5.1 Dipmeter survey ค่ามุมเอียงเท (dip angle) แสดงถึงการเอียงตัวของชั้นหิ นที่กระทา กับระนาบในแนวราบ ส่ วนทิศทางการวางตัว (azimuth) ของ โครงสร้างทางธรณี วิทยาเป็ นการเปรี ยบเทียบการวางตัวกับขั้ว เหนือของแม่เหล็กและขั้วเหนือทางภูมิศาสตร์

Download Report

Transcript 5.1 Dipmeter survey ค่ามุมเอียงเท (dip angle) แสดงถึงการเอียงตัวของชั้นหิ นที่กระทา กับระนาบในแนวราบ ส่ วนทิศทางการวางตัว (azimuth) ของ โครงสร้างทางธรณี วิทยาเป็ นการเปรี ยบเทียบการวางตัวกับขั้ว เหนือของแม่เหล็กและขั้วเหนือทางภูมิศาสตร์

5.1 Dipmeter survey
ค่ามุมเอียงเท (dip angle) แสดงถึงการเอียงตัวของชั้นหิ นที่กระทา
กับระนาบในแนวราบ ส่ วนทิศทางการวางตัว (azimuth) ของ
โครงสร้างทางธรณี วิทยาเป็ นการเปรี ยบเทียบการวางตัวกับขั้ว
เหนือของแม่เหล็กและขั้วเหนือทางภูมิศาสตร์
ในการหาค่ามุมเอียงเทของชั้นหิ นที่อยูใ่ ต้ผวิ ดิน จาเป็ นอย่างยิง่ ที่
จะต้องได้ขอ้ มูลการวางตัวของชั้นหิ นจากหลุมเจาะอย่างน้อย 3
หลุมที่ไม่อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน ซึ่งทาได้ยากเนื่องจาก
จะต้องมีหลุมเจาะถึง 3 หลุมเป็ นอย่างน้อยและชั้นหิ นที่ตอ้ งการ
ศึกษาต้องผ่านหลุมเจาะทั้ง 3 หลุมด้วย ทาให้สิ้นเปลืองทั้งเวลา
และค่าใช้จ่ายในการเจาะมาก
ค่ามุมเอียงเทและทิศทางการวางตัวของโครงสร้างทางธรณี วิทยาที่
ได้จาก dipmeter มีประโยชน์อย่างมาก เนื่องจากใช้หลุมเจาะ
เพียง 1 หลุม ก็สามารถทราบได้ถึงทิศทางการวางตัวของชั้นหิ น
และยังสามารถนาไปหาความสัมพันธ์ของชั้นหิ นต่างๆระหว่าง
หลุมเจาะ ช่วยในการแปลความหมายถึงการพัฒนาของชั้นหิน
จากหลุมเจาะหนึ่งไปยังหลุมเจาะในบริ เวณใกล้เคียง
นอกจากนั้นยังใช้ในการกาหนดตาแหน่งหลุมเจาะสารวจเพิ่มเติม
การหาลักษณะโครงสร้างทางธรณี วิทยาที่น่าสนใจอื่นๆ เช่น
รอยเลื่อน หรื อ รอยสัมผัสไม่ต่อเนื่อง
5.1.1 Dipmeter tools
หลักการของเครื่ องมือประกอบด้วยตัวตรวจวัด (electrode) อย่าง
น้อย 3 ตัว ติดตั้งอยูบ่ นแขนที่ต้ งั ฉากกับแกนของเครื่ องมือ แต่ละ
แขนทามุม 120 องศาซึ่งกันและกันสาหรับกรณี ที่มี 3 แขน และ
90 องศาสาหรับกรณี ที่มี 4 แขน ตัวตรวจวัดแต่ละตัวจะวัดค่า
ความต้านทานที่ผนังของหลุมเจาะ
เมื่อเครื่ องมือผ่านบริ เวณที่เป็ นรอยต่อของชั้นหิ น ตัวตรวจวัดแต่ละ
ตัวจะแสดงลักษณะการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานที่ระดับ
ความลึกที่แตกต่างกัน ค่าตาแหน่งที่ระดับความลึกต่างกัน
สามารถนามาคานวณเพื่อบอกลักษณะการวางตัวทั้งค่ามุมเอียง
เทและทิศทางการวางตัวของชั้นหิ นได้
ข้อมูลที่จาเป็ นต้องทราบก่อนการคานวณหาค่ามุมเอียงเทและทิศ
ทางการวางตัวของชั้นหิ น
1. การวางตัวของเครื่ องมือซึ่ งกาหนดเป็ น ทิศทางการวางตัวและ
ความสัมพันธ์กบั ตัวตรวจวัดที่ 1 ค่าทิศทางการวางตัวจะเป็ นมุม
ที่เกิดจากระนาบในแนวราบตัดตั้งฉากกับแกนของเครื่ องมือ
เทียบเคียงกับตัวตรวจวัดที่ 1 และ ขั้วแม่เหล็กโลก
2. ค่ามุมเอียงของหลุมเจาะและทิศทางการวางตัวของหลุมเจาะ
3. ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหลุมเจาะ
เครื่ องมือในสมัยแรกถูกพัฒนาขึ้นโดยที่เครื่ องมือมีวธิ ีการวัดค่า
อย่างไม่ต่อเนื่อง (discontinuous dipmeter) เช่น anisotropy
meter, SP dipmeter หรื อ lateral dipmeter เครื่ องมือเหล่านี้ทา
การวัดค่า SP หรื อค่าความต้านทาน ตาแหน่งและทิศทางการ
วางตัวของหลุมเจาะ ตาแหน่งของเครื่ องมือ รวมทั้งตาแหน่งของ
ตัวตรวจวัดที่ 1 อาจใช้ compass หรื อ photoclinometer เป็ น
ตัวกาหนด เครื่ องมือเหล่านี้ในปัจจุบนั ไม่มีการใช้แล้ว เครื่ องมือ
ถูกพัฒนาต่อให้เป็ นเครื่ องมือที่มีวธิ ีการวัดแบบต่อเนื่อง
(continuous dipmeter) อีกหลายชนิด
1. Continuous dipmeter (CDM)
เป็ นเครื่ องมือระยะแรก ถูกออกแบบให้ทางานได้ดีในหลุมเจาะที่มี
ขนาดระหว่าง 3.5 ถึง 19 นิ้ว ประกอบด้วยแขน 3 แขน ทามุม
120 องศาซึ่งกันและกัน ทาการวัดค่าความต้านทานโดยใน
ระยะแรกมีตวั ตรวจวัดเป็ นแบบ microlog และตัววัดค่ามุมเอียง
ของหลุมเป็ นแบบ Teleclinometer เรี ยกเครื่ องมือแบบนี้วา่
CDM-T แสดงผลการเอียงของหลุมเป็ นแบบ rectangular
coordinate
ต่อมาปรับปรุ งและเปลี่ยนตัวตรวจวัดไปใช้แบบ focused micro-device และ
ตัววัดค่ามุมเอียงของหลุมเป็ นแบบ Poteclinometer เรี ยกเครื่ องมือแบบนี้
ว่า CDM-P ซึ่งช่วยให้สามารถอ่านค่าความต้านทานของชั้นหิ นเข้าไปได้
ลึกมากขึ้นและแสดงผลการเอียงของหลุมแบบ polar coordinate
เครื่ องมือจะอ่านค่าและแสดงผลเป็ นค่ามุมเอียง ทิศทางการวางตัวของ
หลุมเจาะ และตาแหน่งของตัวตรวจวัดที่ 1 ส่ วนค่ามุมเอียงเทของชั้นหิ น
จะต้องหาจากความสัมพันธ์ระหว่างค่าความต้านทานที่วดั ได้จากตัว
