลิตปัสสาวะได้โดยผ่านกระบวนการพืน้ ฐานที่
สาคัญ 3 ขัน้ ตอน คือ
–Glomerular filtration
–Tubular secretion
–Tubular reabsorption
14
การกรอง (filtration)
• เป็ นขัน้ แรกในการทาให้เกิดปัสสาวะ
• เป็ นการกรองเลือดที่ glomerulus
ผ่าน glomerular membrane ลงไปยัง
Bowman's capsule
• โดยกรองเอาทุกอย่างที่มีอยู่ใน
พลาสมายกเว้นโปรตีนและเม็ดเลือด
(ดังนัน้ จะไม่พบเม็ดเลือดหรือโปรตีน
ในคนปกติ)
• จากนัน้ ของเหลว (Glomerular filtrate/
Capsular urine) ก็จะไหลผ่านไปยังท่อ
ไตส่วนต่างๆ
15
16
การดูดซึมกลับ (Reabsorption)
• ที่ Proximal convoluted tubule Na+ และน้าจะถูกดูดซึม
กลับ (iso)
• ที่ descending loop of Henle ดูดซึมน้ากลับมากแต่อิออน
และยูเรียดูดซึมกลับน้ อยจึงทาให้ปัสสาวะบริเวณนี้ มีความ
เข้มข้นมาก (hyper)
• ที่ aescending loop of Henle เซล์เยื่อบุจะไม่ยอมให้น้าผ่าน
ได้ แต่ยอมให้อิออนและยูเรียผ่านได้มากจึงทาให้ปัสสาวะ
เข้มข้นลดลง (iso-hypo)
17
การดูดซึมกลับ (Reabsorption) ต่อ
• ที่ distal convoluted tubule มีการดูดซึม Na+ , Cl- และ
HCO3- แต่ขบั K+, H+, NH4+ สู่ปัสสาวะ
• Collecting tubule มีการดูดซึม Na+ แต่ขบั K+ และ Clออกสู่ปัสสาวะ
สาหรับการยอมให้ดดู น้ากลับขึน้ อยู่กบั ฮอร์โมน ADH
18
การขับออก (Secretion)
• คือการขนถ่ายสารจากเลือด (peritubular capillaries) เข้าไปยัง
ท่อไต
19
การควบคุมปริมาณของเหลวและองค์ประกอบแร่ธาตุ
• ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลของน้าในร่างกาย = การเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิ ความเข้มข้นของแร่ธาตุ การกินอาหาร การดื่มน้า
และการเสียเลือด
• การหลังฮอร์
่ โมน ADH
- มีผลทาให้มีการดูดน้ากลับที่ collecting duct มากขึน้
• การหลังฮอร์
่ โมน Aldosterone
- มีผลทาให้มีการดูด Na+ กลับj distal convolute tubule มากขึน้
20
Antidiuretic hormone (ADH) หรือ vasopressin
• เป็ นโปรตีนฮอร์โมน คัดหลังจากต่
่
อมใต้สมองส่วนหลัง
• หน้ าที่คือรักษาระดับน้าภายในร่างกายเอาไว้
• กระตุ้นการบีบตัวของเส้นเลือดแดงทาให้ความดันโลหิต
สูงขึน้
• หากดื่มน้ามากจะไม่มีการหลัง่ ADH
21
อัลโดสเตอโรน (aldosterone)
– เป็ นสเตอรอยด์ฮอร์โมนสร้างจากต่อมหมวกไตชัน้ นอก
– ทาหน้ าที่ควบคุมการดูดกลับของ Na+ ที่หลอดไต
– การหลังฮอร์
่ โมน aldosterone เกิดจากสภาวะที่เลือดมี
ความดันตา่ เนื่ องจากการขาดน้า หรือการมี Na+ ลดลง
ในเลือด
22
Renin-angiotensin system
• ความดันใน affarent arteriole ลดลง และปริมาณของ Na+
ที่บริเวณตอนต้นของ distal convolute tubule ลดลง มีผล
ไปกระตุ้นกลุ่มเซลล์ juxtaglomerular apparatus ที่อยู่
รอบๆ affarent arteriole ให้หลังเอนไซม์
่
Renin
• เอนไซม์ Renin จะเปลี่ยน angiotensinogen ให้เป็ น
angiotensin I และ angiotensin II ซึ่งจะมีผลทาให้เส้น
เลือดหดตัว และความดันในเลือดเพิ่มขึน้
23
เส้นเลือดหดตัว
เพิ่มการดูดซึม Na+
และ น้า ที่ DCT
และ CT
24
กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่ างไร?
