TYPES OF STUDY DESIGN Dr. AREE BUTSORN Ph.D. Public Health (INTERNATIONAL) Public Health Technical Officer KHUKHAN HEALTH OFFICE Email: [email protected] Tel: 08-7228-3918
Download
Report
Transcript TYPES OF STUDY DESIGN Dr. AREE BUTSORN Ph.D. Public Health (INTERNATIONAL) Public Health Technical Officer KHUKHAN HEALTH OFFICE Email: [email protected] Tel: 08-7228-3918
TYPES OF STUDY
DESIGN
Dr. AREE BUTSORN
Ph.D. Public Health (INTERNATIONAL)
Public Health Technical Officer
KHUKHAN HEALTH OFFICE
Email: [email protected]
Tel: 08-7228-3918
ประเภทของรูปแบบการวิจัย
(Types of study design)
การวิจัยทางด้านระบาดวิทยาจะแยกออกเป็น 3
ประเภท ได้แก่
การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research)
การวิจัยเชิงทดลอง (Experiment Research)
2
การวิจัยแบบพรรณนา (Descriptive Research)
ลักษณะของการวิจัย
เป็ น การสั ง เกตการเกิ ด หรื อ การเปลี่ ย นแปลงของ
เหตุการณ์ที่สนใจมีการเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด เกิดเป็น
อย่างไร เมื่อไหร่ โดยไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อต้องการหาขนาดของปัญหาและอธิบายลักษณะของ
ปัญหา
3
การวิจัยเชิงพรรณนาในทางคลินิก
• การรายงานผู้ป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่ง (Case series)
เป็นการบรรยายถึงลักษณะของผู้ป่วยตามลักษณะ
ทางสังคมและประชากรศาสตร์ อาการและอาการ
แสดงของโรค ระยะของโรค ค่ า วั ด ต่ า ง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับพยาธิสภาพของโรค วิธีการรักษา และ
ผลการรักษา
การวิจัยเชิงพรรณนาในทางคลินิก
• ก า ร อ ธิ บ า ย ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง โ ร ค (Natural
History) เช่น การประมาณระยะเวลาฟักตัว
(Incubation Period) ระยะเวลาของการอยู่
รอด (Survival Time) ของโรคบางชนิด และ
ระดับของแอนติบอดี้ในระยะต่าง ๆ ของโรค
การวิจัยเชิงพรรณนาในทางคลินิก
• การประมาณค่าทาง Pathophysiology ของ
โรค เช่ น การวั ด ระดั บ ของสารบางชนิ ด ใน
ระยะต่าง ๆ ของโรค เช่น CD4 Lymphocytes
ในผู้ติดเชื้อ HIV แต่ยังไม่แสดงอาการเอดส์
การวิจัยเชิงพรรณนาในทางคลินิก
• การประมาณค่ า พารามิ เ ตอร์ ต่ า ง ๆ ในคน หรื อ
ข้อมูล
เช่น ระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin)
น้้าหนักหญิงตั้งครรภ์ปกติในอายุครรภ์ต่าง ๆ เพื่อ
ทราบการเพิ่มขึ้นของน้้าหนักตัว (body weight
increment)
การวิจัยเชิงพรรณนาในทางคลินิก
• การประเมินความถูกต้อง (Accuracy or Validity)
ของวิธีคัดกรอง หรือวินิจฉัยโรค เช่น การประเมิน
ความไว (Sensitivity) และความจ้าเพาะ
(Specificity) ของการทดสอบ
• การศึกษาเพื่อหาความสามารถเครื่องมือในการ
วินิจฉัยโรคต่าง ๆ (Diagnostic test)
• การหาอัตราอุบัติการณ์ และความชุก
การวิจัยเชิงพรรณนาในทางคลินิก
• การศึ ก ษาเพื่ อ หาความสามารถเครื่ อ งมื อ ในการ