ตรวจวัดทั้ง 3 ตัว ความลึกในการสารวจของเครื่ องมือนี้ประมาณ 2 นิ้ว
ในการทางานเครื่ องมือนี้อาจมีปัญหาบ้าง
1. ในกรณี ที่หลุมเกิดเป็ นโพรง ตัวตรวจวัดตัวใดตัวหนึ่งไม่สมั ผัส
กับผนังของหลุมเจาะ ทาให้ค่าความต้านทานมีค่าเท่ากับค่าความ
ต้านทานของน้ าโคลน ค่าที่อ่านได้จากกราฟจึงไม่แสดงลักษณะ
ที่สามารถจะนาไปเปรี ยบเทียบกับกราฟที่ได้จากตัวตรวจวัดตัว
อื่นๆที่เหลืออีก 2 ตัว การแก้ไขปั ญหานี้ทาได้โดยอาจทาการวัด
2 ครั้ง โดยตั้งเครื่ องมือให้วดั ค่าในตาแหน่งอื่นที่ไม่เป็ นโพรง
2. ในกรณี ที่หลุมเอียงมาก ทาให้ตวั ตรวจวัดตัวใดตัวหนึ่งถูกกดทับ
ด้วยน้ าหนักของเครื่ องมือ ทาให้ตวั ตรวจวัดไปติดอยูก่ บั แกน
ของเครื่ องมือ ไม่สมั ผัสกับผนังของหลุมเจาะ
3. น้ าโคลนมีค่าความเค็มสูงมาก ค่าความต้นทานที่ได้อาจไม่แสดง
ลักษณะที่ทาให้สามารถนามาใช้ในการคานวณค่ามุมเอียงเทได้
4. กรณี ของน้ าโคลนที่ใช้เป็ นน้ ามัน ซึ่งอาจมีช้ นั บางๆของน้ ามันอยู่
ระหว่างตัวตรวจวัดและผนังบ่อ ทาให้ไม่มีกระแสไหลผ่านใน
บริ เวณดังกล่าว ในกรณี น้ ีแก้ไขได้โดยใช้ตวั ตรวจวัดแบบ
‘scratcher pads
2. High resolution dipmeter tool (HDT)
เครื่ องมือถูกออกแบบให้มีตวั ตรวจวัด 4 ตัว อยูบ่ น hydraulic arm
ช่วยในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดกับเครื่ องมือทีม่ ีตวั ตรวจวัด 3
ตัว ตัวตรวจวัดเป็ นแบบ focused micro-device มี caliper 2 ตัว
แสดงผลออกมาทั้งบนแผ่นฟิ ล์มและบันทึกลงในเทปแม่เหล็ก
เครื่ องมือนี้เหมาะสาหรับทาการวัดในหลุมเจาะที่มขี นาดระหว่าง
4.5 ถึง 18 นิ้ว มีค่าความละเอียดในแนวดิ่ง 0.2 นิ้ว
ลักษณะเด่นของ HDT ที่สาคัญคือ
1. ข้อมูลถูกเก็บและส่ งผ่านขึ้นมายังผิวดินด้วยระบบ elaborate
telemetry system แบบ Pulse Amplitude Modulation Frequency
Modulated (PAM-FM) ทาให้ไม่มีการบกวนของข้อมูลแต่ละชุด
เนื่องจากการส่ งผ่านข้อมูลที่ความถี่แตกต่างกัน อัตราส่ วนของ
สัญญาณต่อคลื่นรบกวนดีข้ ึน ง่ายต่อการแปลงสัญญาณไปสู่
ระบบ digital
2. ตัวตรวจวัดหมายเลข 0 ซึ่งอยูบ่ นแขนที่ 1 จะบันทึกค่าเป็ นกราฟ
หมายเลข 5 ใช้ในการแก้ค่าเนื่องจากความแตกต่างของความเร็ ว
ในการวัดที่ตวั ตรวจวัดแต่ละตัวด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กราฟนี้
