การสร้ างกรอบแนวคิดการวิจัย และทิศทางการวิจัยของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดย พระมหาสุ ทติ ย์ อาภากโร (ดร.) สถาบันวิจยั พุทธศาสตร์ แนวคิดและพัฒนาการการเรียนรู้ในสั งคมมนุษย์ • • • • • เรียนรู้ จากปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติและ ความสั มพันธ์ ในสั งคมโดยผ่ านการเรียนรู้ จาก ภายใน-ภายนอก เมือ่ เรียนรู้ กจ็ ะเกิดความรู้ ความเข้

Download Report

Transcript การสร้ างกรอบแนวคิดการวิจัย และทิศทางการวิจัยของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดย พระมหาสุ ทติ ย์ อาภากโร (ดร.) สถาบันวิจยั พุทธศาสตร์ แนวคิดและพัฒนาการการเรียนรู้ในสั งคมมนุษย์ • • • • • เรียนรู้ จากปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติและ ความสั มพันธ์ ในสั งคมโดยผ่ านการเรียนรู้ จาก ภายใน-ภายนอก เมือ่ เรียนรู้ กจ็ ะเกิดความรู้ ความเข้

การสร้ างกรอบแนวคิดการวิจัย
และทิศทางการวิจัยของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
โดย
พระมหาสุ ทติ ย์ อาภากโร (ดร.)
สถาบันวิจยั พุทธศาสตร์
แนวคิดและพัฒนาการการเรียนรู้ในสั งคมมนุษย์
•
•
•
•
•
เรียนรู้ จากปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติและ
ความสั มพันธ์ ในสั งคมโดยผ่ านการเรียนรู้ จาก
ภายใน-ภายนอก
เมือ่ เรียนรู้ กจ็ ะเกิดความรู้ ความเข้ าใจในสิ่ งนั้น
จากนั้นพัฒนาการมาเป็ นแนวคิด/หลักการใน
เรื่องนั้น
จนนาไปสู่ การสร้ างแนวคิด ทฤษฎีในการอธิบาย
ปรากฏการณ์ น้ัน
สุ ดท้ าย คือ การค้ นพบและเปิ ดเผยกฎแห่ งสั จจะ
กระบวนการวิจัย
ความรู้ เดิม
 สภาพการณ์ ที่เป็ นอยู่
 ปรากฏการณ์

กระบวนการวิจยั
เห็นปัญหา/ขาดความรู้
 เกิดความต้ องการ/สนใจใฝ่ รู้

ตั้งข้ อสั งเกต/สมมติฐาน
เกิดความรู้ ความเข้ าใจ เกิดแนวคิดใหม่
เห็นกระบวนการแก้ ไขปัญหา และแนวทางการพัฒนาในสิ่ งนั้น
ความหมายของการวิจัย ก็คอื






วิจย คือ การใคร่ ครวญ ไตร่ ตรองอย่างลึกซึ้ง การพิจารณาในองค์
ความรู้และองค์ธรรม
การแสวงหาความรู้เพื่อนาไปแก้ไขปั ญหาและพัฒนาชีวติ และสังคม
การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ ทดลองอย่างถูกต้อง เพื่อหาข้อเท็จจริ ง
และความรู้ เพื่อนาไปสร้างทฤษฎีหรื อหาแนวทางการปฏิบตั ิใหม่
การศึกษาค้นคว้าที่มีระเบียบวิธีการแสวงหาความรู้อย่างถูกต้อง
ประจักษ์ชดั จนได้ความรู้ที่เหมาะสม อธิบายสิ่ งที่เกิดขึ้นได้ ลลล
การค้นคว้าหาความรู้ที่เชื่อถือได้โดยมีแบบแผนที่เชื่ อถือได้ เพื่อนา
ความรู้ไปสร้างความเข้าใจ /หรื อทฤษฎีใหม่
เพื่อค้นหาคาตอบที่ตอ้ งการรู้หรื อปั ญหาที่คาใจ โดยวิธีการเชิง
ประจักษ์
วัตถุประสงค์ ของการวิจยั