การกินเกลือมากเกินไปทาให้
–เกิดความดันโลหิตสูง
เมือ่ ร่างกายของคนเราได้รบั เกลือปริมาณมาก ปริมาณ
โซเดียมทีม่ ากเกินพอดีจะทา ให้รา่ งกายเก็บรักษาน้า
มากขึน้ ทาให้ปริมาณน้าในหลอดเลือดเพิม่ ขึน้ ส่งผล
ให้เกิดภาวะความดันสูงในหลอดเลือด
25
กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่างไร?
การกินเกลือมากเกินไปทาให้
–บวมน ้า ปริมาณโซเดียมที่มากเกินความ
ต้ องการของร่างกายจะทาให้ ปริมาณน ้าของ
เนื ้อเยื่อภายในและภายนอกเพิ่มขึ ้น ทาให้
เกิดอาการบวม
26
กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่ างไร?
• เมื่อเกิดความดันโลหิตสูง ทาให้ หวั ใจทางานหนักขึ ้น(เต้ นเร็วขึ ้น)
• ปริมาณของเหลวในร่างกายมากเกินไปทาให้ เกิดอาการเส้ นเลือดคัง่ และ
หัวใจวายได้
27
กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่ างไร?
การกินเกลือมากเกินไปทาให้
•อัมพาต อัมพฤกษ์
เมือ่ เกิดความดันโลหิตสูงนานๆ ทาให้เพิม่ โอกาสที่
หลอดเลือดสมองจะตีบและแตกได้
28
กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่ างไร?
• ไตทางานเกี่ยวข้ องกับความเค็มโดยตรง
• ไตจะเป็ นอวัยวะสาหรับปรับโซเดียมในร่างกายให้ สมดุล ถ้ า
โซเดียมในร่างกายมากเกินไป ไตก็จขับออกทางปั สสาวะ
แต่ถ้าน้ อยเกินไป ไตก็จะดูดโซเดียมกลับไปสูก่ ระแสเลือดได้
• การกินเกลือมากเกินไปทาให้
–ไตต้ องทางานหนักมากขึ ้นจนเป็ น
โรคไตได้
29
สาเหตุของโรคไตเรือ้ รัง
Thailand Renal Replacement Therapy Registry 2004 Report
30
สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่ างไร?
การกินเกลือมากเกินไปทาให้
• กระดูกพรุ น ผลการวิจยั ระบุวา่ การบริ โภคเกลือมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับ
ความแข็งแรงของกระดูก เพราะทาให้ เกิดการสูญเสียแคลเซียม ผล
คือกระดูกเสื่อม
• มะเร็งกระเพาะอาหาร การบริ โภคเกลือมาก ๆ จะไปทาลายผนัง
กระเพาะอาหาร จึงเกิดการติดเชื ้อแบคทีเรี ยที่เป็ นต้ นเหตุของโรค
แผลในกระเพาะอาหาร และมะเร็งกระเพาะอาหาร
• หอบหืด การบริ โภคเกลือมาก ๆ ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ การ
บริ โภคเพียงเล็กน้ อยช่วยให้ หายใจสะดวกขึ ้น จะได้ พงึ่ ยาน้ อยลง
31
ลดเค็มครึ่งหนึ่ง
คนไทยห่ างไกลโรค
พ.ญ. วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี
เลขานุการเครือข่ายลดบริโภคเค็ม
32
เราควรกินเกลือเท่ าไร?
33
34
35
เราดูความเค็มของผลิตภัณฑ์ได้ที่ใด?
• ปริ มาณของ
โซเดียมในสลากโภชนาการ
36
เราดูความเค็มของผลิตภัณฑ์ได้ที่ใด?
37
38
39
เราได้ รับเกลือจากไหน?
เราได้ รับเกลือมาจาก
• อาหารธรรมชาติ ได้ แก่ เนื ้อสัตว์ตา่ งๆ ผลไม้ ทกุ ชนิด ผัก
ธัญพืชและถัว่ เมล็ดแห้ ง
• อาหารแปรรูปได้ แก่ ใส้ กรอก หมูยอ ลูกชิ ้น ปลาเค็ม อาหาร
กระป๋ อง
40
โซเดียม 15 มิลลิกรัม
โซเดียม 350 มิลลิกรั ม
โซเดียม 320 มิลลิกรัม
โซเดียม 480 มิลลิกรัม
41
โซเดียม 15 มิลลิกรัม
โซเดียม 410 มิลลิกรั ม
โซเดียม 320 มิลลิกรัม
โซเดียม 350 มิลลิกรัม
42
โซเดียม 90 มิลลิกรั ม
โซเดียม 480 มิลลิกรั ม
43
44
45
โซเดียม 30 มิลลิกรั ม
โซเดียม 1720 มิลลิกรั ม
46
47
โซเดียม 30 มิลลิกรั ม
โซเดียม 4460 มิลลิกรั ม
48
โซเดียม 75 มิลลิกรั ม
โซเดียม 3200 มิลลิกรั ม
49
โซเดียม 1480 มิลลิกรัม
เทียบเท่ านา้ ปลา 33/4 ชช
โซเดียม 1500 มิลลิกรัม
เทียบเท่ านา้ ปลา 33/4 ชช
โซเดียม 1730 มิลลิกรั ม
เทียบเท่ านา้ ปลา 4.5 ชช
51
โซเดียม 1900
มิลลิกรัม
52
โซเดียม 720 มิลลิกรัม
โซเดียม 840 มิลลิกรัม
53
เราได้ รับเกลือจากไหน?