จะบันทึกอยูใ่ นเทปแม่เหล็กเท่านั้น จะไม่เขียนลงบนแผ่นฟิ ล์ม
3. PDT
เป็ นเครื่ องมือที่มีตวั ตรวจวัดแบบ focused micro-device 3 ตัว ติดตั้ง
อยูบ่ น hydraulic arm หรื อ spring actuated arm เช่นเดียวกับ
HDT แต่มี caliper เพียง 1 ตัว เป็ นเครื่ องมือที่มีความสามารถมาก
อันหนึ่ง ข้อมูลที่อ่านได้แสดงทั้งบนฟิ ล์มและบันทึกในเทป
แม่เหล็ก
ถึงแม้วา่ HDT และ PDT จะช่วยในการแก้ไขปัญหาบางประการ
ของ CDM แต่กย็ งั มีปัญหาในการทางานอยูบ่ า้ งในบางกรณี เช่น
1. น้ าโคลนมีค่าความเค็มสู งมาก ทาให้การจาแนกลักษณะของ
กราฟทาได้ยาก
2. หลุมเอียงมาก ซึ่งทาให้เกิดน้ าหนักกดทับตัวตรวจวัด ต่อมาได้มี
การแก้ไขโดยการทาให้เครื่ องมือมีน้ าหนักเบาขึ้น (HDT-F)
3. หลุมเจาะที่ใช้วธิ ีเจาะแบบหมุน ซึ่งจะทาให้เกิดลักษณะของรอย
เจาะที่คล้ายกับลักษณะของรอยต่อระหว่างชั้นหิ นและมีค่าความ
ต้านทานสูง
4. ถ้าเครื่ องมือมีการหมุนในหลุมเจาะด้วยความเร็ วสูงและชั้นหิ นมี
มุมเอียงเทมาก ค่าทิศทางการวางตัว ที่ได้จากตัวตรวจวัดอาจมี
การเปลี่ยนแปลงค่าได้สูง เมื่อตัวตรวจวัดตัวแรกกับตัวสุ ดท้าย
ผ่านรอยต่อระหว่างชั้นหิ น ทาให้ค่าที่อ่านได้แก้ไขยาก
4. Sedimentary dipmeter (SHDT)
or Dual Dipmeter tool
เครื่ องมือถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาหรื อข้อจากัดที่เกิด
ขึ้นกับเครื่ องมือที่ใช้มาก่อน ประกอบด้วยแขน 4 แขน ซึ่ง
ออกแบบให้ตวั ตรวจวัดสัมผัสกับผนังของหลุมเจาะตลอดเวลา
แม้วา่ หลุมเจาะจะมีรูปร่ างเป็ นวงรี แต่ละแขนมีตวั ตรวจวัด 2 ตัว
วางห่างกัน 3 cm ทาการบันทึกค่าที่ทุกๆ 2.5 mm ซึ่งทาให้ได้
ข้อมูลทางด้านการเอียงเทของตะกอนที่ละเอียดมากขึ้น
เนื่องจากบันทึกข้อมูลความต้านทานถึง 8 ชุด การวัดค่าการเอียงตัว
ของเครื่ องมือได้รับการปรับปรุ งให้ดีข้ ึนด้วย inclinometry
system แบบใหม่ มีความละเอียดในการเอียงตัวของเครื่ องมือที่
+ 0.2 องศา และความละเอียดของค่าทิศทางการวางตัวที่ + 2
องศา มี accelerometer ที่ใช้ในการแก้ค่าอันเนื่องมาจากความ
แตกต่างของความเร็ วของเครื่ องมือขณะวัดค่า ใช้ Emex survey
current ช่วยในการแก้ค่าในกรณี ที่มีความแตกต่างของค่าความ
ต้านทานมาก
5.1.2 Log presentation
ข้อมูลที่ได้จากเครื่ องมือแสดงผลออกมาในลักษณะที่แตกต่างกัน
ขึ้นอยูก่ บั ชนิดของเครื่ องมือที่ใช้ ในกรณี ที่ใช้เครื่ องมือแบบ 3
