สรุป ระเบียบวิธีการวิจยั 1. ความนา 2. ขัน้ ตอนในการทาวิจยั 3. การเขียนแบบเสนอโครงการ 4. การทบทวนวรรณกรรมและผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 5. กรอบคิดและแบบจาลองการวิจยั 6. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 7.

Download Report

Transcript สรุป ระเบียบวิธีการวิจยั 1. ความนา 2. ขัน้ ตอนในการทาวิจยั 3. การเขียนแบบเสนอโครงการ 4. การทบทวนวรรณกรรมและผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 5. กรอบคิดและแบบจาลองการวิจยั 6. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 7.

สรุป ระเบียบวิธีการวิจยั
1. ความนา
2. ขัน้ ตอนในการทาวิจยั
3. การเขียนแบบเสนอโครงการ
4. การทบทวนวรรณกรรมและผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
5. กรอบคิดและแบบจาลองการวิจยั
6. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
7. การเก็บรวบรวมข้อมูล
8.การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการตีความข้อมูล
9.การเขียนรายงานการวิจยั และการนาเสนอผลงานวิจยั
1. ความนา
1.1ความหมายของการวิจยั
การวิจยั (Research) หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าหา
ข้อเท็จจริง หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างมีระเบียบวิธี และมี
จุดมุง่ หมายทีแ่ น่นอน เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ความรู ้ ข้อเท็จจริงทีเ่ ชื่อถือได้
และมีขนั้ ตอนการศึกษาค้นคว้าด้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์
R = Recruitment & Relationships
- การฝึ กคนให้มคี วามรู ้ การรวมผูม้ คี วามรู ้ การติดต่อ
ประสานงานกัน
E = Education & Efficiency
- ต้องมีการศึกษา มีความรู ้ และมีประสิทธิภาพ
S = Sciences & Stimulation
- ต้องมีการพิสูจน์ ค้นคว้าหาความจริง มีแรงกระตุน้
ภายใน มีความคิดสร้างสรรค์และกระตือรือร้น
E = Evaluation & Environment
- รูจ้ กั การประเมินผลถึงประโยชน์ทไ่ี ด้รบั และรูจ้ กั ใช้
เครื่องมือในการวิจยั
A = Aim & Attitude
- มีจดุ มุง่ หมายและเป้ าหมายทีแ่ น่นอน มีทศั นคติตดิ ตาม
ผลการวิจยั
R = Result
- ต้องยอมรับผลการวิจยั
C = Curiosity
- มีความอยากรูอ้ ยากเห็น สนใจและค้นคว้าอยู่เสมอ
H = Horizon
- ผลการวิจยั ทาให้ทราบและเข ้าใจปัญหา
-ลักษณะสาคัญของการแสวงหาความรูจ้ ากการวิจยั 3 ประการ
(1) มีจดุ มุง่ หมายทีแ่ น่นอน
(2) มุง่ ศึกษาค้นคว้าหาข ้อเท็จจริง
(3) ศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบระเบียบและมีขนั้ ตอน
1.2วิธีการแสวงหาความรู ้
1. ถามจากผูร้ ู ้ (By Authority)
2. จากประสบการณ์ (By Personal Experience) เช่น จากสิง่ ที่
เห็น จากการลองผิดลองถูก
3. จากขนบธรรมเนียมประเพณี (By Traditional) เช่น การแต่ง
กาย การใช้คาพูด
4. วิธกี ารอนุมาน (Deductive Method)
-ข้อเท็จจริงใหญ่ : คนใต้นบั ถือศาสนาอิสลาม
-ข้อเท็จจริงย่อย : ปัญญาเป็ นคนใต้
-ข้อสรุป : ปัญญานับถือศาสนาอิสลาม
5. วิธกี ารอุปมาน (Inductive Method)
- เป็ นการแสวงหาความรูจ้ ากข้อเท็จจริงย่อยๆทุกหน่ วย
ประชากรหรือจากกลุม่ ตัวอย่าง แล้วจึงรวบรวม วิเคราะห์ และสรุป
ไปสู่ข ้อเท็จจริงใหญ่
6. วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
- เป็ นวิธที ใ่ี ช้ทงั้ วิธกี ารอนุมานและวิธกี ารอุปมาน เรียกว่า
“ความคิดแบบใคร่ครวญรอบคอบ” (Reflective Thinking)
- มี 5 ขัน้ ตอน
(1) ขัน้ กาหนดปัญหา (Problem)
(2) ขัน้ ตัง้ สมมติฐาน (Hypothesis)
(3) ขัน้ การรวบรวมข้อมูล (Gathering Data)
(4) ขัน้ วิเคราะห์ข ้อมูล (Analysis)
(5) ขัน้ สรุป (Conclusion)
1.3 วัตถุประสงค์ในการทาวิจยั
1) เพือ่ ศึกษาเรื่องราวนัน้ โดยละเอียด เป็ นการวิจยั เชิงบรรยาย
(descriptive research)
2) เพือ่ เพิม่ พูนความรูแ้ ละประสบการณ์หรือรับเอาความรูใ้ หม่ทไ่ี ด้
จากการวิจยั
3) เพือ่ กาหนดความสัมพันธ์ขอตัวแปร นาไปสู่การตัง้ สมมติฐาน
และทฤษฎีใหม่ๆ
4) เพือ่ ทดสอบสมมติฐานหรือทฤษฎี
- วัตถุประสงค์ของการวิจยั ทางสังคมศาสตร์
1) เพือ่ สารวจข ้อเท็จจริงทีเ่ กิดขึ้นในสังคม หรือเพือ่ ความเป็ นไป
ได้ในการทาวิจยั เรื่องอืน่ ๆต่อไป
2) เพือ่ อธิบายความเป็ นอยู่ของคนในสังคม
3) เพือ่ ประเมินประเด็นต่างๆทางสังคมและผลกระทบทีม่ ตี ่อ
สังคมนัน้ ๆ
4) เพือ่ พยากรณ์หรือคาดการณ์ในอนาคต
5) เพือ่ พัฒนาหรือทดสอบทฤษฎี
6) เพือ่ เข ้าใจพฤติกรรมและการกระทาของมนุษย์
7) เพือ่ เป็ นพื้นฐานในการวิจารณ์สง่ิ ทีเ่ กิดขึ้นในสังคม
8) เพือ่ เสนอแนะทางออกต่างๆทีเ่ ป็ นไปได้ เพือ่ การแก้ไขปัญหา
สังคม
1.4 ประโยชน์ของการวิจยั
1) ช่วยให้ได้ความรูใ้ หม่
2) ช่วยพิสูจน์และตรวจสอบความถูกต้องของกฎเกณฑ์ หลักการ
และทฤษฎีต่าง ๆ
3) ช่วยให้เข้าใจและพยากรณ์สถานการณ์ ปรากฏการณ์ และ
พฤติกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง
4) สามารถใช้ผลการวิจยั ประกอบการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ
ตลอดจนนาผลการวิจยั ไปแก้ปญั หาได้
5) ช่วยปรับปรุงการทางานให้มปี ระสิทธิภาพ ปรับปรุงสถานภาพ
ความเป็ นอยู่ และการดารงชีวติ ให้ดยี ง่ิ ขึ้น
1.5ลักษณะของการวิจยั
การวิจยั ทีด่ คี วรมีลกั ษณะสาคัญ ดังนี้
1) การวิจยั เป็ นการค้นคว้าทีต่ อ้ งอาศัยความรู ้ ความชานาญ และ
ความมีระบบ
2) การวิจยั เป็ นงานทีม่ เี หตุผลและมีเป้ าหมาย
3) การวิจยั ต้องมีเครื่องมือ หรือเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล
4) การวิจยั ต้องมีการรวบรวมข ้อมูลใหม่ และได้ความรูใ้ หม่
5) การวิจยั มักเป็ นการศึกษาค้นคว้าทีม่ งุ่ หาข้อเท็จจริง
6) การวิจยั ต้องอาศัยความเพียรพยายาม ความซือ่ สัตย์ กล ้าหาญ
7) การวิจยั จะต้องมีการบันทึก และเขียนรายงานการวิจยั อย่าง
ระมัดระวัง
-วิธีการวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์ มี 2 วิธี
1) Normative Economics เป็ นการศึกษาว่าสิง่ ต่างๆควรจะ
เป็ นอย่างไรจึงจะถูกต้องและเหมาะสม เช่น เกษตรกรจะต้องทา
เกษตรแบบใดหรืออย่างไรจึงจะมีรายได้สูงทีส่ ุดหรือดีท่สี ุด
2) Positive Economics เป็ นการศึกษาว่าสิง่ ทีศ่ ึกษาเป็ นอย่างไร
เช่น เศรษฐกิจของเกษตรกรทีท่ าเกษตรแตกต่างกันมีรายได้แตกต่าง
กันอย่างไร
- การวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์
การทาการวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์จะเกี่ยวข้องและครอบคลุมเรื่อง
ต่าง ๆ ดังนี้
1) เป็ นการค้นคว้าหาความจริงและหลักเกณฑ์ในการจัดสรรเพือ่ ให้
เกิดประโยชน์สูงสุด
2) การบริโภค การจาแนกแจกจ่าย การแลกเปลีย่ น การ
เปลีย่ นแปลงขององค์กรและกระบวนการทางเศรษฐกิจ
3) การศึกษาหาหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบตั ใิ นการกาหนด
นโยบาย การวางแผน และมาตรการต่าง ๆ
4) การขยายตัวขององค์กรทางเศรษฐกิจ การทานายพฤติกรรม
และเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของมนุษย์และองค์กรเศรษฐกิจ
- ผูว้ ิจยั ทางเศรษฐศาสตร์ควรพิจารณา
1. สถาบัน ในส่วนขององค์ประกอบของสถาบันหรือองค์กร
กระบวนการหรือพฤติกรรมองค์กร และนโยบายขององค์กร
2. กฎ ทฤษฎี และสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์
กฎ คือ ข้อเท็จจริงทีส่ ามารถอธิบายเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึ้น
สามารถทดสอบได้ และเป็ นจริงเสมอ เช่น กฎอุปสงค์ ทีว่ ่า หาก
ราคาสินค้าเพิม่ สูงขึ้นอุปสงค์หรือความต้องการซื้อจะลดลง(หรือมีการ
เปลีย่ นแปลงในทิศทางตรงกันข้ามระหว่างราคาสินค้ากับอุปสงค์)
ทฤษฎี คือ แนวความคิดหรือตัวแปรหลายตัว ทีจ่ ดั ไว้อย่าง
เป็ นระบบและแสดงความสัมพันธ์กนั เช่น ทฤษฎีการบริโภคของ
เคนส์ ทีก่ ล่าวว่า การบริโภคขึ้นอยู่กบั รายได้หลังหักภาษีแล้ว
สมมติฐาน คือ ข้อเท็จจริงทีร่ ะบุถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
หรือระหว่างข้อความในเชิงทีส่ ามารถทาการทดสอบได้ โดยทัว่ ไป
สมมติฐานเป็ นส่วนหนึ่งของทฤษฎี เช่น รายได้หลังหักภาษีจะมี
ความสัมพันธ์กบั การบริโภคในทิศทางเดียวกัน
3. วิธีการ (Methodology) เป็ นวิธที จ่ี ะใช้ในการทดสอบการวิจยั
1.) วิธกี ารวิเคราะห์ พิจารณาวิธกี ารวิเคราะห์ สมมติฐานทีใ่ ช้
และการทดสอบสมมติฐาน
2.) การเก็บข ้อมูล ได้แก่ ประเภทข้อมูล(ปฐมภูมหิ รือทุตยิ ภูม)ิ
แหล่งทีม่ าข้อมูล และหน่วยวัด
3.) การตีความหมาย เป็ นการตีความหมายของผลลัพธ์ทไ่ี ด้ว่าเป็ น
อย่างไร มีความหมายอย่างไร
1.6ประเภทของการวิจยั
1. การจาแนกตามเหตุผลของการวิจยั แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1) การวิจยั เบื้องต้นหรือการวิจยั พื้นฐานหรือการวิจยั บริสุทธิ์
(Basic or Pure or Theoretical Research) เป็ นการวิจยั เพือ่ หา
ความรูใ้ หม่ มุง่ สร้างแนวคิดหรือทฤษฎีทจ่ี ะอธิบายให้เกิดความเข้าใจ
เหตุการณ์ หรือเพิม่ พูนความรูท้ างวิชาการ หรือพัฒนาแนวคิดหรือ
ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้อง
2) การวิจยั ประยุกต์ (Applied or Practical or Action
Research) มุง่ ใช้ความรูใ้ ห้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบตั โิ ดยตรง เช่น
ใช้ในการแก้ไขปัญหา ใช้ประกอบการตัดสินใจ เพือ่ พัฒนา เพือ่
ปรับปรุงโครงการให้ดขี ้นึ
3) การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร (Action Research) ศึกษาเฉพาะทีห่ รือ
หน่วยงานเพือ่ นาผลทีไ่ ด้มาแก้ปญั หาทีเ่ กิดขึ้นโดยตรงในการทางาน
เพือ่ ปรับแก้การทางานให้ดขี ้นึ
2. จาแนกตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1) การวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research) มุง่ ศึกษา
ข้อเท็จจริงและสภาพของปัญหาในปัจจุบนั เพือ่ ตอบคาถาม “อะไร”
“อย่างไร” “ทีไ่ หน” มากกว่าคาถาม “ทาไม” ใช้วธิ วี เิ คราะห์อย่างง่าย
เช่น หาผลรวม ความถี่ ค่าเฉลีย่ ค่าร้อยละ และค่าอัตราการ
ขยายตัว เป็ นต้น
2) การวิจยั เชิงอธิบาย (Explanatory Research) มุง่ ศึกษาเพือ่