วินิจฉัยโรคต่าง ๆ (Diagnostic test)
• การหาอัตราอุบัติการณ์ และความชุก
• การประเมินผลของวิธีป้องกันรักษาโรค หรือ ความ
ครอบคลุมของการให้บริการทางการแพทย์ โดยไม่มี
กลุ่มเปรียบเทียบ
ประโยชน์ของการวิจัยแบบพรรณนา
• เสียค่าใช้จ่ายน้อย
• ได้ข้อมูลตั้งต้นในการท้าวิจัยต่อ
ข้อจ้ากัดของการวิจัยแบบพรรณนา
• ไม่สามารถน้าไปใช้อ้างอิงความสัมพันธ์เชิง
เหตุและผลได้
10
สรุป
• การวิ จั ย แบบพรรณนา เป็ น การวิ จั ย ที่ ต อบ
ค้าถามการวิจัย โดย การอธิบายการเกิดและ
ลักษณะของสิ่งต่างๆ ที่สนใจ
• การวิ จั ย แบบพรรณนาจึ ง นิ ย มน้ า มาใช้ เ ป็ น
การศึ ก ษาเพื่ อ ท้ า ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ปั ญ หา
ต่างๆ ที่เกิดขึ้น
11
การวิจัยเชิงวิเคราะห์
(Analytical Research)
• เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์
ที่ ส น ใจ ในเ ชิ ง เห ตุ แ ล ะผ ล (Cause-effect
association) โดยการสังเกต เช่น
• การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง Sex, steroid,
hormones และมะเร็งเต้านมในผู้หญิงชาวจีน
12
การวิจัยเชิงสังเคราะห์แยกออกเป็น 3 ประเภท
•การวิจัยแบบ Cohort
•การวิจัยแบบ Crosssectional
•การวิจัยแบบ Case Control
13
ลักษณะการวิจัยแบบ Cohort
• เป็นการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและ
ผลโดยเริ่มต้นจากการรวบรวมจ้า นวนคนที่ มี
ปัจจัยของเหตุซึ่งเรียกว่า Exposure และไม่มี
ปัจจัยของเหตุซึ่งเรียกว่า Non exposure ซึ่ง
ยังไม่เกิดโรค
ความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk)
• คือ อัตราตายจากโรคของตัวอย่างที่มีปัจจัยเสี่ยงกับ
อุ บั ติ ก ารณ์ ข องโรค หรื อ อั ต ราตายจากโรคของ
ตัวอย่างที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง
Relative Risk: RR =
อัตราอุบัติการณ์ของโรคที่มีปัจจัยเสี่ยง
อัตราอุบัติการณ์ของโรคที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง
Relative Risk: RR
• อัตราส่วนของการเกิดโรคในคนที่สัมผัสปัจจัย
เทียบกับการเกิดโรคในคนที่ไม่สัมผัสปัจจัย
การคาท่อ
Yes
No
การผ่าตัด เกินเวลา 121 32 153
ในเวลา 67 105 172
188 137 325
a /( a b)
RR
c
c
d
)
121
//(
153
RR
2.03
67 / 172
ค้าว่า Cohort คือ
•กลุ่ ม ของคนที่ มี ลั ก ษณะบางอย่ า งหรื อ
หลายอย่า งคล้ายกัน เมื่อเริ่มแรกในการ
ติดตามคนเหล่านั้น ซึ่งกลุ่มดังกล่าวจะถูก
ติ ด ตามจากระยะเวลาที่ ร วบรวมเป็ น
Cohort
ค้าว่า Cohort คือ
• ตั ว อย่ า ง เช่ น Cohort ของผู้ ที่ สั ม ผั ส ปั จ จั ย
เสี่ยงบางอย่าง เช่น กัมมันตรังสี หรือ Cohort
ของทหารกลุ่มหนึ่งที่ได้รับการตรวจเลือดเพื่อ
หา Antibody HIV ปัจจัยเสี่ยงของหญิง
ตั้ ง ครรภ์ ที่ ไ ด้ รั บ ที่ อ าจมี ผ ลต่ อ ทารกในครรภ์
ฯลฯ
ประโยชน์ของการวิจัยแบบ cohort
•เป็นการศึกษาจากเหตุน้าไปสู่ผล
•เป็ น รู ป แบบการวิ จั ย ที่ ดี ที่ สุ ด ที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล
เกี่ยวกับอุบัติการณ์ (Incidence) ของโรค
และประวัติการเกิดโรค (Natural history)
ลักษณะงานวิจัยแบบ Cohort
• เป็นการมองไปข้างหน้าจากเหตุสู่ผล
• บางทีเรียก Prospective Study เป็นการ
ติ ด ตามเพื่ อ ค้ น หาผู้ ป่ ว ยใหม่ จึ ง เป็ น การวั ด
อุ บั ติ ก ารณ์ ข องโรค หรื อ เรี ย กว่ า Incidence
study และเป็นการติดตามเพื่อวัดผลบางที
เรียก Follow up study
ประโยชน์ของการวิจัยแบบ cohort
•สามารถเรียงล้าดับเหตุการณ์ของการเกิด
เหตุ (ปัจจัยเสี่ยง) ไปหาผล (โรค)
•การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ท้าให้ทราบอัตรา
การเกิ ด โรคที่ เ รี ย กว่ า อั ต ราอุ บั ติ ก ารณ์
ไม่สามารถหาได้จากการวิจัยประเภทอื่น
ประโยชน์ของการวิจัยแบบ cohort
• สามารถใช้ศึกษาการเกิดผลลัพธ์หลายผลลัพธ์ได้
จากปัจจัยเหตุ (Exposure) ที่สนใจเพียงปัจจัย
เดียวได้ ตัวอย่าง การศึกษาความสัมพันธ์ของ
การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคมะเร็งปอด โรคหัวใจ
และโรคหอบหืด การศึกษาความสัมพันธ์ของการ
ใช้ ย าเม็ ด คุ ม ก้ า เนิ ด กั บ การเกิ ด มะเร็ ง เต้ า นม
มะเร็งรังไข่ โรคเส้นเลือดในสมองตีบ
ประโยชน์ของการวิจัยแบบ cohort
•เกิดอคติน้อยในการวัดปัจจัยเสี่ยงน้อยลง
เนื่องจากวัดปัจจัยเสี่ยงก่อนการเกิดผลขึ้น
•การวิจัยแบบ Cohort
เหมาะสมกับ
การศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่พบน้อย
ประโยชน์ของการวิจัยแบบ cohort
•สามารถวั ด ปั จ จั ย เสี่ ย งได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง
ครบถ้ ว น รวมถึ ง รายละเอี ย ดต่ า ง ๆ
ในช่วงระยะเวลาของการวิจัยได้ด้วย
ประโยชน์ของการวิจัยแบบ cohort
• เหมาะกั บ การวิ จั ย เกี่ ย วกั บ โรคที่ อั น ตรายถึ ง
ชีวิต เช่น โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ ซึ่งการเก็บ
ข้อ มู ล ย้ อ นกลั ง อาจได้ ข้ อ มู ล ไม่ ส มบู ร ณ์ การ
เริ่มที่ปัจจัยแล้วติดตามไปว่ามีอุบัติการณ์โรค
หรือไม่จะเหมาะสมกว่า
ประโยชน์ของการวิจัยแบบ cohort
•ถ้าใช้กลุ่มควบคุมที่เป็น Internal Control
ซึ่ ง เป็ น ประชากรจากแหล่ ง เดี ย วกั น
สามารถก้ า จั ด อคติ ค วามแตกต่ า งของ
ประชากรได้
ข้อเสียท้าวิจัยแบบ Cohort
•สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
•ใช้เวลามาก และแรงงานมาก
•ตัวอย่างหาย
•ผิดกลุ่ม
•ต้องใช้ขนาดตัวอย่างในการศึกษามาก
ข้อเสียท้าวิจัยแบบ Cohort
•มี ปั ญ หาเรื่ อ งการควบคุ ม ปั จ จั ย กวน
(Confounding Factor) เช่น การออก
ก้าลังกายกับการเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ
Confounding Factor คือ การสูบบุหรี่
ข้อเสียท้าวิจัยแบบ Cohort
อาจเกิดอคติในการวัด Outcome การวิจัย
แบบ cohort ไม่สามารถปกปิดสถานะของ
การมี ปั จ จั ย เสี่ ย งได้ ท้ า ให้ ผู้ วั ด ทราบว่ า
ตัวอย่างการวิจัยใดมีหรือไม่มีปัจจัยเสี่ยง
ข้อเสียท้าวิจัยแบบ Cohort
•อาจใช้ระยะเวลายาวนานในการศึกษา ท้า
ให้ ผ ลการวิ จั ย ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ น้ อ ยลง