เพื่อสร้างความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และเพื่อตอบสนองการเรี ยนรู ้ของมนุษย์
เพื่อนาไปสู่การสร้างแนวคิด ทฤษฎี กฎ
เพื่อค้นหาความจริ งจากปัญหาปริ ศนาคาใจและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
เพื่อสร้างกระบวนการแสวงหาคาตอบต่อปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
และวิธีการค้นหาแบบอริ ยสัจ
เพื่อสร้างโลกทัศน์ที่กว้างไกล จากสิ่ ง รู ปธรรม สู่ นามธรรม และจาก
นามธรรม เป็ น รู ปธรรม
เพื่อการต่อยอดองค์ความรู ้ จากแนวคิด ทฤษฎี และการนาไปใช้
กระบวนการและขั้นตอนในการวิจยั

กระบวนการที่หนึ่ง (R-1)

กระบวนการที่สอง (E)

กาหนดตั้งปัญหา/สนใจ/
ต้ องการ/ที่จะศึกษา (ชื่อเรื่อง/
วัตถุประสงค์ /คาถามการวิจัย)
การกาหนดขอบเขต/ประเด็น
การศึกษาวิจัย (การกาหนด
ขอบเขตการศึกษา)
การทบทวนวรรณกรรม
แนวคิด ทฤษฎี หลักธรรม และ
งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
การกาหนดกรอบแนวคิด/
ประเภทข้ อมูล (กรอบการวิจัย/
นิยามปฏิบัตกิ าร/ตัวแปร)
การเลือกและออกแบบการวิจัย
(ปริมาณ/คุณภาพ)
การตั้งสมมติฐาน (ถ้ ามี)

ระเบียบวิธีการวิจัย (ระบุ
ขั้นตอนการวิจัยเชิงปริมาณ/
คุณภาพ/ระบุข้อมูลปฐมภูมิ/
ทุตยิ ภูมิ) (กรณีมหาจุฬา)
การกาหนด พืน้ ที่ ประชากรและ
กลุ่มตัวอย่ างในการศึกษาวิจัย
การสร้ างเครื่องมือ
(แบบสอบถาม สั มภาษณ์
สั งเกต มาตรวัดทัศนคติ/
ความรู้ ) เนือ้ หา การออกแบบ
เครื่องมือ การตรวจสอบ
เครื่องมือ)
การเก็บรวบรวมข้ อมูล (ระบุ
การใช้ วธิ ีการแบบ)
สถิตทิ ี่เกีย่ วข้ อง










กระบวนการที่สาม (R-2)

การวิเคราะห์ ข้อมูล
การแปลผลข้ อมูล
การบรรยายข้ อมูล
สถิตใิ นการวิเคราะห์
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์ ข้อค้ นพบ
การนาเสนอข้ อมูล/ผล
การศึกษา/
การสรุปผลการวิจัย
การให้ ข้อเสนอแนะ
การประเมินงานวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัย
การอ้ างอิง/บรรณานุกรม











สร้ างลาดับขั้นของความรู้และสติปัญญา
Insight
Intelligence
Knowledge
Information
Data (Meaning Facts …. )
Action
อริยสั จ 4 กับกระบวนการวิจัย
ทุกข์
กาหนดรู้ ปญั หา/ตัง้ ข้อสังกตต
สมุทยั
ตัง้ สมมติฐาน/ค้นหาหลัตตาร/ข้อที่
จะลดปัญหา/กพือ่ ความกข้าใจ
นิโรธ
วางกป้ าหมายให้ กติดเข้ าใจชัดแจ้ง
มรรค
ลงมือกต็บข้อมูล/ฝึ ตฝนทาให้ มาก/
ทดสอบในแนวทางที่ถตู ต้อง
การวิจยั กับแดนความรู้ ในสั งคมมนุษย์
แดนวิทยาศาสตร์ (Natural Science)
- เป็ นการค้ นหาความรู้ด้านธรรมชาติ วัตถุ
ธรรมที่เกี่ยวข้ องกับมนุษย์ และสิ่งแวดล้ อม
 แดนสังคมศาสตร์ (Social Science)
- เป็ นการค้ นหาความรู้เพื่อการจัดการ
ความสัมพันธ์ ในสังคมมนุษย์ ด้ วยเหตุมนุษย์
เป็ นสัตว์ สังคม
 แดนมนุษยศาสตร์ (Humanities)
- เป็ นการค้ นหาความรู้ของมนุษย์ เพื่อรู้ จกั
อิสรภาพแห่ งตนที่มนุษย์ จะคิดได้ ซ่ งึ เกี่ยวข้ อง
กับความรู้ ความดี ความงาม ความจริง