ตอบคาถามว่า “ทาไม” และ “อย่างไร” เพือ่ ชี้ให้เห็นความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรในเชิงเหตุและผล
3. การจาแนกตามวิธีการศึกษา แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1) การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็ นการศึกษา
โดยการอธิบายตามเนื้อหาทีไ่ ด้จากการศึกษา ใช้ข ้อมูลทางคุณภาพมา
วิเคราะห์และเสนอผลการศึกษาในรูปคาพูดเพือ่ บรรยายเหตุการณ์
ต่างๆ โดยไม่มตี วั เลขมาสนับสนุนการวิเคราะห์
2) การวิจยั เชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็ น
การศึกษาโดยใช้การทดสอบทางสถิตมิ ตี วั เลขประกอบการศึกษาหรือใช้
ข้อมูลเป็ นตัวเลขมาวิเคราะห์ และเสนอผลการวิจยั เป็ นตัวเลขยืนยัน
4. การจาแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งเป็ น 4 วิธี
1) การวิจยั จากเอกสาร (Documentary Research) ส่วนใหญ่
ใช้ศึกษาทางประวัตศิ าสตร์ เช่น จากจดหมายเหตุ บันทึก
2) การวิจยั แบบสามะโน (Census Research) การศึกษาทีเ่ ก็บ
รวบรวมข ้อมูลจากหน่วยศึกษาหรือประชากรทัง้ หมด ครอบคลุมพื้นที่
กว้าง ใช้งบประมาณ กาลังคน และระยะเวลามาก
3) การวิจยั แบบสารวจ (Survey Research) การศึกษาทีเ่ ก็บ
รวบรวมข ้อมูลเพียงบางส่วนของประชากรมาวิเคราะห์ และนาค่าทีไ่ ด้
ไปอธิบายลักษณะของประชากรทัง้ หมด
4) การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research) การศึกษา
โดยอาศัยการทดลองอย่างมีระเบียบแบบแผนและมีวตั ถุประสงค์ท่ี
แน่นอน
4. การแบ่งตามชนิ ดของข้อมูล แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1) การวิจยั เชิงประจักษ์ (Empirical Research) ผูว้ จิ ยั จะ
ไม่สามารถใช้ทศั นคติของตนเองเข้าไปในผลการศึกษา ผลการศึกษาจะ
ได้จากการศึกษาเท่านัน้ นาเฉพาะข ้อเท็จจริงทีไ่ ด้มาเป็ นผลการศึกษา
2) การวิจยั เชิงวิพากษ์วจิ ารณ์ (Non-empirical Research)
เป็ นการศึกษาทีใ่ ช้ผูว้ จิ ยั สามารถใส่ความเห็นของตนในการวิจยั ร่วมด้วย
5. การแบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูล แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1) การวิจยั สนาม (Field Research) โดยการออก
แบบสอบถามหรือโดยการสัมภาษณ์ เป็ นการเก็บข้อมูลโดยผูว้ จิ ยั เอง
2) การวิจยั จากเอกสาร (Document Research) โดยการ
เก็บรวบรวมข ้อมูลทีม่ ผี ูเ้ ก็บรวบรวมข้อมูลไว้แล้ว แล้วนาข้อมูลนัน้ มา
ศึกษา
6. การแบ่งตามระเบียบวิธีการวิจยั แบ่งเป็ น 3 ประเภท
1) การวิจยั เชิงประวัตศิ าสตร์ (Historical Research) มุง่
หาข ้อเท็จจริงในอดีตทีผ่ ่านมา โดยวิธกี ารทางวิทสาศาสตร์
2) การวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research) การ
บรรยายปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึ้นในสภาพทีเ่ ป็ นอยู่ใน
ปัจจุบนั
3) การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research) ใช้
วิธกี ารวิจยั ทางวิทยาศาสตร์คน้ หาข้อเท็จจริงของตัวแปรที่ศึกษา มีการ
ทดลอง และควบคุมตัวแปร
1.7 กระบวนการวิจยั
- กระบวนการวิจยั เชิงปริมาณ ประกอบด้วยขัน้ ตอนต่าง ๆ ดังนี้
1.) การเลือกหัวข้อเรื่องทีจ่ ะทาการวิจยั (Research a Topic)
2.) การกาหนดปัญหาในการวิจยั (Formulating the Research
Problem)
3.) การสารวจวรรณกรรม (Extensive Literature Survey)
4.) การตัง้ สมมติฐานการวิจยั (Formulating Hypothesis)
5.) การออกแบบการวิจยั (Research Design)
6.) การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
7.) การวิเคราะห์ข ้อมูล (Data Analysis)
8.) การเขียนรายงานผลการวิจยั และจัดพิมพ์เผยแพร่ (Research
Report)
- กระบวนการวิจยั เชิงคุณภาพ ประกอบด้วย
1.) การกาหนดปัญหาในการวิจยั
2.) การสารวจวรรณกรรม
3.) การเก็บรวบรวมข้อมูล
4.) การวิเคราะห์ข ้อมูลและเสนอรายงานผลการวิจยั
- กระบวนการวิจยั ทางสังคมศาสตร์
ปรัชญาการศึกษาหาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์
ประวัติพฒั นาการ
ความอยากรู ้ ปรากฏการณ์ แนวความคิดทางทฤษฎี
ประเด็นปั ญหาของการวิจยั
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
ออกแบบการวิจยั
การกาหนดขอบเขตประชากร
การกาหนดแนวคิดทางทฤษฎี
เลือกตัวอย่าง
สร้างเครื่ องมือในการรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูล
ประมวลผล
เชิงคุณภาพ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
เสนอรายงาน
เชิงปริ มาณ
-ความเข้าใจผิดบางประการเกี่ยวกับการวิจยั
1) ต้องมีขนาดใหญ่ ใช้เงิน บุคลากร และเครื่องมือจานวนมาก
2) ต้องเริ่มต้นทีแ่ บบสอบถาม
3) ต้องใช้ข ้อมูลปฐมภูมจิ ากแบบสอบถาม
4) ผูบ้ ริหารไม่ให้ความเชื่อถือ
5) ต้องใช้คณิตศาสตร์หรือสถิตชิ นั้ สูง
2. ขัน้ ตอนในการทาการวิจยั
ประกอบด้วยขัน้ ตอนต่าง ๆ ดังนี้
1.) การเลือกหัวข้อเรื่องทีจ่ ะทาการวิจยั (Research a Topic)
2.) การกาหนดปัญหาในการวิจยั (Formulating the Research
Problem) และวัตถุประสงค์การวิจยั
3.) การสารวจวรรณกรรมหรือการทบทวนวรรณกรรมและ
ผลงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง (Extensive Literature Survey)
4.) การกาหนดแนวคิดและตัวแปร
5.) การตัง้ สมมติฐานการวิจยั (Formulating Hypothesis)
6.) การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
7.) การวิเคราะห์ข ้อมูล (Data Analysis)
8.) การสรุปผลการวิจยั
9.) การเขียนรายงานผลการวิจยั และนาเสนอผลการวิจยั
(Research Report)
3. การเขียนข้อเสนอโครงการหรือแบบเสนอโครงการหรือ
โครงร่างการวิจยั (Proposal)
3.1 ความหมาย
โครงร่างการวิจยั เป็ นการวางแผนล่วงหน้าก่อนลงมือทาการ
วิจยั เป็ นการกาหนดว่าจะทาการวิจยั เรื่องใด(ชื่อเรื่อง) เรื่องทีจ่ ะทา
วิจยั มีความสาคัญอย่างไร มีความสมเหตุสมผลทีจ่ ะทาหรือไม่
(ความสาคัญของปัญหา) วัตถุประสงค์และเป้ าหมายของการวิจยั คือ
อะไร มีขอบเขตครอบคลุมแค่ไหนในการวิจยั มีสมมติฐานการวิจยั
หรือไม่ และจะได้ประโยชน์อะไรจากการวิจยั ตลอดจนการกาหนด
แนวทางในการวิจยั ว่าจะใช้ทฤษฎี แบบจาลองอะไร การเก็บรวบรวม
ข้อมูล และการกาหนดเครื่องมือในการวิเคราะห์
แบบเสนอโครงการวิจยั (Research Proposal) คือโครงร่าง
ของการวิจยั ทีใ่ ช้เพือ่ รับการสนับสนุนทางการเงิน(เพือ่ เสนอให้อาจารย์ท่ี
ปรึกษาเห็นชอบหรืออนุมตั กิ ารวิจยั :กรณีการศึกษา)
3.2 ส่วนประกอบของแบบเสนอโครงการวิจยั โดยทัว่ ไป
ประกอบด้วยส่วนประกอบดังต่อไปนี้
1.) ชื่อเรื่องทีจ่ ะทาการวิจยั (research topic)
2.) ความสาคัญของปัญหา (background and significance)
3.) วัตถุประสงค์ของการวิจยั (research objectives)
4.) ขอบเขตของการวิจยั (scope of research )
5.) สมมติฐานการวิจยั (research hypothesis)
6.) วิธกี ารวิจยั (research methodology)
7.) แนวความคิดทางทฤษฎี และวรรณกรรมทีเ่ กี่ยวข้อง
(review of the related literature)
8.) แผนการวิจยั (research plan or research design)
9.) ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั (expected result and
application)
10.) คานิยามศัพท์ (term definition)
11.) งบประมาณ (budget)
12.) เอกสารอ้างอิง (reference) หรือบรรณานุกรม
(bibliography)
13.) ประวัตผิ ูว้ จิ ยั (the researcher)
3.3 หลักการเขียนแบบเสนอโครงการ
1. ชื่อเรื่องที่จะทาการวิจยั
- ชื่อเรื่องอาจมีทงั้ ภาษไทยและภาษาอังกฤษ
- การกาหนดหัวข้อการวิจยั เป็ นเพียงการเริ่มต้นแนวคิดว่าผูว้ จิ ยั
จะทาวิจยั ในเรื่องอะไร หรือประเด็นอะไร การกาหนดหัวข้อเรื่องการ
วิจยั นับเป็ นเรื่องทีส่ าคัญมากทีส่ ุดในการวิจยั เพราะถ้าเลือกเรื่องวิจยั
ทีเ่ หมาะสม ก็จะมีผลต่อความสาเร็จในการวิจยั นัน้ ๆ แต่ถา้ เลือก
เรื่องทีไ่ ม่เหมาะสมก็อาจพบปัญหาในภายหลัง จนอาจทาให้การวิจยั
ล้มล้มเลิกไปได้
-แหล่งที่จะช่วยให้ผูว้ จิ ยั สามารถพบหัวเรื่องและเลือกปัญหาดด้
1.) รายงานการวิจยั ทีผ่ ูอ้ น่ื วิจยั แล้ว
2.) การเข้าร่วมสัมมนา
3.) การสารวจวรรณกรรม
4.) แหล่งทุนอุดหนุนการวิจยั
5.) หน่วยงานทีผ่ ูว้ จิ ยั ทางานอยู่
6.) ผูท้ าการวิจยั เอง
-หลักเกณฑ์สาคัญที่ควรพิจารณาในการเลือกหัวข้อเรื่องวิจยั
1.) ความสาคัญของปัญหา
2.) ความเป็ นไปได้ในการวิจยั
3.) ความน่าสนใจและความทันสมัย
4.) ความสนใจของผูว้ จิ ยั
5.) ความสามารถในการบริหารงานวิจยั
- แนวทางการปฏิบตั ใิ นการตัง้ ชื่อเรื่องวิจยั มีดงั นี้
1.) ชื่อเรื่องควรกระทัดรัดและมีความชัดเจน
2.) ชื่อเรื่องต้องแสดงถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร
3.) ภาษาทีใ่ ช้ตอ้ งชัดเจน เข้าใจง่าย และเป็ นศัพท์ท่ยี อมรับ
4.) ชื่อเรื่องต้องไม่ซา้ ซ้อนกับของผูอ้ น่ื แม้ประเด็นการศึกษาจะ
คลายกัน
5.) ใช้คาทีม่ คี วามหมายเป็ นกลาง ๆ โดยไม่มคี าทีเ่ ป็ นการ
ตัดสินใจในด้านคุณค่า
6.) ใช้ช่อื เรื่องเป็ นสือ่ บอกขอบเขตการวิจยั
7.) ชื่อเรื่องไม่จาเป็ นต้องบอกทุกอย่างไว้ในเรื่อง
8.) ขึ้นต้นชื่อเรื่องด้วยคานาม
2. ความสาคัญของปัญหา
-ต้องมีการแสดงสภาพทัว่ ไปของปัญหา เหตุผลและความจาเป็ น
ทีต่ อ้ งทาการวิจยั ในเรื่องนัน้ อาจมีการอ้างอิงข้อมูลสนับสนุนประเด็น
ปัญหาทีส่ าคัญ
-สรุปถึงมูลเหตุทท่ี าการวิจยั ในเรื่องนัน้
-งานวิจยั จะได้รบั การอนุมตั ใิ ห้ดาเนินการหรือไม่ก็ข้นึ อยู่กบั
ความสาคัญของปัญหานัน้ ๆว่ามีความสาคัญหรือความจาเป็ นมากน้อย
เพียงใดจึงต้องทาการศึกษาวิจยั
-การเขียนให้เขียนจากขอบเขตทีก่ ว้างหรือใหญ่ก่อน แล้วค่อย
เล็กลงมาเรื่อยๆ เช่น ภาพกว้างของประเทศสู่ภาพของจังหวัดแล้วจึง
นาสู่เรื่องทีศ่ ึกษา แต่บางครัง้ ก็กล่าวถึงหลักการหรือทฤษฎีก่อน แล้ว
จึงกล่าวถึงเรื่องทีศ่ ึกษา
3. วัตถุประสงค์ของการวิจยั (research objectives)
-ระบุให้ชดั เจนว่า ศึกษาประเด็นปัญหาอะไรบ้าง
-ควรเชื่อมโยงกับความสาคัญของปัญหาและขอบเขตในการวิจยั
-หากมีหลายวัตถุประสงค์ให้แยกออกเป็ นข้อ ๆ เรียงตามลาดับ
ความสาคัญและความเชื่อมโยงกัน หรือเรียงตามลาดับสิง่ ทีศ่ ึกษา
-ต้องสามารถดาเนินการตามได้
-การเขียนให้ข้นึ ต้น “เพือ่ ..........”