เราได้ รับเกลือมาจาก
• เครื่ องปรุงรสต่างๆ ได้ แก่ น ้าปลา เกลือ ซอสต่างๆ ซีอิ๊ว กะปิ
ปลาร้ า
• ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีรสเค็มแต่มีโซเดียม
–ผงชูรส ซุปก้ อน ผงปรุงรสต่างๆ
–อาหาร ขนมที่ทาด้ วยผงฟู สารกันบูด (โซเดียมเบนโซเอท)
54
เราได้ รับเกลือจากไหน?
เราได้ รับเกลือ(โซเดียม)
เครื่องปรุ งรสมากที่สดุ
จาก
55
ปริมาณโซเดียมทีม่ ใี นเครื่องปรุงรส
56
เกลือ 1 ช้อนชา
มีโซเดียม 2000 มิลลิกรัม
57
น ้าปลา 1 ช้ อนชา มีปริ มาณโซเดียม 400 มิลลิกรัม
58
น้ าปลา 1 ช้อนชา มีปริ มาณเกลือโซเดียม
ประมาณ 400 มิลลิกรัม
วันหนึ่งไม่ ควรกินโซเดียมเกินวันละ 2000 มิลลิกรั ม
เทียบเท่ากับน ้าปลาประมาณ ? ช้ อนชา
เทียบเท่ากับน ้าปลาประมาณ 5 ช้ อนชา
59
โซเดียม 770 มก.
เทียบเท่ านา้ ปลา 2 ชช
โซเดียม 1260 มก.เทียบเท่ า
นา้ ปลา 3 ชช
โซเดียม 1390มก.
เทียบเท่ านา้ ปลา 3.5 ชช
โซเดียม 1520 มก. เทียบเท่ า
นา้ ปลา 4 ชช
60
ปริมาณโซเดียมทีม่ ีในเครื่องปรุ งรส
เครื่องปรุ งรส ปริมาณ โซเดียม(มิลลิกรัม)
• ซอสหอยนางรม 1 ช้ อนโต๊ ะ
420-490
=
62
โซเดียม 290 มิลลิกรั ม
เทียบเท่ านา้ ปลา 3/4
ชช.
โซเดียม 890 มิลลิกรั ม
เทียบเท่ านา้ ปลา 2 ¼ ชช.
โซเดียม 750 มิลลิกรั ม
เทียบเท่ านา้ ปลา 2 ชช
63
ปริมาณโซเดียมทีม่ ีในเครื่องปรุ งรส
เครื่องปรุ งรส ปริมาณ โซเดียม(มิลลิกรัม)
• นา้ จิม้ ไก่
1 ช้ อนโต๊ ะ
202-227
=
64
ปริมาณโซเดียมที่มีในอาหารต่ างๆ
โซเดียม(มิลลิกรัม)
400
• นา้ พริกกระปิ 1 ช้ อนโต๊ ะ
=
• นา้ ปลาหวาน 1 ช้ อนโต๊ ะ
191
=
65
66
เราได้ รับเกลือจากไหน?