เราจะสร้ างกรอบแนวคิดในการวิจัยอย่ างไร
1. เข้ าใจวงจรการค้ นหาความรู้ ทางสั งคมศาสตร์
(Generalized Wheel of Social Science)
วิธก
ี ารนิรน ัย
(DEDUCTION SCIENCE)
ทฤษฎี
(Theories)
ข ้อสรุปทั่วไป
(Generalizations
)
สมมติฐาน
(Hypotheses)
การสงั เกต
(Observations)
วิธก
ี ารอุปน ัย
(INDUCTION)
กระบวนการวิจัยแบบนิรนัยและแบบอุปนัย
2. มองภาพกว้ างของการพัฒนาประเทศไปสู่ จุดทีเ่ ราอยู่



ยุทธศาสตร์วิจยั ของสภาวิจยั แห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หน่วยงานที่ให้ทุน







ยุทธศาสตร์ของ มจร.
ความต้องการของส่ วนงาน
ความสนใจของนักวิจยั
อื่นๆ


ประเภทการวิจยั
วิจยั เชิงคุณภาพ
วิจยั เชิงเอกสาร
วิจยั เชิงปริ มาณ
วิจยั การประยุกต์
ยุทธศาสตร์ การวิจัยแห่ งชาติปี 55-59





ยุทธศาสตร์ การวิจัยที่ 1 การสร้ างศักยภาพและความสามารถเพือ่ การพัฒนา
ทางสั งคม
ยุทธศาสตร์ การวิจัยที่ 2 การสร้ างศักยภาพและความสามารถเพือ่ การพัฒนา
ทางเศรษฐกิจ
ยุ ท ธศาสตร์ การวิ จั ย ที่ 3 การอนุ รั กษ์ เสริ มสร้ าง และพั ฒ นาทุ น
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ การวิจัยที่ 4 การสร้ างศักยภาพและความสามารถเพือ่ การพัฒนา
นวัตกรรมและบุคลากรทางการวิจัย
ยุทธศาสตร์ การวิจัยที่ 5 การปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ เพื่อการบริ หาร
จัดการความรู้ ผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ ทรัพยากร และภูมิปัญญา
ของประเทศสู่ การใช้ ประโยชน์ เ ชิ งพาณิ ช ย์ แ ละสาธารณะ ด้ ว ยยุ ทธวิธี ที่
เหมาะสม ทีเ่ ข้ าถึงประชาชนและประชาสั งคมอย่างแพร่ หลาย
กลุ่มเรื่องการวิจัยทีค่ วรมุ่งเน้ นปี 55-59 ของวช.













1. การประยุกต์ ใช้ เศรษฐกิจพอเพียง
2. ความมัน่ คงของรัฐและการเสริมสร้ างธรรมาภิบาล
3. การปฏิรูปการศึกษาและสร้ างสรรค์ การเรียนรู้
4. การจัดการทรัพยากรนา้
5. ภาวะโลกร้ อนและพลังงานทางเลือก
6. การเพิม่ มูลค่ าสิ นค้ าเกษตรเพือ่ การส่ งออกและลดการนาเข้ า
7. การส่ งเสริมสุ ขภาพ การป้ องกันโรค การรักษาและการฟื้ นฟูสุขภาพ
8. การบริหารจัดการสิ่ งแวดล้ อมและการพัฒนาคุณค่ าความหลากหลายทางชีวภาพ
9. เทคโนโลยีใหม่ และเทคโนโลยีทสี่ าคัญเพือ่ อุตสาหกรรม
10. การบริหารจัดการการท่ องเทีย่ ว
11. สั งคมผู้สูงอายุ
12. ระบบโลจิสติกส์
13. การปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ
3. พิจารณาจากขอบข่ ายของการวิจยั ทางพระพุทธศาสนาของมจร.






