5 หน่วยงาน - กรมส่งเสริมสหกรณ์

Download Report

Transcript 5 หน่วยงาน - กรมส่งเสริมสหกรณ์

ผลประเมินการปฏิบัติงานของหน่ วยงาน
ปี งบประมาณ 2553 และ
แผนการปฏิบัติงาน ปี งบประมาณ 2554
นายจิตรกร สามประดิษฐ์
รองอธิบดีกรมส่ งเสริมสหกรณ์
วันที่ 30 ก.ย. 53 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
1
เกณฑ์ ประเมินผลปี 2553
รวม 3 ส่ วน 100 คะแนน
• วัดผลเรื่อง การปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ
ส่ วนที่ 1 (35 คะแนน)
ส่ วนที่ 2 (35 คะแนน)
ส่ วนที่ 3 (30 คะแนน)
- ผลงานตาม
ผลผลิต/โครงการ
- ประสิ ทธิภาพ
การปฏิบัติงาน
และการวัดผลงาน
ตามกระบวนการ
ของ PART,
PMQA, VFM
- การบริหารจัดการ
ข้ อมูล, การจัดทา
ฐานข้ อมูลงาน
ส่ งเสริมฯ และการ
พัฒนาระบบงาน
รองรับภารกิจกรมฯ
- ผลการใช้ จ่าย
งบประมาณ และ
การจัดทาต้ นทุน
ต่ อหน่ วย
PART : การวิเคราะห์ ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานจากการใช้ จ่ายงบประมาณ
PMQA : การพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐ
(30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
VFM : ความคุ้มค่ าของการปฏิบตั ท่ิภานรองฯ
ารกิจิจตรกรจากการเบิ
กจ่ ายงบประมาณ
2
ผลประเมินการปฏิบัตงิ านและระบบการบริหารจัดการ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553
ผ่ านเกณฑ์ วดั ผลระดับดีเด่ น (มีคะแนนประเมินตั้งแต่ 70 คะแนนขึน้ ไป)
จานวน 5 หน่ วยงาน คือ
ที่ 1 : สสจ. ลพบุรี
ที่ 2 : สสจ. ลาปาง
ที่ 3 : สสพ. 1
ที่ 4 : สสจ. สระบุรี
ที่ 5 : สสจ. อุตรดิตถ์
ได้ 78.91 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 1
ได้ 76.11 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 4
ได้ 74.71 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 7
ได้ 74.33 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 8
ได้ 70.40 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 5
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
3
เกณฑ์ ประเมินผลปี 2553 รวม 3 ส่ วน 100 คะแนน
• วัดผลเรื่อง การปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ (1 ต.ค. 52 – 30 มิ.ย. 53)
ระดับ ดี (10 หน่ วยงาน)
- สสจ. ร้ อยเอ็ด
- สสจ. ราชบุรี
- สสจ. อานาจเจริญ
- สสจ. ชลบุรี
- สสจ. นครสวรรค์
- สสจ. ปราจีนบุรี
- สสจ. นครศรีธรรมราช
- สสจ. ตาก
- สสจ. สระแก้ว
- สสจ. บุรีรัมย์
ระดับ พอใช้ (20 หน่ วยงาน)
- สสจ. สิงห์ บุรี
- สสจ. พิษณุโลก
- สสจ. ปัตตานี
- สสจ. นครนายก
- สสจ. ปทุมธานี
- สสจ. ฉะเชิงเทรา
- สสจ. นครพนม
- สสจ. ลาพูน
- สสจ. จันทบุรี
- สสจ. สกลนคร
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
- สสจ. นครราชสีมา
- สสจ. อ่างทอง
- สสจ. กาญจนบุรี
- สสพ. 2
- สสจ. สมุทรสงคราม
- สสจ. ระยอง
- สสจ. สุ รินทร์
- สสจ. สุ ราษฎร์ ธานี
- สสจ. เชียงใหม่
- สสจ. เลย
4
เกณฑ์ ประเมินผลปี 2553 รวม 3 ส่ วน 100 คะแนน
• วัดผลเรื่อง การปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ (1 ต.ค. 52 – 30 มิ.ย. 53)
ระดับ ปรับปรุง (37 หน่ วยงาน)
- สสจ. มุกดาหาร
- สสจ. แพร่
- สสจ. น่ าน
- สสจ. กาแพงเพชร
- สสจ. พิจติ ร
- สสจ. มหาสารคาม
- สสจ. พระนครศรีอยุธยา
- สสจ. สงขลา
- สสจ. ขอนแก่น
- สสจ. สตูล
- สสจ. ศรีสะเกษ