4. ขอบเขตของการวิจยั (scope of research )
-ควรกาหนดขอบเขตการวิจยั ไว้เฉพาะในส่วนทีต่ อ้ งการศึกษา
ได้แก่
-ขอบเขตของเรื่องหรือประเด็นทีศ่ ึกษาว่าศึกษาอะไรบ้าง
- ขอบเขตในเรื่องของช่วงเวลาของข้อมูลทีจ่ ะศึกษา เช่น
ศึกษาช่วงปี 2530-2545
-ขอบเขตสถานทีห่ รือพื้นทีท่ จ่ี ะรวบรวมข ้อมูล บางครัง้ ชื่อ
เรื่องทีศ่ ึกษาก็บง่ บอกถึงสถานทีศ่ ึกษาแล้ว ถ้าชื่อเรื่องไม่บง่ บอก
สถานทีศ่ ึกษาก็ให้ระบุเพิม่ ถึงสถานทีท่ ศ่ี ึกษา
-ขอบเขตทีเ่ กี่ยวกับคุณลักษณะของตัวแปรทีจ่ ะศึกษา เช่น
อาชีพ สินค้า
- ในบางครัง้ อาจมีข ้อตกลงในการวิจยั ว่าในการศึกษาครัง้ นัน้
เรื่องหรือประเด็นหรือข้อความดังกล่าวหมายถึงอะไร
-นอกจากนี้แล้วยังอาจจะระบุว่าไม่ศึกษาถึงประเด็นใดบ้างเพือ่
บ่งบอกเสมือนเป็ นขอบเขตศึกษาว่าไม่ได้ศึกษาเรื่องดังกล่าวด้วย เช่น
...โดยไม่ศึกษาถึง......
-บางครัง้ ก็มขี ้อจากัดของการศึกษาวิจยั ด้วยก็ได้ หรืออาจจะ
แยกเป็ นอีกหัวข้อหนึ่งก็ได้
5. สมมติฐานการวิจยั (research hypothesis)
-สมมติฐาน (Hypothesis) คือ คาตอบทีค่ าดการณ์
ความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ทีม่ ผี ลต่อปัญหาที่
ศึกษา เป็ นการคาดคะเนคาตอบไว้ลว่ งหน้า เพือ่ ทีจ่ ะทดสอบด้วย
ข้อเท็จจริง (empirical data) ว่ามีความถูกต้องหรือไม่
-เป็ นการคาดคะเนคาตอบของปัญหาทีจ่ ะวิจยั เปรียบเสมือน
เป้ าหมายทีต่ งั้ ไว้ลว่ งหน้าว่า งานวิจยั นี้ตอ้ งการตอบคาถามหรือพิสูจน์
อะไร
-ต้องมีลกั ษณะทีช่ ดั เจน สอดคล ้องกับปัญหาและวัตถุประสงค์
ของการวิจยั
-แหล่งที่มาที่ช่วยให้ผูว้ จิ ยั สามารถตัง้ สมมติฐานดด้ถกู ต้อง
1.) ทฤษฎีและแนวความคิดทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับกันโดยทัว่ ไปใน
ศาสตร์แต่ละสาขา
2.) จากผลงานวิจยั ทีม่ ผี ูเ้ คยศึกษามาแล ้ว
3.) จากการได้ร่วมสนทนาหรืออภิปรายกับผูเ้ ชี่ยวชาญใน
เรื่องนัน้
4.) การเปรียบเทียบกับศาสตร์ในสาขาวิชาอืน่ ๆ
5.) จากการสังเกตพฤติกรรมความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ
และการวิเคราะห์แนวโน้มของพฤติกรรมนัน้ ๆ
6.) จากประสบการณ์เบื้องต้นของผูศ้ ึกษาเอง
-แนวทางการตัง้ สมมติฐานที่ดี มีดงั นี้
1.) สมมติฐานทีต่ งั้ จะต้องสอดคล้องกับจุดมุง่ หมายของการศึกษา
และเป็ นแนวทางเดียวกัน
2.) สมมติฐานทีต่ งั้ จะต้องมีแนวคิดทีช่ ดั เจนรัดกุมไม่คลุมเครือ
ให้ความหมายในเชิงปฏิบตั ไิ ด้อย่างดี
3.) สมมติฐานทีต่ งั้ จะต้องอธิบายหรือตอบคาถามได้หมด
ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน
4.) สมมติฐานทีต่ งั้ แต่ละข้อควรใช้ตอบปัญหาเพียงประเด็นเดียว
ถ้ามีหลายตัวแปรหรือหลายประเด็นควรแยกเป็ นสมมติฐานย่อย
5.) สมมติฐานทีต่ งั้ จะต้องสอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริงที่
ยอมรับกันโดยทัว่ ไป
6.) สมมติฐานทีต่ งั้ จะต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู ้
พื้นฐาน
7.) สมมติฐานทีต่ งั้ จะต้องสามารถตรวจสอบได้ มีข ้อมูลและ
หลักฐานทีจ่ ะนามาพิสูจน์ได้
8.) สมมติฐานทีต่ งั้ จะต้องเขียนด้วยถ้อยคาทีเ่ ข้าใจง่ายและชัดเจน
ในตัวเอง
9.) สมมติฐานทีต่ งั้ ควรคานึงถึงเทคนิคและความก้าวหน้าของ
ศาสตร์ในสาขานัน้ ๆ
10.) สมมติฐานทีต่ งั้ หากสามารถระบุให้ละเอียดลึก หรือเป็ นเชิง
ปริมาณได้จะทาให้ได้คาตอบทีช่ ดั เจนมาก
11.) สมมติฐานทีด่ คี วรมีอานาจในการพยากรณ์สูง
-สมมติฐานของการวิจยั (Research Hypothesis) เป็ น
สมมติฐานทีเ่ ขียนอยู่ในรูปของข้อความทีอ่ ธิบายความสัมพันธ์ของตัว
แปรทีศ่ ึกษา แบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ
1.) สมมติฐานแบบมีทศิ ทาง (Directional Hypothesis)
-การสูบบุหรี่กบั การเป็ นโรคมะเร็งมีความสัมพันธ์ในเชิงบวก
(ทิศทางเดียวกัน)
-อัตราดอกเบี้ยและการลงทุนมีความสัมพันธ์ในทางกลับกัน
(ทิศทางตรงกันข ้ามกัน)
2. )สมมติฐานแบบดม่มีทศิ ทาง (Non-directional
hypothesis)
-การสูบบุหรี่กบั การเป็ นโรคมะเร็งมีความสัมพันธ์กนั
-หญิงและชายมีความสนใจการเมืองแตกต่างกัน
-สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) เป็ นสมติฐาน
ทีเ่ ขียนในรูปโครงสร้างทางคณิตศาสตร์เพือ่ อธิบายความสัมพันธ์ตวั แปร
(1) สมมติฐานเป็ นกลาง หรือสมมติฐานหลัก (Null Hypothesis :H0)
(2) สมมติฐานดม่เป็ นกลาง หรือสมมติฐานรองหรือสมมติฐาน
ทางเลือก (Alternative Hypothesis :Ha)
H0 : รายได้เฉลีย่ ของเกษตรกรในภาคเหนือและภาคกลางไม่มคี วาม
แตกต่างกัน
Ha : รายได้เฉลีย่ ของเกษตรกรในภาคเหนือมีนอ้ ยกว่าในภาคกลาง
H0 : อัตราดอกเบี้ยและการลงทุนไม่มคี วามสัมพันธ์กนั
Ha : อัตราดอกเบี้ยมีความสัมพันธ์กบั การลงทุนในทิศทางตรงกัน
ข้ามกัน(หรือเชิงลบ)
-อย่างไรก็ตามบางการศึกษาไม่ตอ้ งมีสมมติฐานก็ได้ และบาง
ครัง้ ก็นาเอาสมมติฐานไปไว้ในวิธกี ารวิจยั โดยอยู่ส่วนต่อจาก
แบบจาลองทีใ่ ช้ในการวิจยั
6. วิธีการวิจยั (research methodology) แยกเป็ น
6.1 วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ประเภทของข้อมูลทีใ่ ช้
6.1.1 ข้อมูลปฐมภูมิ
- ระบุวธิ กี ารทีจ่ ะได้มาซึง่ ข้อมูลนัน้ ๆ ว่าจะได้มา
โดยการสัมภาษณ์ สอบถาม หรือจากการสังเกตการณ์
- กรณีทเ่ี ลือกตัวอย่างต้องระบุขนาดของ
ประชากร และจานวนตัวอย่าง วิธกี ารสุ่มตัวอย่าง เครื่องมือในการ
เก็บรวบรวมข ้อมูลโดยสรุป (เฉพาะเนื้อหาของแบบสอบถาม) ช่วงเวลา
การเก็บข ้อมูล โดยแสดงสูตรทีใ่ ช้ในการสุ่มจานวนตัวอย่างและ
แสดงผลการสุ่มตัวอย่างด้วย
6.1.2 ข้อมูลทุตยิ ภูมิ ให้ระบุข ้อมูลทีต่ อ้ งการและ
แหล่งทีม่ าของข ้อมูล
6.2 วิธกี ารวิเคราะห์ข ้อมูล ให้กล่าวถึงเทคนิคทีใ่ ช้ในการ
วิเคราะห์ข ้อมูล โดยทัว่ ไปมี 2 วิธี
- การวิเคราะห์ข ้อมูลเชิงพรรณนา ใช้วธิ วี เิ คราะห์อย่าง
ง่าย เช่น หาผลรวม ความถี่ ค่าเฉลีย่ ค่าร้อยละ และค่าอัตราการ
ขยายตัว เป็ นต้น
- การวิเคราะห์ข ้อมูลเชิงปริมาณ เป็ นการศึกษาโดยใช้
การทดสอบทางสถิตมิ ตี วั เลขประกอบการศึกษาหรือใช้ข ้อมูลเป็ นตัวเลข
มาวิเคราะห์ และเสนอผลการวิจยั เป็ นตัวเลขยืนยัน
-อย่างไรก็ตาม บางครัง้ อาจแบ่งเป็ นหัวข้อ วิธกี ารเก็บรวบรวม
ข้อมูล เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ข ้อมูล วิธกี ารวิเคราะห์ข ้อมูล
แบบจาลองทีใ่ ช้ในการศึกษา และสมมติฐานความสัมพันธ์ของตัวแปร
ในแบบจาลองหรือสมมติฐานของการศึกษานัน่ เอง
-แบบจาลองการวิจยั คือ รูปแบบทีส่ ร้างขึ้นเพือ่ เป็ นแนวทางใน
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ
-องค์ประกอบสาคัญของแบบจาลองการวิจยั ประกอบด้วย
องค์ประกอบสาคัญ 3 ส่วน
1.) ปรากฏการณ์ คือ สิง่ ทีเ่ กิดขึ้นหรือสังเกตได้
2.) ทฤษฎี คือ แกนกลางของศาสตร์ทจ่ี ะทาให้เข้าใจระบบ
และความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์
3.) เครื่องมือหรือวิธกี ารวัด เพือ่ แสดงวิธกี ารวัด การทดสอบ
ตัวแปรให้เป็ นไปจามวัตถุประสงค์ของการวิจยั
-แบบจาลองการวิจยั มีลกั ษณะเป็ นแบบจาลองทางแนวคิดทีใ่ ช้
กันมากในการวิจยั คือ แบบจาลองทีใ่ ช้สญั ลักษณ์ และแสดงใน
รูปแบบของสมการคณิตศาสตร์หรือสมการทางสถิติ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 แบบจาลองสมการการผลิตทางเศรษฐศาสตร์
จากแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ทว่ี ่าปริมาณผลผลิต ( Y) ขึ้นอยู่กบั
ปัจจัยทีใ่ ช้ในการผลิตในทีน่ ้ สี มมติให้ได้แก่ปจั จัยทุน (K) และปัจจัย
แรงงาน (L) ทีใ่ ช้ในการผลิต ทัง้ นี้โดยสมมติให้เทคโนโลยีการผลิต
และสิง่ อืน่ ๆ คงที่ ดังนัน้ เราสามารถเขียนฟังก์ชนั ่ การผลิตแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณผลผลิตและปัจจัยการผลิตทีใ่ ช้ในการผลิต
ได้ดงั นี้
Yt = f ( Kt , Nt )
จากฟังก์ชนั การผลิตดังกล่าวข้างต้น สามารถเขียนเป็ น
แบบจาลองทางสถิติได้ดงั นี้
Yt  a0  a1K t  a2L t  e
เมื่อ Y คือ ปริ มาณผลผลิต
K คือ ปริ มาณเงินทุนที่ใช้ในการผลิต
L คือ ปริ มาณแรงงานที่ใช้ในการผลิต
a0 คือ ค่าคงที่
a1 และ a2คือ ค่าสัมประสิ ทธิ์ของตัวแปรอิสระ
e คือ ค่าคลาดเคลื่อนของการประมาณค่า
t คือ เวลาที่ t
7.) แนวความคิดทางทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
(review of the related literature)
- ทฤษฎี ควรนาทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ทม่ี คี วามเกี่ยวข้องมากล่าว
อ้าง ทีเ่ ป็ นแนวทางของการศึกษา และเป็ นทฤษฎีทส่ี นับสนุ นเรื่องที่
วิจยั หรือการวิจยั ใช้เป็ นพื้นฐานของแนวคิดวิจยั
-วรรณกรรม เป็ นการสรุปผลงานวิจยั ในเรื่องทีเ่ กี่ยวข้องหรือเรื่อง
ในทานองทีค่ ล้ายกัน ว่า
-ผูใ้ ดศึกษา เมือ่ ไร และมีข ้อค้นพบเป็ นอย่างไร
-ให้แสดงเรียงลาดับตามปี ทท่ี าการวิจยั
-กรณีทม่ี ปี ระเด็นในการวิจยั หลายประเด็น ควรแสดง
วรรณกรรมในลักษณะทีเ่ ป็ นการประมวลเนื้อหาแยกเป็ นแต่ละประเด็น
ให้ชดั เจน
8.) แผนการวิจยั (research plan or research design)