การศึกษาวิจัยทางพระพุทธศาสนาและสั งคมศาสตร์ โดยเน้ นการพัฒนาพฤติกรรม
(กาย วาจา ใจ) และสร้ างความสั มพันธ์ ทดี่ ใี นสั งคมมนุษย์
การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารเพือ่ ร่ วมสร้ างความรู้ และแนวปฏิบัตทิ เี่ หมาะสมในทาง
พระพุทธศาสนาและการแก้ ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ กับตัวมนุษย์
การวิจัยเพือ่ หาคาตอบ/แนวทางการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากวิถีการปฏิบัติตามหลัก
พุทธธรรมและแก้ ไขปัญหาสั งคม
การวิจัยทางด้ านประวัติศาสตร์ -ภาษา วรรณกรรม ในบริบททีเ่ กีย่ วข้ องกับหลักธรรม
คาสอน การประยุกต์ ใช้ หลักธรรม และการพัฒนาสั งคม
การวิเคราะห์ /การตีความทางหลักธรรมคาสอนและการประยุกต์ ใช้ กบั ศาสตร์ ต่าง
การศึกษาเปรียบเทียบกับศาสตร์ สมัยใหม่ หรือการวิเคราะห์ กบั ศาสตร์ ต่าง
ประเด็นการวิจัยปี 55-59 ของ มจร.








การวิเคราะห์หลักพุทธธรรมและคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
การประยุกต์หลักพุทธธรรมกับศาสตร์สมัยใหม่ในการพัฒนามนุษย์และสังคม
การพัฒนาและเสริ มสร้างระบบศีลธรรมและจริ ยธรรมทางสังคม
การจัดการพุทธศิลปกรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม
การบริ หารจัดการภาครัฐ ชุมชน และสังคมตามแนวพระพุทธศาสนา
การส่ งเสริ มสุ ขภาพตามแนวพระพุทธศาสนา
การส่ งเสริ มความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนากับนานาชาติ
การจัดการศึกษาตามแนวพระพุทธศาสนา
ตัวอย่ างการนาหลักธรรมไปใช้ ในการพัฒนาสั งคม






พจนานุกรมขีดความสามารถของพระสงฆ์ พระนักพัฒนา (Dictionary
Competency) ขีดความสามารถหลักของพระสงฆ์ พระนักพัฒนา Core
Competency of Monk (CCM)
1. ความรู้ในหลักพุทธธรรม
CCM1
2. ความสามารถในการเทศน์สื่อสาร
CCM2
3. ภาวะความเป็ นผูน้ า
CCM3
4. ความมีมนุษยสัมพันธ์
CCM4
(วพ. พระฐานี จองเจน ม.แม่โจ้)
ตัวอย่ างการนาหลักธรรมไปใช้ ในการพัฒนาสั งคม









ขีดความสามารถของพระสงฆ์ เพือ่ ทีจ่ ะหนุนเสริมการแก้ ไขปัญหาความยากจน/
การพัฒนาด้ านเศรษฐกิจ Functional Competency of Monk (FCM)
ความรู้ ในหลักเศรษฐศาสตร์ แนวพุทธ
FCM1
ความรู้ ในหลักธรรมะทีห่ นุนเสริมการแก้ ไขปัญหาความยากจน FCM2
ความสามารถในการถ่ ายทอดธรรมะ
FCM3
ความสามารถในการประสานงาน
FCM4
ความสามารถในการใช้ สื่อเทคโนโลยี
FCM5
ความสามารถในการปรับตัว
FCM6
การวางตนที่เหมาะสมของพระสงฆ์
FCM7
(วพ. พระฐานี จองเจน ม.แม่ โจ้ )
ตัวอย่างงานวิจยั /วิทยานิพนธ์ของ มจร.