เนื่ อ งจากอาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงผลการ
วินิจฉัยละรักษา
Cohort study (Internal Control)
ปัจจุบัน
มีปัจจัย
ประชากร
ตัวอย่ าง
ไม่ มีปัจจัย
อนาคต
ป่ วย
ป่ วย
ไม่ ป่วย
ไม่ ป่วย
Cohort study (External Control)
ปัจจุบัน
ประชากร
ตัวอย่ าง
อนาคต
ป่ วย
ไม่ ป่วย
มีปัจจัยเสี่ ยง
ประชากร
ไม่ มีปัจจัยเสี่ ยง
ตัวอย่ าง
ป่ วย
ไม่ ป่วย
การวิจัยแบบ
Case Control
33
Case Control
• จะมีจุดเริ่มต้นของการศึกษา ณ เวลาในปัจจุบันเมื่อมี
ผลลัพธ์ (Outcome) เกิดขึ้นแล้ว
• ผลลัพธ์อาจจะเป็นการเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง
ปอด มะเร็งเม็ดเลือดขาว โรคหัวใจแบบเฉียบพลัน
ฯลฯ หรืออาจเป็นความพิการ
Case Control
•จากผลลั พ ธ์ ที่ ส นใจซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น แล้ ว ใน
ปัจจุบัน จะมองย้อนกลับไปในอดีตเพื่อ
ศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุ (Exposure)
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงและโรค
(Odds Ratio: OR)
• คือ การเปรียบเทียบความชุกการมีปัจจัยเสี่ยงใน
กลุ่มโรคและไม่มีโรค หรือ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ปัจจัยเสี่ยงและโรค Odds Ratio: OR
ความชุ
ก
ของการมี
ป
จ
ั
จั
ย
เสี
ย
่
งในกลุ
ม
่
คนเป็
น
โรค
Odds Ratio: OR =
ความชุกของการมีปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มคนปกติ
Odds Ratio: OR
• อัตราส่วนของการสัมผัสปัจจัยของคนเป็นโรค
เทียบกับ การสัมผัสปัจจัยของคนไม่เป็นโรค
การคาท่อ
Yes
No
การผ่าตัด เกินเวลา 121 32 153
ในเวลา 67 105 172
188 137 325
ad
OR121105
OR
5.93
bc
32 67
ตัวอย่างการวิจัยแบบ Case Control
• การศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการใช้ ย าเม็ ด
คุมก้าเนิดกับการเกิดมะเร็งปากมดลูก
• ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับมะเร็งปอด
• ปัจจัยท้านายการเกิดมะเร็งปากมดลูก
ประโยชน์ของการวิจัยแบบ Case Control
• มีความเหมาะสมกับการศึกษาที่มีผลลัพธ์เกิดได้ยากๆ
หรือโรคที่มีระยะการพัฒนาการเกิดที่ยาวนาน เช่น
การเป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจ
• สามารถท้ า นายปั จ จั ย ได้ ห ลายอย่ า งในการศึ ก ษา
เดียวกัน
• ใช้ระยะเวลาสั้น
ข้อจ้ากัดของการศึกษาแบบ
Case Control
• เกิดอคติที่เรียกว่า Recall Bias, Information Bias
• ค้นหา Case ค่อนข้างยาก
• หา Control ค่อนข้างยาก เกิด Selection Bias
• หา Incident ไม่ได้
A Cross–sectional Analytical study
• การวิจัยแบบ Cross–sectional
จะให้ค้าตอบ
ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง เหตุ แ ละผลได้ เ หมาะสม ถ้ า
ผลลัพ ธ์ที่สนใจไม่สามารถจะเกิดผลต่อปัจจัยเชิง
เหตุได้ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุ
และความดันโลหิต กรณีเช่นนี้ความดันโลหิตไม่ใช่
ปัจจัยที่จะท้าให้อายุเปลี่ยนแปลงได้