-แสดงระยะเวลาทีจ่ ะใช้ในการวิจยั และระยะเวลาในแต่ละ
ขัน้ ตอนอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง
-อาจแสดงในรูปของปฏิทนิ การทางาน
-ขัน้ ตอนอาจดาเนินการในเวลาเดียวกันหรือเหลือ่ มเวลากัน
แสดงถึงระยะเวลาเริ่มงานและเวลาทีใ่ ช้ในแต่ละขัน้ และในการวิจยั
-ตัวอย่าง แผนการวิจยั ระยะเวลาดาเนินการ (กรณีใช้ข ้อมูล
ปฐมภูมจิ ากแบบสอบถาม)
ขัน้ ตอนการดาเนิ นการวิจยั
1. การตรวจเอกสาร
2. ออกแบบสอบถาม
3. ทดสอบแบบสอบถาม
4. ปรับปรุงและพิมพ์แบบสอบถาม
5. อบรมพนักงานเก็บข้อมูล
6. เก็บรวบรวมข้อมูล
7. การจำแนกแยกแยะข้อมูลและลงข้อมูล
8. ประมวลผล
9. ทดสอบสมมติฐาน
10. สรุปและรายงานผล
1
ระยะเวลาดาเนิ นการ (เดือนที)่
2
3
4
5
6
7
9.) ประโยชน์ท่คี าดว่าจะดด้รบั (expected result and
application)
-เขียนให้สอดคล ้องกับวัตถุประสงค์การวิจยั ว่า เมือ่ บรรลุ
วัตถุประสงค์แล ้วจะเกิดประโยชน์อย่างไร และผลการวิจยั โดย
ส่วนรวมสามารรถนาไปประยุกต์ใช้งานด้านใดได้บา้ ง
-ส่วนใหญ่มกั ขึ้นต้นด้วย
-ทาให้ทราบ.......
-ก่อให้เกิด.......
-นาไปใช้....
10.) คานิ ยามศัพท์ (term definition)
-กรณีมคี าศัพท์บางอย่างทีม่ คี วามหมายเฉพาะ ทีบ่ ุคคลทัว่ ไป
ยังไม่รูค้ วามหมาย หรือต้องการกาหนดนิยามศัพท์เป็ นการเฉพาะใน
การวิจยั เพือ่ ให้เข้าใจตรงกัน
11.) งบประมาณ (budget)
-ในการทาวิจยั ซึง่ ต้องอาศัยงบประมาณจากหน่วยงานที่
สนับสนุนจะต้องมีการระบุงบประมาณซึง่ เป็ นรายละเอียดค่าใช้จ่ายใน
การทาวิจยั เช่น ค่าใช้จ่ายเป็ นค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ
12.) เอกสารอ้างอิง (reference) หรือบรรณานุ กรม
(bibliography)
-กรณีเป็ นหนังสือ(รูปแบบ/ตัวอย่าง)
ชื่อผูแ้ ต่ง. ชื่อเรื่อง. ครัง้ ทีพ่ มิ พ์. สถานที:่ สานักพิมพ์;ปี ทพ่ี มิ พ์.
ระพีพรรณ พิรยิ ะกุล. การวิจยั เบื้องต้น.กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
-กรณีหนังสือแปล (รูปแบบ/ตัวอย่าง)
ชื่อผูแ้ ต่งดัง้ เดิม. ชื่อหนังสือฉบับแปล. (ชื่อผูแ้ ปล,ผูแ้ ปล).
ครัง้ ทีพ่ มิ พ์. สถานที:่ สานักพิมพ์;ปี ทพ่ี มิ พ์.
ไฮล์บรอนเนอร์, อาร์ แอล.การสร้างสังคมเศรษฐกิจ. (ลิลลี่ โกศัยยา
นนท์ และคณะ,ผูแ้ ปล). กรุงเทพฯ:แพร่วทิ ยา;2521.
-กรณีไม่ปรากฏชื่อผูแ้ ต่ง(รูปแบบ/ตัวอย่าง)
ชื่อหนังสือ. ครัง้ ทีพ่ มิ พ์. สถานทีพ่ มิ พ์ : สานักพิมพ์ ; ปี ทพ่ี มิ พ์.
Aids an d the third world. Philadelphai : New Society
Publishing ; 1989.
-กรณีสบื ค้นจากอินเตอร์เน็ต(รูปแบบ/ตัวอย่าง)
ชื่อผูแ้ ต่ง.ชื่อเรื่อง. (วันเดือนปี ทส่ี บื ค้นข้อมูล).URLทีอ่ ยู่ของแหล่งข้อมูล
Lyman PN. Facing a global AIDS crisis. Washington
Post.[cited 1999 Aug 27]. http://www.washington
post.com/wp-srv/Wplate.
-กรณีวทิ ยานิพนธ์(รูปแบบ/ตัวอย่าง)
ชื่อผูแ้ ต่ง. ชื่อเรื่อง . วิทยานิพนธ์ปริญญา..สาขา..ชื่อสถาบัน/
มหาวิทยาลัย;ปี ทพ่ี มิ พ์.
เสาวลักษณ์ วิศววิกรานต์. ผลกระทบของค่าจ้างขัน้ ตา่ ต่อการจ้าง
งานแรงงานดร้ฝีมือ.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขา
เศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;
2543.
13.) ประวัติผูว้ ิจยั (the researcher)
-อาจจะเขียนหรือไม่เขียนก็ได้ ในการทาสัมมนาไม่ตอ้ งเขียน
3.4 จุดอ่อนของข้อเสนอโครงการวิจยั
1. ข้อเสนอโครงการวิจยั ที่ดี
1) เขียนประเด็นให้ชดั เจน และตอบปัญหาหลักคือ Why ,
What , How
2) พยายามชี้ให้เห็นความสาคัญของเรื่องทีท่ าวิจยั
3) เขียนรายละเอียดมากทีส่ ุดทีท่ าได้ โดยเฉพาะวิธดี าเนินการ
ศึกษาวิจยั เพือ่ ให้ทราบว่าเราจะทาอย่างไรจึงได้คาตอบ
4) แสดงแผนและขัน้ ตอนดาเนินงานทีช่ ดั เจน และเป็ นไปได้
5) เนื้อหาทีเ่ ขียนควรราบรื่น ต่อเนื่อง และกลมกลืนตลอด
2. จุดอ่อนของข้อเสนอโครงการวิจยั
1) การเขียนความสาคัญของปัญหา
- ไม่ช้ ใี ห้เห็นความสาคัญของปัญหา
- หลักฐานการพิสูจน์ไม่เพียงพอและไม่สมเหตุสมผล
2) วิธกี ารศึกษา
- ไม่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
- เขียนไม่ชดั เจน ไม่สามารถประเมินว่าทาได้หรือไม่
3) ผูว้ จิ ยั /คณะผูว้ จิ ยั
- ไม่มปี ระสบการณ์ จึงไม่เหมาะสมกับงานวิจยั
- ไม่คนุ ้ เคยกับวิธกี ารวิจยั ทาให้แหล่งทุนไม่มนใจ
ั่
4) งบประมาณของโครงการ
- มากเกินไป
- ไม่สอดคล ้องปริมาณงานทีเ่ สนอ
- เกินงบประมาณทีแ่ หล่งทุนมีอยู่
4. การทบทวนวรรณกรรมและผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
4.1 ประโยชน์ท่ดี ด้รบั
1.) เข้าใจแนวคิด ทฤษฎีและแนวทางดาเนินการวิจยั ปรับปรุงการ
วิจยั ได้ดขี ้นึ
2.) ทาให้การวิจยั ไม่ซา้ กับผูอ้ น่ื ทีท่ าวิจยั ไว้แล้ว รูว้ ่าใครทาเรื่อง
อะไรไว้บา้ งแล้ว
3.) ทาให้ทราบว่าการวิจยั ทีผ่ ่านมาศึกษาอะไรบ้าง กว้าง-แคบแค่
ไหน ทาแง่มมุ ใด นาสู่การอภิปรายผลการวิจยั
4.) ทาให้ตงั้ สมมติฐานการวิจยั ได้ถกู ต้อง
(การนาวรรณกรรมและผลงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องมาช่วยในขัน้ ตอนต่างๆ
ของการวิจยั จาก ยุทธ หน้า 66)
4.2 หลักในการเลือกวรรณกรรมและผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
1.) พยายามแสวงหาให้ได้มากทีส่ ุด โดยศึกษาทฤษฎี หลักการ
วิธกี ารวิจยั ผลงานวิจยั ทีค่ น้ พบ
2.) ความทันสมัย
3.) คัดเอาเนื้อหาสาระ ผลการศึกษาไว้ เพือ่ ประโยชน์ต่อการวิจยั
4.) เลือกให้ตรงกับเรื่องทีศ่ ึกษา และเป็ นแนวทางในการวิจยั ได้
5) การดูผลการศึกษาเชิงวิเคราะห์เทียบกับเรื่องทีเ่ ราทา เกี่ยวกับ
เนื้อหา ข้อมูล ประชากรและตัวอย่าง การเพียงพอในการตอบคาถาม
ความน่าเชื่อถือ ข้อสรุป (และให้คดั เอาเฉพาะส่วนทีม่ ปี ระโยชน์ต่อ
การวิจยั )
4.3 วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจากวรรณกรรมและผลงานวิจยั ที่เกีย่ วข้อง
1.) การบันทึกข้อมูลหรือเนื้อหา โดยย่อข ้อความ การถอดความ
เป็ นสานวนผูบ้ นั ทึกเอง หรือยกข้อความมาเลย
2.) การบันทึกแหล่งทีม่ าของข ้อมูล นามาจากไหน ใครเขียน ชื่อ
หนังสือ สถานทีพ่ มิ พ์ ปี ทพ่ี มิ พ์ (บรรณานุกรม)
3.) การบันทึกความคิดเห็น เขียนบันทึกจากการอ่านงานวิจยั ของ
ผูอ้ น่ื แล ้วว่าเราได้อะไรหรือมีความคิดเห็นอะไรทีเ่ ป็ นการเพิม่ เติมและจะ
มีส่วนต่อการทาวิจยั ของเรา
4.4 แหล่งที่มาและการสืบค้นข้อมูล
1) ตาราและหนังสือคู่มอื (ใช้เป็ นหลักการ กฎ ทฤษฎี)
2) รายงานการวิจยั และปริญญานิพนธ์ (โดยอาจเริ่มจากการดูที
บทคัดย่อ)
3) รายงานต่างๆ เช่น รายงานประจาปี
4) วารสารเศรษฐศาสตร์ บทความ
5) เว็บไซด์ทเ่ี ป็ นฐานข ้อมูล เช่น
www.bot.or.th
www.moc.go.th
www.mof.go.th www.nesdb.go.th
www.nso.go.th
www.nrct.go.th
เว็บไซด์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ
5. กรอบแนวคิดและแบบจาลองการวิจยั
5.1 ความหมายและที่มากรอบแนวคิดการวิจยั
กรอบแนวคิดการวิจยั หมายถึงกรอบของการวิจยั ในด้านเนื้อหา
สาระ ซึง่ ประกอบด้วยตัวแปร และการระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปร
ผูว้ จิ ยั จะต้องมีกรอบพื้นฐานทางทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้องกับปัญหาที่
ศึกษาแลมโนภาพในเรื่องนัน้ แล้วนามาประมวลเป็ นกรอบในการ
กาหนดตัวแปรและรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ และพัฬ
นาเป็ นแบบจาลองการวิจยั ต่อไป
แหล่งที่มาของกรอบแนวคิดการวิจยั
1) ผลงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง ทาให้ทราบประเด็นปัญหา เนื้อหา
สาระ ตัวแปร แนวคิด ความรูพ้ ้นื ฐาน ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้อง
2) ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้อง โดยให้เกี่ยวข้องกับประเด็นทีศ่ ึกษา
3) กรอบแนวคิดของผูว้ จิ ยั เอง จากประสบการณ์ผูว้ จิ ยั นามา
กาหนดเป็ นกรอบแนวคิดการวิจยั
5.2 หลักการเลือกและประโยชน์ของกรอบแนวคิดการวิจยั
ควรเป็ นกรอบแนวคิดทีต่ รงประเด็นในด้านเนื้อหาสาระ ตัว
แปรทีต่ อ้ งการศึกษา มีความสอดคล ้องกับความสนใจในเรื่องที่จะวิจยั
มีความง่ายและไม่ซบั ซ้อน และควรมีประโยชน์ในเชิงนโยบายหรือการ
พัฒนาสังคม เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาขัน้ เก็บรวบรวมข้อมูล การ
ออกแบการวิจยั ขัน้ การวิเคราะห์และตีความข้อมูล
5.3 การเสนอกรอบแนวคิดการวิจยั
1) แบบพรรณนาความ
เป็ นการเขียนบรรยายให้เห็นว่า มีตวั แปรอะไรบ้าง
ความสัมพันธ์ของตัวแปรเป็ นอย่างไร มีเหตุผลหรือทฤษฎีอะไรมา
สนับสนุน
2) แบบจาลอง
Yt  a0  a1K t  a2L t  e
3) แบบแผนภาพ (สุชาติ หน้า 89-95)
4) แบบผสมผสาน มีการเสนอกรอบการวิจยั โดยใช้หลายๆวิธี
ร่วมกันเพือ่ ให้มองเห็นภาพชัดเจน
ตัวอย่าง กรอบแนวคิดเรื่ อง “การศึกษาการประยุกต์แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียงในการทาการเกษตร และผลกระทบทาง
เศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในจังหวัดหนองคาย”
แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ และเศรษฐกิจพอเพียง