การศึกษาวิเคราะห์ หลักอนัตตาในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
การศึกษาเปรียบเทียบหลักกรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาทกับมหายาน
การศึกษาบทบาทพระสงฆ์ ในการพัฒนาสั งคม : กรณีศึกษาหลวงพ่อคูณ
รู ปแบบการจัดการความขัดแย้ งโดยพุทธสั นติวธิ ี
การศึกษาวิเคราะห์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเนื่องมาจากพระราชดาริกบั หลักธรรมใน
พระพุทธศาสนา
การศึกษาวิเคราะห์ การตีความหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของ ติช นัท ฮันท์
ธรรมชาติมนุษย์ ในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาของอริสโตเติล ฯลฯ
พุทธประสาทวิทยา
รู ปแบบและกระบวนการจัดการท่ องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการสร้ างเครือข่ ายองค์ กรพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
กระบวนการสร้ างและการใช้ ตัวชี้วดั ความสุ ขตามแนวพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษาเปรียบเทียบ
ประเทศภูฎานและไทย
4. มองความสาคัญของเรื่องทีต่ ้ องการทีจ่ ะศึกษา








ความเป็ นไปได้ ของปัญหา (ทีจ่ ะทาให้ ลุล่วง/หาข้ อมูลได้ )
ความสาคัญของปัญหา (ที่จะมีผลกระทบต่ อ......................)
ความน่ าสนใจและทันเหตุการณ์
ความสนใจของผู้วจิ ัย
ความสามารถทีจ่ ะทาให้ ลุล่วง (ตามเวลา)
ความเกีย่ วข้ องกับศาสตร์ /สาขาทีศ่ ึกษา
การกาหนดจากปัญหาย่ อยสู่ ปัญหาทีแ่ ท้ จริง
แหล่งข้ อมูลทีจ่ ะค้ นคว้ า/อาจารย์ ที่ปรึกษา
ลักษณะของวิทยานิพนธ์ /การวิจัยที่ดี






เป็ นเรื่องทีม่ ีความสาคัญ มีประโยชน์ คือ ทาให้ เกิด
ความรู้ และความเข้ าใจใหม่ /เหมาะสมในทาง
พระพุทธศาสนาและสั งคม
เป็ นเรื่องทีส่ ามารถหาคาตอบได้ โดยวิธีทาง
วิทยาศาสตร์ /วิธีวจิ ัย
เป็ นเรื่องทีส่ ามารถหาข้ อมูลมาตรวจสอบสมมติฐานได้ /
หาข้ อยุตไิ ด้
เป็ นเรื่องทีส่ ามารถให้ คานิยามได้ ท้งั ทางธรรมและทาง
โลก
เป็ นเรื่องทีส่ ามารถดาเนินการตามขั้นตอนต่ าง ไว้ ได้
เป็ นเรื่องทีส่ ามารถหาเครื่องมือหรือสร้ างเครื่ องมือทีม่ ี
คุณภาพเพือ่ เก็บรวบรวมข้ อมูลได้
5. การค้ นหาประเด็น/เรื่องทีจ่ ะศึกษาจากผู้ร้ ู /ปรากฏการณ์







จากการวิเคราะห์ /การอ่านเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี หลักธรรมต่ าง และต้ องการหา
คาตอบ/สร้ างความรู้ ความเข้ าใจในเรื่องนั้นให้ ชัดเจน
จากสถานการณ์ ทางพระพุทธศาสนาทีเ่ กิดขึน้ ในสั งคม (อดีต-ปัจจุบัน)
จากการอ่ านงานวิจัยที่ผ้ ูอนื่ ทาแล้ ว และจากการวิเคราะห์ ความรู้ ในศาสตร์ สมัยใหม่ กบั
ความรู้ ทางพระพุทธศาสนา
จากประสบการณ์ ผ้ วู จิ ัย/ทีท่ างาน/ปรากฏการณ์ ในสั งคม (สนใจศึกษาการเปรียบเทียบ)
ข้ อคิดของผู้ร้ ู นักคิด ผู้ชานาญ ข้ อโต้ แย้ ง และการวิเคราะห์ สถานการณ์ ในสั งคม และ
หลักธรรมคาสอน
การจัดสั มมนาและจากการสอนของสถาบันการศึกษา ฯลฯ
ทีส่ าคัญ คือ มีหลักอิทธิบาท 4 (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา )
6. มีการกาหนดขอบเขตการศึกษาให้ ชัดเจน





