ความสัมพันธ์ระหว่างค่าฮีมาโตคริต กับภาวะการขาดเหล็กในหญิงตั้งครรภ์

Download Report

Transcript ความสัมพันธ์ระหว่างค่าฮีมาโตคริต กับภาวะการขาดเหล็กในหญิงตั้งครรภ์

ความสั มพันธ์ ระหว่ างค่ าฮีมาโตคริต
กับภาวะการขาดเหล็กในหญิงตั้งครรภ์
วัชรชัย ไชยชนะ
นักเทคนิคการแพทย์ 6
โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 10
ที่มา




ภาวะโลหิ ตจางในหญิงตั้งครรภ์ เป็ นปัญหาสาธารณสุ ขของ ประเทศ
ไทย เนื่องจากมีอุบตั ิการณ์อยูร่ ะหว่างร้อยละ 6-31
มารดาและทารกแรกเกิดมีอตั ราการตายสูง
เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น การคลอดก่อนกาหนด แท้ง ทารก
ตายในครรภ์ ความดันสูง
สาเหตุของภาวะโลหิ ตจางร้อยละ 80 เกิดจาก การขาดธาตุเหล็ก
ที่มา


WHO กาหนดให้หญิงตั้งครรภ์มีค่า HCT
33 %เป็ นโลหิ ตจาง
มีการใช้ค่าดังกล่าวในการคัดกรองเบื้องต้น
สาหรับบ่งชี้ภาวะขาดเหล็กในหญิงตั้งครรภ์
ที่ต่ากว่า
วัตถุประสงค์
 หาความสัมพันธ์ระหว่างค่าฮีมาโตคริ ต
กับภาวะการขาดเหล็กในหญิงตั้งครรภ์
 เพื่อการป้ องกันและติดตามการเกิดภาวะโลหิ ตจาง
จากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์เป็ นไปอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพและเกิดประสิ ทธิ ผล
วัสดุ วิธีการ

Sample
- ตัวอย่างเลือดหญิงตั้งครรภ์ที่เข้ารับการฝากครรภ์ ที่โรงพยาบาล
ส่ งเสริ มสุ ขภาพ เชียงใหม่ จานวน 204 ราย
- อายุครรภ์ ในไตรมาสแรก
83 ราย
- อายุครรภ์ ในไตรมาสที่สอง 25 ราย
- อายุครรภ์ ในไตรมาสที่สาม 96 ราย
การตรวจตรวจวิเคราะห์




1. วัดระดับ HCT
2. ตรวจหาปริ มาณเหล็กในซีรั่ม (Serum iron ;SI)
3. ทดสอบความสามารถที่ทรานเฟอริ นจะรวมกับเหล็กได้ท้ งั หมด
(Total iron binding capacity ;TIBC)
4. % transferin saturation = (SI/TIBC) x 100
ข้ อมูลทีใ่ ช้ วเิ คราะห์
อายุ (Age)
 ปริ มาณเหล็กในซี รั่ม (SI) (< 50 mg/dl)
 ความสามารถที่ทรานเฟอริ นรวมกับเหล็กได้ท้ งั หมด(TIBC)
(> 380 mg/dl)
 ค่าความเข้มข้นของเลือด (Hct) < 33%
 % transferin saturation
= (SI/TIBC) x 100 (<16%)