ปัจจัยทีย่ อมรับและนำแนวคิด
ไปใช้
1)ปัจจัยภายใน เช่น
-ระดับการศึกษา
-ประสบการณ์การฝึ กอบรม
-การแสวงหาความรู้
-การรับรู ้ข่าวสาร
-ความยากง่ายและต้นทุนใน
การทา
-การเห็นตัวอย่างและผลการ
ทา
-การรวมกลุ่ม
2)ปั จจัยภายนอก เช่น
-นโยบายรัฐบาล
-การส่ งเสริ มจากเจ้าหน้าที่รัฐ
-การส่ งเสริ มจากองค์กร
เอกชน
กำรประยุกต์ ใช้ แนวคิด
-การผลิต
-การตลาด
-ความเป็ นอยู่ สวัสดิการ
-การศึกษา สังคมและ
ศาสนา
-การรวมตัวเป็ นองค์กร
-การเชื่อมโยงกับบริ ษทั
หรื อแหล่งเงิน
ปัญหำของกำรส่ งเสริม
-เกษตรกร
-เจ้าหน้าที่ส่งเสริ ม
-รู ปแบบและวิธีการ
-นโยบาย
ผลกระทบ
1)ทางเศรษฐกิจ
-การผลิต ทั้งต้นทุน
ผลผลิต การแปรรู ป
-ราคา รายได้
-หนี้สิน เงินออม
-การมีงานทา
2)สังคม
-ความเป็ นอยู่
สวัสดิการ
-การศึกษา สังคมและ
ศาสนา
ควำมสำเร็จหรือล้มเหลว
ปัญหำและอุปสรรค
แนวทำงกำรประยุกต์ ใช้ ของเกษตรกร
แนวทำงแก้ไขปัญหำและส่ งเสริม
ยุทธศำสตร์ กำรพัฒนำ แผนพัฒนำ กำรปรับโครงสร้ ำงกำรผลิตทำงกำรเกษตร
นโยบำย ยุทธศำสตร์
และโครงกำรต่ ำงๆของ
ภำครัฐและเอกชน
5.4 แบบจาลองการวิจยั
แบบจาลองการวิจยั คือ รูปแบบทีส่ ร้างขึ้นเพือ่ เป็ นแนวทางใน
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ
ปรากฏการณ์
ทฤษฎี
เครื่ องมือ/วิธีการวัด
กรอบแนวคิด
แบบจาลอง
องค์ประกอบของกรอบแนวคิดและแบบจาลองการวิจยั
ปั ญหาที่วิจยั
แบบจาลอง
สรุปผล
สมมติฐาน
ทดสอบสมมติฐาน
การรวบรวมข้ อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
ความสัมพันธ์ของแบบจาลองการวิจยั และกระบวนการวิจยั
-เพิม่ เติม ความสัมพันธ์ของหัวข้อบางหัวข้อ
สภาวะที่เป็ นปั ญหา
ประเด็นปั ญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
ข้ อสมมติฐานการวิจยั
6. ประชากรและการสุม่ ตัวอย่าง
6.1 ประชำกร (Population)
หมายถึง จานวนทั้งหมดของหน่วยซึ่งมีคุณสมบัติบางอย่างที่ผวู ้ ิจยั
สนใจจะทาการศึกษาและมีปรากฎอยูใ่ นช่วงเวลานั้นๆ
อาจเป็ นคน สัตว์ สิ่ งของ หรื อเหตุการณ์ต่าง ๆ ฯลฯ อะไรก็ได้
ตัวอย่าง
-การศึกษาการทากิจกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิทยาเขตหนองคาย หน่วยวัดคือ นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขต
หนองคาย
-การศึกษาการออมของประเทศไทย หน่วยวัดคือ การออมของ
ประเทศไทย
6.2 กำรสุ่ มตัวอย่ ำง (Sampling)
6.2.1 วิธีการเลือกตัวอย่าง
1) การเลือกตัวอย่างโดยคานึงถึงความน่าจะเป็ น (probability
sampling)
1.1) การเลือกตัวอย่างแบบง่าย (simple random sampling)
-ใช้วิธีการจับสลาก จับเอาตามจานวนที่ตอ้ งการ
-ใช้ตารางตัวเลขสุ่ ม เขียนตัวเลขทั้งหมดแล้วสุ่ มจับ
1.2) การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ (systematic random
sampling)
1.3) การเลือกตัวอย่างแบบตามชั้นภูมิ (stratified random
sampling) การแช่งกลุ่มที่คล้ายกัน แล้วแล้วสุ่ มเอาจากแต่ละกลุ่ม
1.4) การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (cluster sampling)
หรื อ การสุ่ มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage random sampling)
เช่น จากภาคเป็ นจังหวัด จากจังหวัดเป็ นอาเภอ จากอาเภอเป็ น
ตาบล จากตาบลเป็ นหมู่บา้ น และครัวเรื อน เรี ยก การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
หลายขั้นตอน (Multistage Cluster Sampling)
2) การเลือกตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็ น (non probability
sampling)
2.1) การสุ่ มตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental sampling)
2.2) การสุ่ มตัวอย่างแบบกาหนดโคตาหรื อสัดส่ วน (quota
sampling) เช่น แบ่งเป็ น ชาย หญิง (ฝ่ ายละกี่คน) อาชีพ การศึกษา อายุ
2.3) การสุ่ มตัวอย่างแบบมีจุดมุ่งหมายหรื อแบบเจาะจง
(purposive sampling) โดยผูว้ ิจยั เอง ต้องอาศัยความรู ้ ความชานาญ
2.4) การสุ่ มตัวอย่างตามความสะดวก (convenience
sampling)
2.5) การสุ่ มตัวอย่างแบบก้อนหิ มะ (snowball sampling)
ขนาดตัวอย่าง (sample size) ให้พิจารณา
1) ลักษณะความแตกต่างของประชากร (variation of population)
2) ค่าความแม่นยาที่ตอ้ งการ (accuracy)
3) ต้นทุน (Cost)
4) ขนาดของประชากร (size of population)
สูตรที่ใช้คานวณหาขนาดของประชากร
1) โดยการใช้เกณฑ์
เช่น
-ประชากรหลักร้อย ใช้กลุ่มตัวอย่าง 15-30%
-ประชากรหลักพัน ใช้กลุ่มตัวอย่าง 10-15%
-ประชากรหลักหมืน่ ใช้กลุ่มตัวอย่าง 5-10%
2) โดยใช้ตาราง Krejcie & Morgan
3) ในกรณี ไม่ทราบขนาดประชากร
4) ตามวิธีของ ยามาเน่ (Taro Yamane)
2) โดยใช้ตาราง Krejcie & Morgan
จานวน
ประชากร
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
จานวนกลุ่ม
ตัวอย่าง
10
19
28
36
44
52
59
66
73
80
จานวน
ประชากร
120
140
160
180
200
250
300
360
400
460
จานวนกลุม่
ตัวอย่าง
92
103
113
123
132
152
169
186
196
210
จานวน
ประชากร
500
600
700
1000
1500
2000
5000
10000
50000
100000
จานวนกลุ่ม
ตัวอย่าง
217
234
254
278
306
322
357
370
381
384
3) ในกรณี ไม่ทราบขนาดประชากร ใช้สูตรของ W.G.cochran
เมื่อ
เช่น
P (1 P )Z2
n
d2
n คือ จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ตอ้ งการ
P คือ สัดส่ วนของประชากรที่ผวู ้ ิจยั ต้องการสุ่ ม
Z คือ ระดับความมัน่ ใจที่กาหนด หรื อระดับนัยสาคัญทางสถิติ
Z ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 เท่ากับ 1.96 (ความเชื่อมัน่ 95%)
Z ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 เท่ากับ 2.58 (ความเชื่อมัน่ 99%)
d คือ สัดส่ วนความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้
4) ตามวิธีของ ยามาเน่ (Taro Yamane)
เมื่อ
N
n
1 Ne 2
n คือ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
N คือ ขนาดประชากร
e คือ คลาดคลาดเคลื่อนของกลุ่มตัวอย่าง
7.วิธีกำรเก็บรวบรวมข้ อมูลและเครื่องมือในกำรเก็บรวบรวมข้ อมูล
กำรเก็บรวบรวมข้ อมูล
1) ข้อมูลปฐมภูมิ เป็ นข้อมูลที่ผวู ้ ิจยั ทาการเก็บรวมรวมเอง
2) ข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นข้อมูลที่มีหน่วยงานอื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว
เครื่องมือในกำรเก็บรวบรวมข้ อมูล
1) แบบสอบถาม
2) แบบสัมภาษณ์
3) แบบสังเกต
8. กำรวิเครำะห์ ข้อมูล และกำรตีควำมหมำยข้ อมูล
8.1 ตรวจสอบและแยกประเภทข้ อมูล
8.2 เครื่องมือในกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
8.3 กำรวิเครำะห์ ข้อมูล
8.4 สถิตแิ ละกำรทดสอบทำงสถิติ
8.5 กำรนำเสนอข้ อมูลหรือกำรแสดงผลกำรวิเครำะห์
ข้ อมูล
8.6 กำรตีควำมข้ อมูล
กำรตรวจสอบและแยกประเภทข้ อมูล
ลักษณะข้อมูลและระดับการวัด(Data character and Level of measurement)
เฟอร์กูสนั (Ferguson) ได้แบ่งลักษณะข้อมูลออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้
1. ข้อมูลระดับนามบัญญัติ (Norminal data)
เป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น เชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือเป็ นข้อมูลตัว
เลขทีไ่ ม่ได้บ่งบอกถึงปริมาณมาก-น้อย แต่เป็ นตัวเลขทีแ่ สดงให้เห็นความแตกต่าง
เท่านัน้ เช่น เลขทีบ่ า้ น หมายเลขโทรศัพท์ เป็ นต้น
การวัดข้อมูลจะกระทาเป็ นการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ฐานนิยม
สัดส่วน เป็ นต้น
2. ข้อมูลระดับเรียงลาดับ (Ordinal data)
เป็ นข้อมูลทีน่ ามาเรียงเพือ่ จัดอันดับเท่านัน้ เช่น ระดับปัญหาอันดับ 1, 2
, 3 เป็ นต้น ข้อมูลดังกล่าวสามารถจัดเรียงอันดับได้ แต่ไม่สามารถบอกได้วา่ ระดับ
ปัญหาดังกล่าวมีมากกว่ากันระดับใด
สถิตทิ ใ่ี ช้ เช่น มัธยฐาน ส่วนเบีย่ งเบน เป็ นต้น(อาจเป็ น ความถี่ ร้อยละ)
3. ข้อมูลระดับอันตรภาค (Interval data)
เป็ นข้อมูลทีแ่ บ่งค่าตัวแปรออกเป็ นช่วงๆ มีระยะห่างเท่าๆกัน เรียงลาดับ
จากมากไปหาน้อย สามารถเปรียบเทียบกันได้ แต่ไม่สามารถบอกได้วา่ เป็ นกี่เท่า
ของกันและกัน
สถิตทิ ใ่ี ช้ เช่น ฐานนิยม มัธยฐาน ค่าเฉลีย่ เป็ นต้น
4. ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio data)
เป็ นข้อมูลทีม่ ลี กั ษณะสมบูรณ์ทกุ อย่าง สามารถเปลีย่ นหน่วยวัดจากหน่วย
หนึ่งไปยังอีกหน่วยหนึ่งได้เพือ่ เปรียบเทียบกันได้
สถิตทิ ใ่ี ช้ ใช้ได้ทกุ ตัว
กำรวิเครำะห์ ข้อมูล
1. สถิติเชิงบรรยำย
เป็ นสถิติทบี่ รรยำยคุณลักษณะของสิ่ งทีต่ ้ องกำรศึกษำ ผลที่ได้
จะไม่ กล่ำวอ้ำงไปยังประชำกร สถิติที่นำมำใช้ เช่ น ควำมถี่
ร้ อยละ ค่ ำเฉลีย่ ส่ วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน สหสั มพันธ์
2. สถิติเชิงอ้ำงอิง (Inferential statistics)
เป็ นสถิติทมี่ ุ่งศึกษำค้ นคว้ ำข้ อมูลจำกกลุ่มตัวอย่ ำง แล้วสรุป
อ้ำงอิงไปยังกลุ้มประชำกร วิธีทใี่ ช้ ในกำรสรุปอ้ำงอิงไปยังกลุ่ม
ประชำกรนั้น คือ กำรประมำณค่ ำ (Estimation) และกำร
ทดสอบสมมติฐำน (Hypothesis testing) เช่ น สถิติ T, F, R2,
D.W., S.E.E.