ขอบเขตการศึกษา คือ การระบุขอบเขต
และเนือ้ หาการวิจัย ว่ า สิ่ งทีจ่ ะศึกษานั้น
มีขอบเขตการศึกษา แค่ ไหน เพียงใด
เป็ นการระบุถึงสิ่ งทีเ่ ป็ นรูปธรรม ชัดเจน
จากสิ่ งทีเ่ ป็ นนามธรรมกว้ าง
เพือ่ ให้ เหมาะสมกับเวลาและงบประมาณ
เพือ่ กาหนดและเลือกหัวข้ อวิจัยตาม
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
เพือ่ ระบุความชัดเจนและสื่ อความหมาย
สิ่ งทีศ่ ึกษาได้
ตัวอย่ างขอบเขตการศึกษา
การมีส่วนร่ วมของพระสงฆ์ ในการ
พัฒนาชุ มชน (ขอบเขตเนือ้ หา)
- ความตระหนัก/สนใจต่ อชุ มชน
- การติดต่ อสื่ อสารกับชุ มชน
- การทากิจกรรมร่ วมกับชุ มชน
- การเสนอข้ อมูลให้ ชุมชน/
หน่ วยงาน
- การใช้ หลักธรรมในการพัฒนา
- การเป็ นส่ วนหนึ่งของชุ มชน ฯลฯ
แนวทางการกาหนดขอบเขตการศึกษาวิจัย
มีการระบุขอบเขตการศึกษาวิจัย ใน 5 ด้ าน คือ
1. ขอบเขตด้ านเนือ้ หา (งานที่เราศึกษามีเนือ้ หาอะไรบ้ าง เช่ น เนือ้ หาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบด้ วย ความหมาย ประเภท องค์ ประกอบ ฯลฯ)
2. ขอบเขตด้ านเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง เช่ น ศึกษาเฉพาะในพระไตรปิ ฎก หรือในมงคลสู ตร เป็ น
ต้ น (วพ. มจร. ส่ วนใหญ่ จะเน้ น 2 ข้ อนี้ เนื่องจากเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ/เอกสาร)
3. ขอบเขตด้ านแนวคิด หลักธรรม ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง (ว่ างานทีเ่ ราทามีความเกีย่ วข้ องกับ
หลักธรรม หรือแนวคิด ทฤษฎี ความรู้ อะไรบ้ าง)
4. ขอบเขตด้ านประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง (ระบุถึงประชากรและกลุ่มตัวอย่ างทีเ่ ราศึกษาว่ า
มีจานวนเท่ าไร มีพนื้ ฐานอย่างไร เช่ น นิสิตปี ที่ 2 คณะพุทธศาสตร์ )
5. ขอบเขตด้ านพืน้ ที่และช่ วงเวลา (งานทีเ่ ราจากัดพืน้ ที่ ทีไ่ หน เช่ น เฉพาะ มจร.วังน้ อย)
7. ขยันสร้ างกรอบแนวคิดการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง
ทฤษฎีความขัดแย้ง
ทางสังคมศาสตร์
ทฤษฎีความขัดแย้งใน
มิติพทุ ธศาสนา
แก้ไขได้/ประยุกต์ใช้
การบูรณาร่ วมกัน
การแก้ความขัดแย้ง
ตามพุทธสันติ
ปรับปรุ ง
แก้ไขไม่ได้
ภาพรวมของมุมมอง 4 ด้ านทุกระดับ (4 Quadrants )
Spirit
Causal
Mind
Subtle
Body
I
Me
Us
All of Us
WE
IT
ITS
Gross
Group
Nation
Global
สมมติฐานและขั้นตอนของกระบวนการวิจยั
(Flow of Research Process)
หัวข้ อ
(Topic)
ทบทวนวรรณกรรม
(Lit Review)
คาถามวิจยั
(Research
Questions)
วิธีการ
(Methods)
ผลลัพธ์ (Results)
อภิปราย/เสนอแนะ
(Discussion /
Implications)
สมมติฐาน
(Hypothesis)
ผลการวิจยั สนับสนุน
สมมติฐานและตอบคาถามการ
วิจยั หรื อไม่ (Do results
support hypotheses and
address questions?)
ทาอย่างไรให้ผลการวิจยั
น่าเชื่อถือ (How
confident are you in
results?)
ความบังเอิญที่เกิดจากผลการวิจยั มี
มากน้อยเพียงใด (To what extent did
results occur by chance?)
ผลการวิจยั สามารถ
สรุ ปเป็ นกฎทัว่ ไป
หรื อไม่ (Can results be
generalized?)