เราได้ รับเกลือมาจาก
• ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีรสเค็มแต่มีโซเดียม
–ผงชูรส ซุปก้ อน ผงปรุงรสต่างๆ
–อาหาร ขนมที่ทาด้ วยผงฟู สารกันบูด (โซเดียมเบนโซเอท)
67
ปริมาณโซเดียมทีม่ ใี นเครื่องปรุงรส
เครื่ องปรุ งรส ปริมาณ โซเดียม(มิลลิกรั ม)
• ผงชูรส
1 ช้ อนชา
492
=
• ผงฟู
1 ช้ อนชา
339
=
68
โซเดียม 60% ละลายอยู่ในนา้
69
ปริมาณโซเดียมที่มีในอาหารต่ างๆ
โซเดียม 750 มิลลิกรัม
โซเดียม 450 มิลลิกรัม
70
ปริมาณโซเดียมที่มีในอาหารต่ างๆ
โซเดียม 1,352 มิลลิกรัม
โซเดียม 1,819 มิลลิกรัม
71
ปริมาณโซเดียมที่มีในอาหารต่ างๆ
โซเดียม 800 มิลลิกรัม
โซเดียม 1,200-1500 มิลลิกรั ม
72
ปริมาณโซเดียมที่มีในอาหารต่ างๆ
โซเดียม 1,832 มิลลิกรัม
โซเดียม 1,100 มิลลิกรัม
73
ลด "เค็ม" ลดโรค
• สถาบันวิจยั ทางการแพทย์ของอังกฤษได้ รายงาน
ว่า การลดการบริโภคเกลือโดยเฉลี่ย 6 กรัมต่อวัน จะ
ช่วยลด
–ความเสี่ยงของการเป็ นโรคหัวใจได้ 10 เปอร์ เซ็นต์
–ปั ญหาหลอดเลือดอุดตัน ลงได้ ถึง 13 เปอร์ เซ็นต์
–ยืดอายุไตและไม่เสี่ยงต่อการเป็ นโรคความดันโลหิต
สูง โรคหัวใจ และโรคร้ ายอื่นๆ ตามมา
74
ลด "เค็ม" ลดโรค
• หากเป็ นโรคความดัน หลอดเลือดหัวใจ หรื อ
ไตอยู่แล้ ว และยังกินเค็มมาก ๆ ก็จะยิ่งไป
เพิ่มความรุนแรงของโรคให้ มากขึ ้น
75
ลด "เค็ม“อย่ างไร
• ลดการใช้ เครื่ องปรุงรสในอาหาร เช่น ผงปรุงรส น ้าปลา ซีอิ๊ว ซอส
ปรุงรส เต้ าเจี ้ยว และผงชูรส
• "ชิมอาหารก่อนเติมทุกครัง้ "
• เลือกกินอาหารสดหรื ออาหารที่ผ่านการแปรรูปน้ อยที่สดุ
76
ลด "เค็ม“อย่ างไร
• ลดการใช้ เครื่ องปรุงรสในอาหาร เช่น ผงปรุงรส น ้าปลา ซีอิ๊ว ซอส
ปรุงรส เต้ าเจี ้ยว และผงชูรส
• "ชิมอาหารก่อนเติมทุกครัง้ "
• เลือกกินอาหารสดหรื ออาหารที่ผ่านการแปรรูปน้ อยที่สดุ
77
ลด "เค็ม“อย่ างไร
• ลดความถี่และปริ มาณการกินอาหารที่ใช้ "น ้าจิ ้ม" ต้ องไม่กินจาเจ
อย่างเดียว
78
ลด "เค็ม“อย่ างไร
• ลดการกินขนมหวานที่มีเกลือ ผลไม้ แช่อิ่ม ขนมอบทุกชนิดที่ใส่ผงฟู
เช่น เค้ ก คุกกี ้ โดนัท ขนมปั ง เป็ นต้ น
79
ลด "เค็ม“อย่ างไร
• หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสจัด อาหารหมักดอง อาหารสาเร็จรูป อาหาร
กระป๋ อง บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ขนมขบเคี ้ยว
80
ลด "เค็ม“อย่ างไร
• หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสจัด อาหารหมักดอง อาหารสาเร็จรูป อาหาร
กระป๋ อง บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ขนมขบเคี ้ยว
• ควรอ่านฉลากโภชนาการทุกครัง้ เลือกอาหารที่มีโซเดียมน้ อยที่สดุ
• ปรับพฤติกรรมการกิน ปรุงน้ อยๆ ไม่เติมน ้าปลา เกลือตามชอบใจ
• เลือกกินอาหารที่ไม่สาเร็จรูปมากนัก
81
ลด "เค็ม“อย่ างไร
• ใช้ รสอื่นมาทดแทน เช่น รสเปรี ย้ วจากมะนาว รสเผ็ดจากพริก หรืออาจ
ใช้ สมุนไพรเพื่อแต่งรสและกลิน่ ก็จะทาให้ สามารถลดรสชาติเค็มลงไป
พร้ อมกับยังเจริญอาหารได้
82
เรื่องทีเ่ ราได้ คุยกันในวันนี้
• อาหารที่มีรสชาติเค็ม คืออะไร?
• เราได้ รับเกลือจากไหน?
• กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่ างไร?
• เราดูความเค็มของผลิตภัณฑ์ ได้ ท่ ใี ด?
83
เรื่องทีเ่ ราได้ คุยกันในวันนี้
• นา้ ปลา 1 ช้ อนชามีโซเดียม 400 มิลลิกรัม
• วันหนึ่งควรกินโซเดียม 2000 มิลลิกรัม
เทียบเท่ านา้ ปลา
84
www.lowsaltthailand.org
www.facebook.com/lowsalt.thailand
Fan page “ลดเค็มครึ่งหนึง่ คนไทยห่างไกลโรค”
85