สถิตแิ ละกำรทดสอบสถิติ
สถิติ (Statistics)
สถิติท่ใี ช้ในการวิจยั แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1 สถิตเิ ชิงบรรยายหรือเชิงพรรณนา (Descriptive statistics)
เป็ นสถิตทิ บ่ี รรยายคุณลักษณะของสิง่ ทีต่ อ้ งการศึกษา จากกลุม่ ใดกลุม่
หนึ่งโดยเฉพาะ ซึง่ อาจเป็ นกลุม่ เล็กหรือกลุม่ ใหญ่ก็ได้ ผลการศึกษาทีไ่ ด้ไม่สามารถ
นาไปอ้างอิงถึงกลถ่มประชากรได้
สถิตทิ ใ่ี ช้ในการบรรยายหรือพรรณนาคุณลักษณะของข้อมูล ได้แก่
ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ มัธยฐาน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เป็ นต้น
2. สถิตเิ ชิงอ้างอิง (Inferential statistics) เป็ นสถิตทิ ศ่ี ึกษาจากกลุม่ ตัวอย่าง
และนาผลสรุปทีไ่ ด้ไปอ้างอิงลักษณะประชากร หรือค่าสถิตทิ ไ่ี ด้จากกลุม่ ตัวอย่างสรุป
ไปยังค่าพารามิเตอร์ของประชากร สถิตอิ า้ งอิงจะเกี่ยวกับการประมาณการ
(Estimation)และการทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis testing)
ตัวอย่างสถิตเิ ชิงอ้างอิง เช่น T-test, F-test , χ 2 (Chi-square) เป็ นต้น
สถิติท่ใี ช้ในการวิจยั
1. ความถี่ (Frequency)
2.ร้อยละ (Percentage)
3.ค่าเฉลีย่ (Mean)
4.ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
ถ้าเท่ากับศูนย์ (0) แสดงว่าข้อมูลดม่มีการกระจาย หรือข้อมูลมีลกั ษณะ
เหมือนกัน
ถ้าเท่ากับหนึ่ ง (1) แสดงว่าข้อมูลมีการแจกแจงเป็ นโค้งปกติ
(Symmetry)
5.สหสัมพันธ์ (Correlation)
เป็ นการหาความสัมพันธ์ของสิง่ ที่เกิดขึ้น 2 อย่าง ว่ามีความสัมพันธ์กนั
หรือดม่ ทาให้ทราบว่าสัมพันธ์กนั อย่างดร มากน้อยแค่ดหน ดูดด้จากสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์ (Correlation coefficient)
ลักษณะของความสัมพันธ์
1.)ข้อมูลมีความสัมพันธ์กนั อย่างสมบูรณ์ (Perfect correlation)
-สัมพันธ์กนั อย่างสมบูรณ์กนั อย่างสมบูรณ์ทางบวก (Perfect
positive correlation) โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์จะเท่ากับ 1
- สัมพันธ์กนั อย่างสมบูรณ์กนั อย่างสมบูรณ์ทางลบ (Perfect
negative correlation) โดยค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์จะเท่ากับ -1
2.)ข้อมูลมีความสัมพันธ์กนั อย่างไม่สมบูรณ์ (Imperfect correlation)
- สัมพันธ์กนั แต่ไม่สมบูรณ์ทางบวก (Imperfect positive
correlation) โดยค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์จะมากกว่า 0 แต่นอ้ ยกว่า 1
- สัมพันธ์กนั แต่ไม่สมบูรณ์ทางลบ (Imperfect negative
correlation) โดยค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์จะน้อยกว่า 0 แต่มากกว่า -1
3.)ข้อมูลไม่มคี วามสัมพันธ์กนั (Zero correlation)
-ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0
ความหมายของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
0.80-1.00 มีความสัมพันธ์กนั สูงมาก
0.60-0.79 มีความสัมพันธ์กนั ค่อนข้างสูง
0.40-0.59 มีความสัมพันธ์กนั ปานกลาง
0.20-0.39 มีความสัมพันธ์กนั น้อย
0.00-0.19 มีความสัมพันธ์กนั น้อยมาก
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง -1 ถึง 1
ค่าเครื่องหมายบอกทิศทางความสัมพันธ์ของตัวแปร และค่าตัวเลขบอกปริมาณ
หรือขนาดความสัมพันธ์
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สนั (Pearson correlation) : rxy
เป็ นการหาความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว หรือหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ข้อมูล 2 ชุด ข้อมูลทีน่ ามาวิเคราะห์ตอ้ งอยู่ในมาตรา Interval scale และ Ratio
scale
การทดสอบนัยสาคัญของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สนั (Pearson
correlation) : rxy
โดยวิธกี ารเปิ ดตารางสาเร็จรูป ค่าวิกฤติของสหสัมพันธ์เพียร์สนั (Critical
value of the Pearson ) ซึ่งพิจารณา 2 อย่างคือ
(1) ระดับนัยสาคัญทางสถิตทิ ่กี าหนด ( ) นิ ยมที่ระดับ
นัยสาคัญ 0.05 หรือที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95 และระดับนัยสาคัญ 0.01 หรือ
ที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 99
(2) Degree of freedom (df) โดย df = N – 2 เมื่อ N คือ
จานวนข้อมูล
การแปรผล
(1) ถ้า rxy ทีค่ านวณได้ มากกว่าหรือเท่ากับ rxy จากตาราง
แสดงว่า ตัวแปรมีนยั สาคัญทางสถิติ แปรผลว่า ตัวแปร X และ Y มี
ความสัมพันธ์กนั
(2) ถ้า rxy ทีค่ านวณได้ น้อยกว่า rxy จากตาราง แสดงว่า ตัว
แปรไม่มนี ยั สาคัญทางสถิติ แปรผลว่า ตัวแปร X และ Y ไม่มคี วามสัมพันธ์กนั
2
χ
6.ค่าไค-สแควร์ (Chi-square) :
เป็ นค่าสถิตทิ บ่ี อกความสัมพันธ์ของตัวแปรเช่นเดียวกันกับสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์ จะต่างกันบ้างตรงที่ ค่าไค-สแควร์นนั้ จะบอกความสัมพันธ์ของตัวแปร
โดยไม่สามารถบอกถึงทิศทางและขนาดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรได้เหมือนค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ทัง้ นี้เนื่องจากตัวแปรจะมีลกั ษณะข้อมูลเป็ น Nominal
scale หรือ Ordinal scale
สถิตทิ ใ่ี ช้ทดสอบคือ เพียร์สนั ไค-สแควร์ (Pearson Chi-square) โดย
การทาสอบจะคล ้ายกันกับการทดสอบนัยสาคัญของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ
เพียร์สนั (Pearson correlation)
กำรวิเครำะห์ ข้อมูล
1. สถิติเชิงบรรยำย
เป็ นสถิติทบี่ รรยำยคุณลักษณะของสิ่ งทีต่ ้ องกำรศึกษำ ผลที่ได้
จะไม่ กล่ำวอ้ำงไปยังประชำกร สถิติที่นำมำใช้ เช่ น ควำมถี่
ร้ อยละ ค่ ำเฉลีย่ ส่ วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน สหสั มพันธ์
2. สถิติเชิงอ้ำงอิง (Inferential statistics)
เป็ นสถิติทมี่ ุ่งศึกษำค้ นคว้ ำข้ อมูลจำกกลุ่มตัวอย่ ำง แล้วสรุป
อ้ำงอิงไปยังกลุ้มประชำกร วิธีทใี่ ช้ ในกำรสรุปอ้ำงอิงไปยังกลุ่ม
ประชำกรนั้น คือ กำรประมำณค่ ำ (Estimation) และกำร
ทดสอบสมมติฐำน (Hypothesis testing) เช่ น สถิติ T, F, R2,
D.W., S.E.E.
กำรนำเสนอข้ อมูลหรือกำรแสดงผลกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
การนาเสนอข้อมูลจากการประมวลผลโดยสถิติ ความถี่ ร้อยละ
ตารางตัวแปรเดียว
ตารางที่ 1 จานวนโรงงานแยกตามจานวนปี ท่ดี าเนิ นกิจการ
จำนวนปี ที่เปิ ดดำเนินกำร(ปี ) จำนวนโรงงำน
1-5
13
6-10
15
11-15
18
16-20
10
มำกกว่ ำ 20
9
รวม
65
ร้ อยละ
20.00
23.08
27.69
15.38
13.85
100.00
ตารางสองตัวแปรหรือตารางที่มีตวั แปร 2 ตัว
ตารางที่2 จานวนโรงงานแยกตามขนาดโรงงานและที่ตง้ั
ขนำดโรงงำน
ขนำดใหญ่
ขนำดกลำง
ขนำดเล็ก
รวม
แหล่งทีต่ ้งั
กรุงเทพฯ
ต่ ำงจังหวัด
135
184
1,025
3,250
3,260
34,580
4,420
38,014
ตาราง 3 ตัวแปรหรือตารางที่มีตวั แปร 3 ตัว
ตารางที่3 จานวนโรงงานแยกตามขนาด แหล่งที่ตง้ั และ
ประเภทของกิจการ
แหล่งทีต่ ้งั
ขนำดโรงงำน
ขนำดใหญ่
ขนำดกลำง
ขนำดเล็ก
รวม
กรุงเทพฯ
ต่ ำงชำติ
ไทย
80
55
190
835
20
3,240
290
4,130
ต่ ำงจังหวัด
ต่ ำงชำติ ไทย
96
88
350
2,900
34,580
446
37,568
ตำรำงที4่ ควำมสำมำรถในกำรออมกับรำยได้ บุคคลต่ อเดือน
รายได้บุคคลต่อเดือน
ความสามารถในการออม
ไม่มีเงินออม
สามารถเก็บออมได้
รวม
ไม่มีรายได้
43
11
54
ไม่เกิน 5,000 บาท
187
244
431
5,001 – 10,000 บาท
92
187
279
10,001 – 15,000 บาท
58
135
193
15,001 – 20,000 บาท
31
77
108
20,001 – 25,000 บาท
13
30
43
25,001 – 30,000 บาท
24
32
56
30,001 – 35,000 บาท
2
2
4
35,001 – 40,000 บาท
2
6
8
40,001 – 45,000 บาท
3
3
6
45,001 – 50,000 บาท
-
8
8
50,001 บาทขึ้นไป
3
7
10
458
742
1,200
รวม
ตำรำงที5่ ควำมสั มพันธ์ ระหว่ ำงควำมสำมำรถในกำรออมกับรำยได้
บุคคลต่ อเดือน
ควำมสำมำรถในกำรออม
รำยได้ บุคคลต่ อเดือน
หมายเหตุ 2
χ
Pearson Chi- Asymp. Sig.