แขน จะได้กราฟ 7 เส้น แยกเป็ น 2 ส่ วน
1. ด้านซ้ายประกอบด้วย
- ค่าการวางตัวของตัวตรวจวัดที่ 1 เทียบกับขั้วเหนือของแม่เหล็ก
โลก 1 เส้น
- ค่าการวางตัวของตัวตรวจวัดที่ 1 เทียบกับหลุมเจาะ 1 เส้น
- ค่าการเอียงตัวของหลุมเจาะ 1 เส้น
2. ด้านขวาประกอบด้วย
- ค่าความต้านทานของตัวตรวจวัดที่ 1 ถึง 3 จานวน 3 เส้น
- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหลุมเจาะ 1 เส้น
ในกรณี ที่ใช้เครื่ องมือที่มี 4 แขน แยกเป็ น 2 ส่ วน
1. ด้านซ้ายประกอบด้วยกราฟ 3 เส้น เช่นเดียวกับในกรณี ที่
เครื่ องมือเป็ นแบบ 3 แขน
2. ด้านขวาประกอบด้วย
ค่าความต้านทานของตัวตรวจวัดที่ 1 ถึง 4 จานวน 4 เส้น หรื อ
อาจแสดงเพียง 2 เส้นของตัวตรวจวัดที่ 1 และ 2 เพื่อให้สามารถ
อ่านข้อมูลจาก caliper log ได้ง่ายขึ้น ในกรณี ที่สภาพของหลุม
ไม่ดี เช่นอาจมีหลุมพัง และ ค่าจาก caliper log 2 เส้น
5.1.3 Graphic presentation
ข้อมูลต่างๆที่ได้จะต้องนามาคานวณเพื่อหาค่ามุมเอียงเทและการ
วางตัวของชั้นหิ นอีกครั้งหนึ่ง การแสดงผลอาจอยูใ่ นรู ปของ
ตารางหรื อในรู ปของกราฟฟิ กก็ได้ ในกรณี ที่เป็ นกราฟฟิ กยัง
แสดงได้ในหลายลักษณะ
1. Arrow plots or Tadpole plots
เป็ นการแสดงผลที่นิยมที่สุดวิธีหนึ่ง scale ในแนวดิ่งบอกถึงความ
ลึก ส่ วน scale ในแนวราบบอกถึงค่ามุมเอียงเท อยูใ่ นช่วง
ระหว่าง 0 ถึง 90 องศา แต่ละจุด (tadpole head) แสดงค่ามุมเอียง
เทที่ความลึกต่างๆ ขีดเล็กๆ (tadpole tail) ที่ต่อออกจากจุดแสดง
ทิศทางการวางตัวของแต่ละจุดเทียบกับขั้วเหนือทางภูมศิ าสตร์
นอกจากนั้นยังแสดงค่ามุมเอียงเทและการวางตัวของหลุมเจาะที่
ระดับทุกๆ 50 หรื อ 100 ฟุต และค่าความต้านทานใช้
เปรี ยบเทียบเพื่อแก้ไขค่า log อื่นๆ
ลักษณะของจุดแต่ละจุดยังมีความหมายแตกต่างกันอีก คือ จุดสี ดา
แสดงว่าข้อมูลมีคุณภาพดี ส่ วนจุดสี ขาวโปร่ งแสดงว่าไม่ทราบ
ถึงคุณภาพของข้อมูล
นอกจาก arrow plots แล้วยังมีการแสดงผลอย่างอื่นร่ วมด้วย เช่น
Azimuth rose plots โดยการแสดง rose diagram ของค่าทิศ
ทางการวางตัวของชั้นหิ นในแต่ละช่วง ปกติจะใช้ช่วงละ 50
เมตร rose diagram นี้มีประโยชน์ช่วยในการบอกถึง รอยผิดวิสัย
ทิศทางการวางตัวของโครงสร้าง และ รอยเลื่อน เป็ นต้น หรื อ
Dip histrogram เป็ นการแสดงค่าความถี่ของค่ามุมเอียงตัวในแต่