ผลการวิจัย
50
Age (years)
40
30
20
10
0
ช่วงอายุของหญิงตั้งครรภ์ท้ งั หมดอยูร่ ะหว่าง 13 – 39 ปี
ค่าเฉลี่ยอายุ ในไตรมาสแรกเท่ากับ 25.46 ± 5.40
ไตรมาสที่สองเท่ากับ 22.16 ± 3.93
และไตรมาสที่สามเท่ากับ 25.09 ± 5.82
ผลการวิจัย
200
SI (mg/dL)
150
100
50
0
พบหญิงตั้งครรภ์จานวน 52 ราย (ร้อยละ 25.49) มีปริ มาณเหล็กในซีรั่มต่ากว่าค่าปกติ (< 50 mg/dl)
ไตรมาสแรกจานวน 9 ราย (ร้อยละ 10.84) ไตรมาสที่สองจานวน 8 ราย (ร้อยละ 32)
และไตรมาสที่สามจานวน 35 ราย (ร้อยละ 36.46)
ค่าเฉลี่ยปริ มาณเหล็กในซีรั่มของหญิงตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก (80.25 ± 29.56) สูงกว่าในไตรมาสที่สอง
(68.84 ± 27.30) และสาม (68.20 ± 34.68)
ผลการวิจัย
600
TIBC (mg/dL)
500
400
300
200
100
0
หญิงตั้งครรภ์จานวน 18 ราย (ร้อยละ 8.82) มีค่าTIBC สูงกว่าค่าปกติ (> 380 mg/dl)
ค่าเฉลี่ย TIBC หญิงตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก (243.10 ± 77.92)
ไตรมาสที่สอง (237.85 ± 76.82 )
ไตรมาสที่สาม (295.59 ± 84.56)
ผลการวิจัย
120
100
80
Transferrin
saturation (%)
60
40
20
0
1-12 Weeks
>12 -24 Weeks
>24 Weeks
กาหนดให้ค่าทรานสเฟอริ นที่อิ่มตัวที่ต่ากว่าร้อยละ 16 เป็ นดัชนีบ่งชี้ภาวะการณ์ขาดเหล็ก
หญิงตั้งครรภ์ท้งั หมดจานวน 40 ราย (ร้อยละ 19.6) มีภาวะพร่ องเหล็ก
ไตรมาสแรกจานวน 8 ราย (ร้อยละ 9.64) ไตรมาสที่สองและสามจานวน 4 ราย (ร้อยละ 16) และ 28 ราย (ร้อยละ 29.17)
ไตรมาสแรก (36.40 ± 16.99) กับไตรมาสที่สอง (31.47 ± 13.28) ไตรมาสที่สาม (27.46 ± 24.34)
ผลการวิจัย
50
Hct (%)
40
30
20
10
0
1-12 Weeks
>12 -24 Weeks
>24 Weeks
ค่าเฉลี่ยฮีมาโตคริ ต ของหญิงตั้งครรภ์ไตรมาสแรก (39.66 ± 2.93)
ไตรมาสที่สอง (37.36 ± 2.36) ไตรมาสที่สาม (38.21 ± 2.47)
Hct < 33 % บ่งบอกภาวะขาดเหล็ก
จะพบหญิงตั้งครรภ์ 3 ราย ที่มีภาวะขาดเหล็ก คิดเป็ น ร้ อยละ 1.47
วิจารณ์

เมื่อศึ กษาถึ งความสัมพันธ์ของอายุครรภ์กบั ภาวะการขาดเหล็ก
พบว่าปริ มาณเหล็กในซี รั่ม(SI)ที่ลดลงในไตรมาสที่สองและสาม
ของการตั้งครรภ์มีความสัมพันธ์กบั การลดลงค่าทรานสเฟอริ นที่
อิ่มตัว(% transferin saturation)
และสัมพันธ์กบั การเพิ่มขึ้น
ของค่ า ความสามารถที่ ท รานสเฟอริ น รวมกับ เหล็ก ได้ท้ งั หมด
(TIBC) แสดงให้เห็นว่าการขาดเหล็ก
มีความสัมพันธ์กบั อายุ
ครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
วิจารณ์


ไม่สามารถใช้เกณฑ์ HCT < 33% เป็ นดัชนีบ่งชี้ถึงภาวการณ์ขาด
เหล็กในหญิงตั้งครรภ์ได้ท้ งั หมด เนื่องจากมีเพียง ร้อยละ 1.47
เท่านั้นที่มีค่าต่ากว่าเกณฑ์
หากใช้เกณฑ์ % transferin saturation น้อยกว่าร้อยละ 16 จะพบ
ภาวการณ์ขาดเหล็ก ร้อยละ 19.6
วิจารณ์

ภาวะโลหิ ตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็กสามารถแบ่งได้เป็ น
สามระยะ คือ
– 1. ระยะที่ใช้เหล็กที่สะสมไว้จนหมด (depletion of iron stores) ระยะนี้ไม่
แสดงอาการมักเกิดในระหว่างไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
– 2. ระยะการบกพร่ องในการสร้างเม็ดเลือด (erythropoiesis) ตรวจวินิจฉัย
ได้โดยการวัดปริ มาณเหล็กในซี รั่ม ค่าความสามารถที่ ทรานสเฟอริ นรวม
กับเหล็กได้ท้ งั หมดและ ค่าเปอร์ เซ็นต์ ทรานสเฟอริ นที่อิ่มตัว
– 3. ระยะที่สามเป็ นระยะที่แสดงอาการโลหิ ตจางที่ชดั เจนการ
วิจารณ์
 จากข้อมูลทั้งหมดแสดงให้เห็นว่า
–การตรวจคัดกรองภาวะโลหิ ตจางอันเนื่ องมาจากการ
ขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์โดยเฉพาะในระยะแรก
และระยะที่ ส องของการด าเนิ น โรค ด้ว ยเทคนิ ค ที่
จาเพาะ เป็ นสิ่ งจาเป็ นมากกว่าการตรวจวัดระดับ ฮี
มาโตคริ ตแต่เพียงอย่างเดียว
ขอขอบคุณ

แขนงวิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิค แขนงวิชาเคมีคลินิก ภาควิชา
เทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
ผศ. ดร. ธนูศกั ดิ์ ตาตุ ที่ให้ความอนุเคราะห์ สารเคมี และเครื่ องมือ
เพื่อทาการตรวจ ปริ มาณเหล็กในซีรั่ม (SI) และการทดสอบ
ความสามารถที่ทรานสเฟอริ นรวมกับเหล็กได้ท้ งั หมด (TIBC)
ขอบคุณครับ