Square
(2-sided)
65.056
0.000
ระดับนัยสาคัญ 0.05, d.f. 11 = 19.675
χ ระดับนัยสาคัญ 0.01, d.f. 11 = 24.725
กำรตีควำมข้ อมูล
2
จะเห็นว่า ค่าสถิติ χ ที่ได้จากการประมาณการมีค่าเท่ากับ 65. 056 ซึ่ ง
สู งกว่าค่าในตารางที่มีค่าเท่ากับ 24.725 ณ ระดับนัยสาคัญ 0.01, d.f. 11 แสดงว่า
ความสามารถในการออม มีความสัมพันธ์กบั รายได้บุคคลต่อเดือน ที่ระดับนัยสาคัญ
ทางสถิติ 0.01 หรื อที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 99
2
ตัวอย่ ำงผลกำรประมำณกำร/ประมวลผล ควำมสั มพันธ์ ตัว
แปรด้ วยสถิติ Pearson Correlation
Correlations
ปริมาณเงิน
รายได ้ของบุคคล ออม(เดือน)
รายได ้ของบุคคล
Pearson Correlation
1.000
.636**
Sig. (2-tailed)
.
.000
N
1200
741
ปริมาณเงินออม(เดือน) Pearson Correlation
.636**
1.000
Sig. (2-tailed)
.000
.
N
741
741
**. Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed).
ปริมำณเงิน
ออมต่ อเดือน
รำยได้ บุคคล
ต่ อเดือน
Pears Sig.
on
(2Corre side
lation d)
0.636
0.000
กำรตีควำมข้ อมูล
จะเห็นว่า ปริ มาณเงินออมต่อเดือน มีความสัมพันธ์กบั รายได้บุคคลต่อ
เดือน ณ ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.01 หรื อที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 99 โดยมี
ความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน และมีความสัมพันธ์กนั ค่อนข้างสู งโดยมี
ขนาดความสัมพันธ์ 0.636 กล่าวคือ ถ้ารายได้เปลี่ยนแปลง 1 หน่วย จะทาให้การออม
เปลี่ยนแปลง 0.636หน่วย ในทิศทางเดียวกัน
กำรนำเสนอข้ อมูลจำกกำรประมวลผลกำรถดถอย
S = -50602.51 + 0.361329 GRP + 1125.424 R
(-3.378948)** (17.70604)** (1.117825)NS (t-statistic)
R 2= 0.972862
D.W. = 1.001756
R 2= 0.967928
F-statistic = 197.1674
S.E.E. = 8796.741
Prob(F-statistic) = 0.0000
* คือ มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 หรื อที่ระดับความ
เชื่อมัน่ ร้อยละ 95
** คือ มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 หรื อที่ระดับความ
เชื่อมัน่ ร้อยละ 99
NS คือ ไม่มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 หรื อที่ระดับ
ความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95
กำรตีควำมข้ อมูล
-ค่าสัมประสิ ทธิ์การตัดสิ นใจ (R 2 ) มีคา่ เท่ากับ 0.9728 แสดงถึงตัวแปร
อิสระในแบบจาลองสามารถอธิบายตัวแปรตามการออมรวมของภาคได้
ร้อยละ 97.28
-ค่าสัมประสิ ทธิ์การตัดสิ นใจปรับปรุ ง ( R 2 ) เท่ากับ 0.9679 นัน่ คือ เมื่อ
ปรับด้วยองศาอิสระแล้วทาให้ตวั แปรอิสระในแบบจาลองสามารถอธิบาย
ตัวแปรตามการออมรวมของภาคได้ร้อยละ 96.79
-ค่า SEE = 8796.741 แสดงว่า การประมาณการแบบจาลองมีความ
คลาดเคลื่อนของการประมาณค่าเท่ากับ 8796.741 (หรื อการออมของภาคที่
คานวณได้คลาดเคลื่อนไปจากการออมภาคที่แท้จริ ง 8796.741 ล้านบาท)
-ค่าสถิติ F ที่คานวณได้มีค่าเท่ากับ 197.1674 ซึ่งสู งกว่าค่า ค่าสถิติ F จาก
ตารางที่มีค่าเท่ากับ 7.21 (สาหรับ d.f. = 2 ,11 ณ ระดับนัยสาคัญ 0.01) แสดงว่า
ค่า R2 มีนยั สาคัญ หรื อ ตัวแปรอิสระในแบบจาลองมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม
การออมรวมของภาคจริ งหรื ออธิบายตัวแปรตามการออมรวมของภาคได้จริ ง
-การทดสอบสหสัมพันธ์ในตัวหรื อ Autocorrelation พิจารณาจากค่า D.W.
เท่ากับ 1.001756 พบว่าตกอยูใ่ นช่วงไม่สามารถตัดสิ นใจได้(n = 14 และ k = 2)
อย่างไรก็ตามเมื่อทดสอบทางสถิติแล้วพบว่า ไม่เกิดปัญหาสหสัมพันธ์ในตัว
-ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรซึ่งพิจารณาจาก
1)ค่า t-statistic โดยพิจารณาเฉพาะค่าสัมบูรณ์ของค่า t-statistic ที่ได้
จากการคานวณหรื อจากการประมาณการ ทั้งนี้เนื่องจากเป็ นการทดสอบการ
กระจายแบบสองทาง (two-tails)
2) ค่าสัมประสิ ทธิ์ของตัวแปรอิสระ (บอกทิศทางและขนาด
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระที่พิจารณากับตัวแปรตาม)
3) ระดับนัยสาคัญทางสถิติ (Significant)
-ตัวแปรผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเบื้องต้น (GRP) ซึ่งใช้แทนระดับรายได้ของคน
ในภาค มีค่า t-statistic เท่ากับ 17.706 ซึ่งสูงกว่าค่า t-statistic ในตารางที่มีค่าเท่ากับ
2.718 (สาหรับ df = 11 ระดับนัยสาคัญ 0.01) จึงปฏิเสธสมมติฐานหลัก ยอมรับ
สมมติฐานรอง นัน่ คือตัวแปรผลิตภัณฑ์ภาคมีความสัมพันธ์กบั การออมรวมของ
ภาค ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.01 หรื อที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 99 เป็ นไป
ตามสมมติฐานที่ต้ งั ไว้ โดยมีทิศทางความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันหรื อเป็ นบวก
ซึ่งเป็ นไปตามที่คาดไว้ กล่าวคือ ถ้าผลิตภัณฑ์ภาค(ซึ่งใช้แทนระดับรายได้ของคน
ในภาค) เพิม่ สูงขึ้น การออมของคนในภาคก็จะเพิม่ สูงขึ้น และถ้าผลิตภัณฑ์ภาค
(ซึ่งใช้แทนระดับรายได้ของคนในภาค) ลดลง การออมของคนในภาคก็จะลดลง
ด้วย นัน่ คือผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเบื้องต้นมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับ
การออมรวมของภาค โดยจากผลการศึกษาที่ได้บอกให้ทราบว่าหากผลิตภัณฑ์มวล
รวมภาคเบื้องต้นเปลี่ยนแปลง 1 ล้านบาท จะทาให้การออมรวมของภาค
เปลี่ยนแปลงประมาณ 0.361329ล้านบาท ในทิศทางเดียวกัน(ขนาดความสัมพันธ์)
-ตัวแปรอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก (R) มีค่า t-statistic เท่ากับ 1.117825 ซึ่งต่ากว่า
ค่า t-statistic ในตารางที่มีค่าเท่ากับ 1.796 (สาหรับ df = 11 ระดับนัยสาคัญ 0.05)
จึงยอมรับสมมติฐานหลัก นัน่ คือตัวแปรอัตราดอกเบี้ยเงินฝากไม่มี
ความสัมพันธ์กบั การออมรวมของภาค ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 หรื อที่
ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95 ไม่เป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้ งั ไว้
หมำยเหตุ
เมื่อได้ผลสรุ ปตามหลักสถิติแล้ว ผูว้ ิจยั จะต้องพิจารณาผลดังกล่าวว่า
สอดคล้องกับความเป็ นจริ งหรื อทฤษฎีหรื อไม่อย่างไร และเพราเหตุใด และจะ
สนับสนุนหรื อขัดแย้งกับข้อสรุ ปข้างต้นหรื อไม่อย่างไร อันจะนาไปสู่ การ
ค้นหาข้อเสนอแนะที่เหมาะสมต่อไป
9. กำรเขียนรำยงำนกำรวิจัยและกำรนำเสนอผลงำนวิจัย
9.1 รู ปแบบของรำยงำนกำรวิจัยและกำรนำเสนอ
ผลงำนวิจัย
9.2 หลักกำรเขียนรำยงำนกำรวิจัย
9.3 กำรเขียนอ้ ำงอิง
9.4 กำรเขียนข้ อเสนอแนะกำรวิจัย
9.5 กำรเขียนบทคัดย่ อ
9.6 กำรเสนอรำยงำนกำรวิจัย
รูปแบบของรำยงำนกำรวิจัยและ
กำรนำเสนอรำยงำนกำรวิจัย
รู ปแบบของรำยงำนกำรวิจัยและกำรนำเสนอรำยงำนกำรวิจัย
กำรเขียนรำยงำนกำรวิจัย (Research Report) ประกอบด้วย 3 ส่ วนหลักๆ คือ
1) ส่ วนนำเรื่อง (The front matter หรื อ preliminary)
2) ส่ วนเนือ้ เรื่อง (The text หรื อ main body of the report)
3) ส่ วนท้ ำยเนือ้ เรื่องหรือส่ วนอ้ำงอิง (The back matter หรื อ the reference
matter)
ส่ วนนำเรื่อง (The front matter หรื อ preliminary) ประกอบด้วย
(1) ปกนอกและปกใน หรื อหน้าที่มีรายชื่อเรื่ องและชื่อผูว้ ิจยั (Title page)
(2) บทคัดย่อ (Abstract) หรื อ บทสรุ ปผูบ้ ริ หาร (Executive Summary)
แล้วแต่กรณี
(3) กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement)
(4) คานา (Preface) (ถ้ามี)
(5) สารบัญ (Table of Contents)
(6) สารบัญตาราง (List of Tables)
(7) สารบัญรู ปภาพ (List of Figures)
ส่ วนเนือ้ เรื่อง (The text หรื อ main body of the report) ประกอบด้วยบทต่างๆ
ดังนี้
บทที่ 1 บทนา
1. ปัญหาและความสาคัญของปัญหา
2. วัตถุประสงค์ของการวิจยั
3. ขอบเขตของการวิจยั
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
5. นิยามศัพท์
บทที่ 2 วรรณกรรม(หรื อแนวคิดทฤษฎี)และผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
1. วรรณกรรม(หรื อแนวคิดทฤษฎี) ที่เกี่ยวข้อง
1.1 ........
1.2 ........
2. ผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจยั
1. กรอบแนวคิด
2. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
(หรื อในกรณี ที่เป็ นการวิจยั เชิงสารวจ อาจเป็ น
1. ประชากร
2. กลุ่มตัวอย่าง
3. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. กรอบแนวคิด
บทที่ 4 ผลการวิจยั และอภิปรายผล (หรื อ ผลการศึกษา หรื อผลการวิเคราะห์)
1. .............
2. .............
บทที่ 5 สรุ ปผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ
1. สรุ ปผลการวิจยั
2. ข้อเสนอแนะ
2.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
2.2 ข้อเสนอสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป
ส่ วนท้ ำยเนือ้ เรื่องหรือส่ วนอ้ำงอิง (The back matter หรื อ the reference matter)
ประกอบด้วย
(1) เอกสารอ้างอิง หรื อบรรณานุกรม (Reference or Bibliography)
มีท้ งั ภาษาไทยและอังกฤษ เริ่ มด้วยภาษไทย ตามด้วย
ภาษาอังกฤษ เรี ยงลาดับตามตัวอักษรผูเ้ ขียน ควรมีวรรคตอนและส่ วนเหลื่อมใน
การพิมพ์ ไม่มีตวั เลขบอกลาดับที่
(2) ภาคผนวก (Appendix) ตัวอย่างสิ่ งที่นาเสนอไว้ในภาคผนวก
-ข้อมูลดิบ
-แบบสอบถาม
-แบบสัมภาษณ์
-ตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล
-กลุ่มตัวอย่าง
-ประวัติยอ่ ของนักวิจยั
-ฯลฯ
-หากมีภาคผนวกหลายอัน ต้องแยกเสนอแต่ละภาคผนวก เช่น
ภาคผนวก ก รายชื่อโรงงานที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง
ภาคผนวก ข สรุ ปการสัมภาษณ์นายกสมาคมอุตสาหกรรมยาน
ยนต์
ภาคผนวก ค รายชื่อผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนาระดมความคิด...........