ละช่วง ซึ่งมีประโยชน์ในการแยกกลุ่มของโครงสร้างและชั้นหิ น
ที่มีทิศทางการเอียงตัวต่างๆออกจากกันได้
2. Separation of Dip and Azimuth (Soda) plots
การแสดงผลในลักษณะนี้ให้ผลเช่นเดียวกับ Arrow plots อาศัยจุด
เป็ นตัวบอกค่ามุมเอียงเทและค่าทิศทางการวางตัว โดยเขียน
แยกกันเป็ น 2 trace คือค่ามุมเอียงเท ซึ่ งอยูใ่ นช่วงระหว่าง 0 ถึง
90 องศาและทิศทางการวางตัวเทียบกับขั้วเหนือทางภูมิศาสตร์
ซึ่งมีค่าระหว่าง 0 ถึง 360 องศา มีประโยชน์มากสาหรับการแปล
ความหมายการเอียงตัวของโครงสร้าง
3. Azimuth frequency plots
ค่าทิศทางการวางตัวของชั้นหิ นแต่ละช่วงเขียนอยูใ่ นรู ปของ
circular histogram (Wulff or Schmidt net) ค่าการวางตัวอ่าน
ตามเข็มนาฬิกาจาก 0 ถึง 360 องศา ค่าความถี่กาหนดเป็ นความ
ยาวรัศมีของวงกลม ช่วงห่างของแต่ละชั้นควรกาหนดให้อยู่
เฉพาะในแต่ละหน่วยหิ น ค่ามุมเอียงเทของชั้นหิ นก็สามารถ
แสดงได้ในทานองเดียวกัน เหมาะสาหรับการวิเคราะห์บริ เวณที่
มีโครงสร้างซับซ้อนมาก
4. Polar plots
• ลักษณะการแสดงผลนี้คล้ายกับ Azimuth frequency plots
เพียงแต่เพิม่ concentric circle ซึ่งแสดงค่ามุมเอียงเทจาก 0 ที่
ขอบด้านนอก ไปยัง 90 องศาที่ศูนย์กลาง แต่ละจุดจึงขึ้นอยูก่ บั
ทั้งค่ามุมเอียงเทและค่าการวางตัว อาจมีการผสมระหว่าง
Azimuth frequency plots และ Polar plots แต่เหมาะสมเฉพาะ
เมื่อค่ามุมเอียงเทมีค่าน้อย เรี ยกลักษณะนี้วา่ POLAR-F plot
5. Formation Anomaly Simulation Trace (FAST)
plots
การแสดงผลในลักษณะนี้จะเขียนอยูบ่ นแผ่นใสแสดงระนาบของ
ชั้นหิ นตัดกับผนังของหลุมเจาะที่เป็ นทรงกระบอก ซึ่งทาให้
สามารถเห็นมุมเอียงเทของชั้นหิ นที่อยูบ่ นแท่งหิ น (core) ได้
วิธีการนี้มีขอ้ ดีในด้านที่แสดงให้เห็นถึงปรากฏการณ์ทางเทคโท
นิคส์หรื อความไม่ต่อเนื่องที่เด่นๆของตะกอนได้ดี
6. Stick plots
การแสดงผลลักษณะนี้แสดงระนาบชั้นหิ นเอียงเทกับระนาบค่าการ
วางตัวตามแนวตั้ง ค่าการวางตัวมักแสดงเป็ น 6 ค่า คือ 360O,
30O, 60O, 90O, 120O, 150O แต่อาจแสดงเป็ นค่าอื่นๆได้เช่นกัน
การแสดงผลในลักษณะนี้ทาให้สามารถศึกษาค่ามุมเอียงเทจาก
ภาพตัดขวางของหลุมเจาะที่กาหนดให้ไม่มีการเอียงตัวของหลุม
ได้ดี
7. Cross-section plots
การแสดงแบบนี้เป็ นการประยุกต์มาจาก Stick plots ให้เห็นถึงค่ามุมเอียงเท
บนภาพตัดขวางที่มีค่าการวางตัวต่างกัน