การประเมินผลงานวิจัย
การประเมินผลงานวิจยั จะดาเนินการประเมินในด้ านต่ าง ดังนี้
หัวข้ อปัญหาหรือชื่อเรื่อง และวัตถุประสงค์
- ชื่อเรื่ องมีความชัดเจนและรั ดกุม
- บอกความหมายและแนวทางการวิจย
ั
- บอกขอบเขตของตัวปัญหา/ชื่อเรื่ องได้ ดี
- บอกวัตถุประสงค์ การวิจย
ั ทีช่ ัดเจน
- มีวต
ั ถุประสงค์ ทชี่ ัดเจนและสอดคล้ องกับชื่อเรื่อง
- สามารถหาคาตอบด้ วยวิธีการวิจย
ั
การประเมินผลงานวิจัย
ภูมิหลังของปัญหา/ความสาคัญของปัญหา
- เสนอความเป็ นมาของปัญหาที่ชัดเจน
- เสนอแนวคิดที่ให้ เห็นว่ า เป็ นปัญหาที่ควรศึกษา มีประโยชน์ ต่องาน
ที่ทาหรือเป็ นประโยชน์ ต่อหน่ วยงาน
- เหมาะสมกับสภาพการณ์
- เสนอให้ เห็นประเด็นที่ชัดเจน
- เสนอให้ ทราบถึงตัวแปร/ทฤษฎี แนวคิด ทีส
่ าคัญ
- เสนอตามลาดับความสาคัญ
การประเมินผลงานวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
- มีขอบเขตทีบ่ ่ งบอกเนือ้ หาทีช่ ัดเจน
- ระบุเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ องได้
- ระบุกลุ่มตัวอย่ างทีศ่ ึกษาได้
ตัวแปร
- มีการระบุตว
ั แปรทั้งเชิงแนวคิดและกระบวนการ
- ตัวแปรต้ น ต้ องไม่ ซ้าตัวแปรตาม
- ตัวแปรสอดคล้ องกับกรอบแนวคิด
กรอบแนวคิด
- เสนอกรอบคิดอย่ างเชื่อมโยง
- ระบุตว
ั แปรให้ ชัดเจน
- ชัดเจน ไม่ มีกรอบเนือ
้ หามากเกินไป
การประเมินผลงานวิจัย
-
-
-
-
เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
สมมติฐานที่ชัดเจน ไม่ มากเกิน
วิธีการวิจัย (ระเบียบวิธีการวิจัย) พิจารณาจาก
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
เครื่องมือวิจัย (แบบสอบถาม)
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
การวิเคราะห์ ข้อมูล
การนาเสนอข้ อมูล ตาราง การวิเคราะห์ เชิงลึก/ความสั มพันธ์
การย่ อ/การสรุป
การอภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ
การเขียนโครงร่ างการวิจัยของ มจร. (บทที่ 1)













ชื่อเรื่อง
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา (ของเรื่องทีจ่ ะศึกษา 3-5 หน้ า)
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย (2-3 ข้ อ)
ปัญหาการวิจัย (สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ แต่ เป็ นเชิงคาถาม)
ขอบเขตในการศึกษาวิจัย (แนวคิด เนือ้ หา พืน้ ที่ ประชากร/กลุ่มตัวอย่ าง)
กรอบแนวคิดในการวิจัย
สมมติฐานในการวิจัย (ถ้ ามี)
นิยามศัพท์ ปฏิบัติการ (ตามคาหลักในวัตถุประสงค์ ชื่อเรื่อง กรอบแนวคิด)
เอกสารงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
วิธีการดาเนินการ (ระบุกลุ่มตัวอย่ าง เครื่องมือ วิธีการเก็บข้ อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูล
สถิตทิ ใี่ ช้ แนวทางการบรรยาย)
ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก (ถ้ ามี) และประวัตผิ ้ วู จิ ัย
อย่ าลืมความคาดหวัง......กับผลของการวิจัย





ตั้งคาถาม What – Why - How
ตอบ What?
ตั้งคาถาม Why - How?
Explanatory - What?, How? & Why?
Evaluation—Does it work?
อนุโมทนา