Cross–sectional study
• จะให้ ค้ า ตอบความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง เหตุ แ ละผลได้
เหมาะสม ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจไม่สามารถจะเกิดผล
ต่อปัจจัยเชิงเหตุได้ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างอายุและความดันโลหิต กรณีเช่นนี้ความ
ดันโลหิตไม่ใช่ปัจจัยที่จะท้าให้อายุเปลี่ยนแปลงได้
• ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาเพราะไม่ต้องมีการ
ติดตามผลลัพธ์เหมือนการวิจัยแบบ Cohort
ข้อจ้ากัดของการวิจัย
• ไม่สามารเรียงเหตุการณ์การสัมผัสปัจจัย
ก่อนหลังได้
• มีปัญหาการแปลผลเชิงเหตุและผล
Randomized Controlled Trial: RCT
การคัดเลือกกลุ่มทดลองและเปรียบเทียบ
ท้ า โดยวิ ธี ก ารที่ เ รี ย กว่ า Randomization
หรือ Random allocation ทุกกลุ่มมีโอกาส
ได้รับสิ่งแทรกแซงเท่า ๆ กัน
Quasi-experimental
บ า ง ค รั้ ง อ า จ ต้ อ ง แ บ่ ง ก ลุ่ ม ห รื อ ก้ า ห น ด
Intervention
ตามความสมัครใจ เนื่องจาก
ปัญหาด้านจริยธรรม แต่ยังถือเป็นการวิจัยเชิง
ทดลองอยู่ เพราะสิ่งแทรกแซงเป็นสิ่งที่ผู้วิจัย
ก้าหนดขึ้นให้กลุ่มตัวอย่าง
ข้อดีของ experimental
ผู้ วิ จั ย มี ข้ อ มู ล สิ่ ง แทรกแซงอย่ า งถู ก ต้ อ งและ
สมบูรณ์ เช่น ขนาดยาเท่าใด ให้นานเท่าใด
มี ค วามสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง เหตุ แ ละผลมากที่ สุ ด กว่ า
การศึกษารูปแบบอื่น
สามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ได้มาก
เกิดอคติน้อย
ข้อเสียของ experimental
มีปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรม
เสียค่าใช้จ่ายสูง
ใช้เวลามาก
การหาคุณภาพเครื่องมือ
48
ความตรงเชิงเนื้อหา (Validity)
• ผู้เชี่ยวชาญ......3…5… ท่าน
• เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านนั้นๆโดยเฉพาะ
• Precise
• IOC
49
ความเชื่อมั่น (Reliability)
•Knowledge, Attitude, Practice
•Consistency
•ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของแต่ละ
เรื่องไม่น้อยกว่า 0.75
50
อ้านาจจ้าแนก
ทดสอบเพื่อหาความยากง่ายของแบบทดสอบ (P)
และวิเคราะห์ค่าอ้านาจการจ้าแนก (r) โดยใช้เกณฑ์
พิจารณาคือหากค่า P มีค่าตั้งแต่ 0.20 - 0.80 ถือ
ว่าข้อสอบข้อนั้นมีความยากพอเหมาะ และหากค่า
r มีค่าตั้งแต่ 0.20
ขึ้นไปถือว่าข้อสอบข้อนั้นมี
สามารถจ้าแนกคนได้มาก
51
Index of Consistency: IOC
หาค่าความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์โดย
ค่าดัชนีความสอดคล้อง
R
IOC =
N
เมื่อ
IOC คือ ดัชนีความสอดคล้องมีค่าอยู่ระหว่าง -1 ถึง +1
R คือ ผลรวมของการพิจารณาของผู้เชีย่ วชาญ
N
คือ จ้านวนผู้เชี่ยวชาญ
52
การแปลความหมายของค่าดัชนี
ความสอดคล้อง (IOC) ค่า IOC
มากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 ขึ้นไปถือว่า
ข้อสอบกับจุดประสงค์วัดได้
สอดคล้องกัน
53
อารี บุตรสอน
[email protected]
Tel: 08-7228-3918
Thank you
54