8. Borehole geometry plots
การแสดงผลลักษณะนี้จะแสดง caliper 2 เส้น ตาแหน่งของ
เครื่ องมือในหลุมเจาะ ตาแหน่งของแขนที่ 1 และการวางตัวของ
หลุมเจาะ
5.1.4 Application
1. Tectonic or structural application
ค่ามุมเอียงเทที่ได้จากเครื่ องมือถูกใช้เป็ นข้อมูลพื้นฐานในการ
กาหนดค่ามุมเอียงเทของโครงสร้างโดยทัว่ ไปในบริ เวณนั้น ค่า
มุมเอียงเทที่ผดิ ปกติไปจากค่ามุมเอียงเทปกติในบริ เวณนั้นทั้ง
ขนาดและทิศทาง มักเกิดเนื่องจากการแปรสภาพของโครงสร้าง
เช่น รอยเลื่อน รอยสัมผัสไม่ต่อเนื่อง การคดโค้ง โครงสร้างที่
เกิดเป็ นบริ เวณแคบๆ เช่น โดมเกลือหิ น ซึ่งสามารถสังเกตเห็น
ได้
รอยเลื่อนสามารถสังเกตเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงค่ามุมเอียงเท
อย่างฉับพลันจากหิ นด้านหนึ่งของรอยเลื่อนไปยังอีกหิ นอีกด้าน
หนึ่งของรอยเลื่อน
รอยสัมผัสไม่ต่อเนื่องสังเกตจากการเปลี่ยนแปลงทั้งทิศทางและค่า
มุมเอียงเทจากหิ นชุดหนึ่งไปยังหิ นอีกชุดหนึ่ง
บริ เวณใกล้โดมเกลือหิ นค่ามุมเอียงเทจะมีค่ามากและน้อยลงเมื่อ
ห่างจากโดมเกลือหิ น
2. Structural mapping
จากค่ามุมเอียงเทและทิศทางการวางตัวของโครงสร้างต่างๆที่วดั ได้
จากเครื่ องมือสามารถนามาสร้างเป็ นแผนที่โครงสร้างทาง
ธรณี วทิ ยาหรื อภาพตัดขวางทางธรณี วทิ ยาแสดงลักษณะ
โครงสร้างได้
3. Sedimentary applications
ค่ามุมเอียงเทและทิศทางการวางตัวบ่งบอกถึงกาววางตัวของชั้นหิ น
กักเก็บ ซึ่งอาจอาศัยข้อมูลของการวางตัวของโครงสร้างทางหิ น
ตะกอนต่างๆ เช่น cross bedding, paleocurrent, slumps และ
drapes ลักษณะที่สาคัญของหิ นตะกอนของชั้นกักเก็บในแต่ละ
ช่วงสามารถนาไปสู่การแปลความหมายถึงขบวนการสะสมตัว
ได้
นอกจากนั้นค่าความต้านทานและมุมเอียงเทจะมีความสัมพันธ์กบั
ความหนาของชั้นหิ น ปรากฏการณ์ที่เกิดซ้ าๆกัน การพัฒนาของ
หิ นในแนวดิ่ง ขนาดของเม็ดตะกอน ส่ วนประกอบ ชนิดของชั้น
หิ น จุดกาเนิดของรอยต่อของชั้นหิ น หรื อ ความเป็ นเนื้อเดียว
ของชั้นหิ น
4. Stratigraphic application
การวิเคราะห์ค่ามุมเอียงเทให้ผลในด้านของการลาดับชั้นหิ น การ
เกิดรอยสัมผัสไม่ต่อเนื่อง เป็ นต้น ค่ามุมเอียงเทและค่าการวางตัว
ของชั้นหิ นยังสามารถนามาคานวณหาความหนาจริ งของชั้นหิ น
ได้ เมื่อนามาคานวณเป็ นปริ มาตรก็สามารถที่จะประเมินถึง
ศักยภาพของชั้นหิ นนั้นๆได้