หลักกำรเขียนรำยงำนกำรวิจัย
หลักกำรเขียนรำยงำนกำรวิจัย
-รู ปแบบและส่ วนประกอบต่างๆให้ครบถ้วนและตามลาดับก่อน-หลัง
-ในส่ วนของเนื้อหาให้มีการอ้างอิงให้ถูกต้องตามหลักของการอ้างอิง
การใช้รูปแบบการอ้างอิงแบบใดก็ควรใช้แบบนั้นตลอดรายงาน
-การใส่ เลขที่ตารางหรื อรู ปภาพ ให้ใส่ ตามลาดับ เริ่ มจากตารางที่ 1 (ใน
บทที่ 1) , 2 , 3 , .... ต่อไปเรื่ อยๆ ตลอดทั้งเล่ม (บางที่อาจใส่ ให้สอดคล้องกับบท
เช่น ตารางที่ 1.1, 1.2, ..... 2.1, 2.2, .... แต่ตามของมหาวิทยาลัยขอนแก่นจะใช้
แบบแรก)
-ตารางหรื อเนื้อความที่มีรายละเอียดมากๆ ให้เอาไปใส่ ในภาคผนวก ไม่
ควรใส่ ในเนื้อหาเพราะจะดูเยิน่ เย้อเกินความจาเป็ น
-รายงานการวิจยั ในแต่ละบทควรมีความสมบูรณ์ในตัวมันเอง ไม่ควร
กระโดดข้ามไปข้ามมา ในการเขียนให้ระวังเรื่ องความต่อเนื่องของหัวข้อและ
เนื้อหา ควรให้มีความเชื่อมของของเนื้อหาด้วย
-การพิมพ์ควรดูการเยื้อง/ย่อหน้า/หารเว้นวรรรค/วรรคตอน ให้ดี โดยให้
ดูตามลาดับของหัวข้อ/ความสาคัญของหัวข้อและหัวข้อย่อย
-การเขียนรายงานการวิจยั จะต้องคานึงถึงจริ ยธรรมของการวิจยั โดย
(1) ต้องเขียนข้อที่คน้ พบที่ถูกต้อง ซื่อสัตย์ และเป็ นจริ ง
(2) หลีกเลี่ยงการขโมยความคิดคนอื่น การนางานหรื อความคิด
คนอื่นมาใช้โดยไม่มีการกล่าวอ้าง
(3) ข้อจากัดในงานวิจยั จะต้องมีการเปิ ดเผยในรายงานการวิจยั
ด้วย
(4) ต้องมีการขอบคุณในรายงาน แก่ผทู ้ ี่ให้ความช่วยเหลือจน
งานวิจยั สาเร็ จ
กำรเขียนอ้ ำงอิง
เอกสำรอ้ ำงอิง (reference) หรือบรรณำนุกรม (bibliography)
-กรณีเป็ นหนังสื อ
รูปแบบ
ชื่อผูแ้ ต่ง. ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่:สานักพิมพ์;ปี ที่พิมพ์.
ตัวอย่ ำง
ระพีพรรณ พิริยะกุล. กำรวิจัยเบือ้ งต้ น.กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามคาแหง;2528.
-กรณีหนังสื อแปล
รูปแบบ
ชื่อผูแ้ ต่งดั้งเดิม. ชื่อหนังสื อฉบับแปล. (ชื่อผูแ้ ปล,ผูแ้ ปล). ครั้งที่พิมพ์. สถานที่:
สานักพิมพ์;ปี ที่พิมพ์.
ตัวอย่ ำง
ไฮล์บรอนเนอร์, อาร์ แอล.กำรสร้ ำงสั งคมเศรษฐกิจ. (ลิลลี่ โกศัยยานนท์ และ
คณะ,ผูแ้ ปล). กรุ งเทพฯ:แพร่ วิทยา;2521.
-กรณีไม่ ปรำกฏชื่อผู้แต่ ง
รูปแบบ
ชื่อหนังสื อ. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์ ; ปี ที่พิมพ์.
ตัวอย่ ำง
Aids an d the third world. Philadelphai : New Society Publishing ; 1989.
-กรณีสืบค้ นจำกอินเตอร์ เน็ต
รูปแบบ
ชื่อผูแ้ ต่ง.ชื่อเรื่อง. (วันเดือนปี ที่สืบค้นข้อมูล).URLที่อยูข่ องแหล่งข้อมูล.
ตัวอย่ ำง
Lyman PN. Facing a global AIDS crisis. Washington Post.[cited 1999 Aug
27]. http://www.washingtonpost.com/wp-srv/Wplate.
พัฒนาชุมชนจังหวัดปราจีนบุรี, สานักงาน. ควำมหมำยวิสำหกิจชุ มชน. [สื บค้น
เมื่อ 21 มกราคม 2549]. http://cddweb.cdd.go.th/prachin/enterprise.doc.
-กรณีวิทยำนิพนธ์
รูปแบบ
ชื่อผูแ้ ต่ง. ชื่อเรื่อง . วิทยานิพนธ์ปริ ญญา..สาขา..ชื่อสถาบัน/ มหาวิทยาลัย;ปี ที่
พิมพ์.
ตัวอย่ ำง
เสาวลักษณ์ วิศววิกรานต์. ผลกระทบของค่ ำจ้ ำงขั้นต่ำต่ อกำรจ้ ำงงำนแรงงำนไร้
ฝี มือ.วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะ
เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2543.
กำรเขียนอ้ำงอิงเชิงอรรถ
1) การอ้างอิงแบบแทรกเนื้อหา
หลักการโดยทัว่ ไป
- ถ้าระบุนามผูแ้ ต่งในเนื้อความ ให้อา้ งอิงปี ที่พิมพ์ในวงเล็บ เช่น
รูปแบบ
ชื่อ ( ปี พ.ศ.) ....................
ตัวอย่ ำง
วิจิตร (2515) ............................
-
กำรเขียนสรุปและข้ อเสนอแนะกำรวิจัย
กำรเขียนสรุปและข้ อเสนอแนะกำรวิจัย
กำรเขียนสรุป
-เป็ นการสรุ ปเกี่ยวกับข้อค้นพบทั้งหมดที่ได้จากการวิจยั และมีการ
อภิปรายว่าผลการศึกษาว่าสอดคล้องหรื อขัดแย้งกับผูใ้ ดบ้าง ตรงกับสมมติฐาน
หรื อไม่ เพราะเหตุใด
-มีท้ งั ที่กล่าวถึงวัตถุประสงค์ และระเบียบวิธีวิจยั และที่เป็ นแบบไม่ตอ้ ง
กล่าวถึงวัตถุประสงค์ และระเบียบวิธีวิจยั
-โดยทัว่ ไปจะไม่มีการเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับตัวเลข แต่จะเป็ นการ
กล่าวถึงลักษณะหรื อผลการศึกษาที่พบเลย โดยไม่มีการกล่าวอ้างตัวเลข
กำรเขียนข้ อเสนอแนะกำรวิจัย
1) ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบำย ให้เสนอแนะเชิงนโยบายหรื อมาตรการหรื อ
การดาเนินการต่างที่รัฐบาล หรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
จะต้องดาเนินการหรื อพึงนาไปใช้ ในทานองที่วา่ ใคร ควรทาอะไร อย่างไร
2) ข้ อเสนอสำหรับกำรศึกษำครั้งต่ อไป ให้เสนอเกี่ยวกับการศึกษาเรื่ อง
เดียวกันในครั้งต่อไปว่าควรจะมีการศึกษาอะไรเพิ่มเติม และโดยวิธีการใด
เพื่อให้ได้ความรู ้มากขึ้นในประเด็นที่ยงั ไม่ได้ศึกษาหรื อยังไม่ละเอียดพอ
ข้ อพึงระวังในกำรเขียนข้ อสรุปและข้ อเสนอแนะ
-จะต้องมาจากการเก็บรวบรวมหรื อการวิเคราะห์ขอ้ มูลของโรงการวิจยั ที่
ทาอยู่ ไม่ใช่การนาเสนอแนะที่มีอยูท่ วั่ ไปหรื อที่ผอู ้ ื่นเขาได้นาเสนอไว้แล้วมา
นาเสนอโดยไม่มีความเชื่อมโยงกับข้อมูล
กำรเขียนบทคัดย่ อ
กำรเขียนบทคัดย่ อ
-อยูส่ ่ วนหน้าก่อนสารบัญ เพื่อให้ผอู ้ ่านได้รู้เกี่ยวกับเรื่ องที่ทาวิจยั
เบื้องต้นก่อนที่จะอ่านรายละเอียดในส่ วนของเนื้อหา
-ควรให้กระชับ แต่ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับงานวิจยั ที่ทาครบถ้วน
-ชี้ให้ผอู ้ ่านเห็นประเด็นหลักๆของงานวิจยั คือ
1)ทาอะไร (What) (หรื อวัตถุประสงค์ของการวิจยั )
2) ทาอย่างไร (How) (หรื อวิธีการศึกษา/ระเบียบวิธีวิจยั )
3)ข้อค้นพบ (Finding) คืออะไร (หรื อผลการศึกษา/ผลการ
วิเคราะห์)
-ปกติความยาวไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ
-มีท้ งั บทคัดย่อภาษไทย และภาษาอังกฤษ โดยเป็ นภาษไทยก่อน
-ส่ วนประกอบ 2 ส่ วน 1) ส่ วนหัวของบทคัดย่อ จะเป็ นชื่อผูท้ า(และ
อื่นๆตามหลักการอ้างอิงหนังสื อ)และอาจารย์ที่ปรึ กษา 2) เนื้อหาบทคัดย่อ
ตัวอย่ ำง1 กำรเขียนบทคัดย่ อ
กำรเสนอรำยงำนกำรวิจัย
กำรเสนอรำยงำนกำรวิจัย
ช่ วงก่อนนำเสนอ
-ควรตรวจสอบความถูกต้อง ความครบถ้วนสมบูรณ์ของงานที่ทาก่อ
นาเสนอ
รูปแบบกำรนำเสนอผลกำรวิจัย
-รายงานการวิจยั (Research report)
-บทความวิจยั (Research paper)
-บทความทางวิชาการ (Academic paper) เสนอในวารสารทางวิชาการ
(Journal) ต่างๆ หรื อเสนอในที่ประชุมทางวิชาการต่างๆ
-บทความที่มาจากงานที่ทา (Working paper)
-บทความที่ตีพิมพ์ตามเวลาที่มีผลงานออกมา (Occasional paper)
แหล่งนำเสนอผลกำรวิจัย
-แหล่งเงินทุนสนับสนุนการวิจยั สถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ
วิธีกำรนำเสนอผลงำนวิจัย
-รู ปแบบและเครื่ องมือที่ช่วยในการนาเสนอ เช่น การนาเสนอด้วย
โปรแกรม Power Point
-สิ่ งที่ตอ้ งนาเสนอ
1) เรื่ องที่ทา
2) แหล่งเงินทุนสนับสนุน
3) วัตถุประสงค์ในการวิจยั
4) ระเบียบวิธีวิจยั
5) ผลการศึกษา ซึ่งต้องพยายามให้เข้าใจง่าย อาจเสนอในรู ป
ข้อมูลตัวเลข ตาราง แผนภูมิ
6) ข้อเสนอแนะ ทั้งในเชิงนโยบายและสาหรับการศึกษาครั้ง
ต่อไป
-ข้อพึงสังเกต ให้มีความน่าสนใจ และเกิดประโยชน์ต่อผูฟ้ ัง
กำรเตรียมกำรนำเสนอผลงำนวิจัย
-สถานที่ อาจเป็ นหน่วยงานเจ้าของทุนสนับสนุนการวิจยั ห้องประชุม
หรื อห้องสัมมนาของสถาบันการศึกษา ห้องประชุมของโรงแรม ห้องประชุม
ของสถานที่ราชการ เป็ นต้น
-ขั้นตอนการจัดนาเสนอผลการวิจยั
1) ช่ วงเตรียมกำร การจัดทาโครงการ/การประชุมวางแผนการ
ดาเนินการ/การติดต่อสถานที่ต่างๆ การจัดเตรี ยมเอกสารการนาเสนอผลการวิจยั
การจัดส่ งหนังสื อเชิญเข้าร่ วมการนาเสนอ/รับฟังการนาเสนอผลการวิจยั
ตลอดจนการจัดเตรี ยมสถานที่ เครื่ องเสี ยง และอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
2) ช่ วงดำเนินกำร การรับลงทาเบียน พิธีการ การดาเนิ นการ
นาเสนองานวิจยั ตามลาดับในกาหนดการ การเก็บแบบสอบถามเพื่อประเมินผล
(การบริ การเครื่ องดื่มและอาหาร)
3) ช่ วงหลังกำรนำเสนอ การประเมินผลการดาเนินการ