- สสจ. อุทัยธานี
- สสจ. ชัยภูมิ
- สสจ. อุบลราชธานี
- สสจ. ตรัง
- สสจ. ยะลา
- สสจ. อุดรธานี
- สสจ. นครปฐม
- สสจ. ประจวบคีรีขนั ธ์
- สสจ. เพชรบูรณ์
- สสจ. นราธิวาส
- สสจ. หนองบัวลาภู
- สสจ. แม่ ฮ่องสอน
- สสจ. ชัยนาท
- สสจ. เชียงราย
- สสจ. พังงา
- สสจ. กระบี่
- สสจ. ยโสธร
- สสจ. พะเยา
- สสจ. สุ พรรณบุรี
- สสจ. นนทบุรี
- สสจ. สมุทรสาคร
- สสจ. หนองคาย
- สสจ. เพชรบุรี
- สสจ. ระนอง
- สสจ. ภูเก็ต
- สสจ.ชุมพร
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
ระดับ ปรับปรุงเร่ งด่ วน
(5 หน่ วยงาน)
- สสจ. สมุทรปราการ
- สสจ. ตราด
- สสจ. พัทลุง
- สสจ. สุ โขทัย
- สสจ. กาฬสินธุ์
5
ผลประเมินการปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553
ส่ วนที่ 1 : ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้ จ่ายงบประมาณ
(เต็ม 35 คะแนน)
ระดับ ดี
ได้ 25 คะแนนขึน้ ไป จานวน 5 หน่ วยงาน (สู งสุ ด 26.10 คะแนน)
ระดับ พอใช้
ได้ 23 คะแนนขึน้ ไป จานวน 17 หน่ วยงาน
ระดับ ปรับปรุง
ได้ 20 คะแนนขึน้ ไป จานวน 30 หน่ วยงาน
(ร้ อยละ 6.5)
(ร้ อยละ 22)
(ร้ อยละ 39)
ระดับ เร่ งปรับปรุง
ได้ 13 คะแนนขึน้ ไป จานวน 25 หน่ วยงาน (ต่าสุ ด 13.05 คะแนน)
(ร้ อยละ 32.5)
สรุป : ร้ อยละ 90 หน่ วยงานปฏิบัติงาน/โครงการเสร็จตามแผนฯ
แต่ ผลของงานไม่ สะท้ อนคุณภาพเท่ าทีค่ วร ทั้งในด้ านผลผลิตและผลลัพธ์
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
6
ตัวอย่ างงานทีค่ วรปรับปรุง จากข้ อมูลประเมินส่ วนที่ 1
1. กาหนดแผนงานไม่ สอดคล้องกับปริมาณงาน/ลักษณะงานในพืน้ ที่
2. รายงานผลงานส่ งเสริมฯ ไม่ สามารถสะท้ อนเนือ้ งานจริงๆ ที่
จนท. ได้ เข้ าปฏิบัติงาน หรือ ติดตาม/แก้ไขปัญหาได้ ชัดเจน
3. รายงานตรวจการไม่ สะท้ อนคุณภาพของการตรวจ/ติดตาม/สั่ งการ
จากนายทะเบียน ทั้งในกรณีสหกรณ์ ปกติและไม่ ปกติ
4. กาหนด Action Plan ปฏิบัติงานส่ งเสริมฯ เพียง 9 -10 เดือน เท่ านั้น
5. การรายงานผลงาน/โครงการไม่ สะท้ อนข้ อมูลปัญหาหรือข้ อเท็จจริงของงาน/
โครงการในพืน้ ทีท่ นี่ าไปสู่ การปรับปรุง/แก้ไขงานตามผลผลิต/โครงการได้
เท่ าทีค่ วร โดยเฉพาะงานสาคัญ/งานนโยบายเร่ งด่วน/งานบูรณาการของกระทรวงฯ
6. กลุ่มงานฯ ไม่ สามารถสนับสนุน/ช่ วยเหลืองานส่ งเสริมฯ ทางด้ านข้ อมูล,
งานแก้ปัญหา และงานวิชาการได้ ตามภารกิจทีค่ วรจะดาเนินการ
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
7
ผลประเมินการปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553
ส่ วนที่ 2 : ประสิ ทธิภาพการปฏิบัติงานตามกระบวนการที่
PART, PMQA, VFM กาหนด (เต็ม 35 คะแนน)
ระดับ ดี
ได้ 25 คะแนนขึน้ ไป จานวน 11 หน่ วยงาน (สู งสุ ด 29.61 คะแนน)
ระดับ พอใช้
ได้ 21 คะแนนขึน้ ไป จานวน 28 หน่ วยงาน
ระดับ ปรับปรุง
ได้ 18 คะแนนขึน้ ไป จานวน 24 หน่ วยงาน
(ร้ อยละ 14.30)
(ร้ อยละ 36.30)
(ร้ อยละ 31.20)
ระดับ เร่ งปรับปรุง
ได้ 10 คะแนนขึน้ ไป จานวน 14 หน่ วยงาน (ต่าสุ ด 10.65 คะแนน)
(ร้ อยละ 18.20)
สรุ ป : ส่ วนใหญ่ หน่ วยงานยังไม่ มีกระบวนการบริหารงบประมาณทีม่ ี
ประสิ ทธิภาพ และแสดงความคุ้มค่ าของการใช้ จ่ายงบประมาณได้
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
8
ตัวอย่ างงาน จากข้ อมูลประเมินส่ วนที่ 2
1. การจัดทารายงานผลการใช้ จ่าย ส่ วนใหญ่ ไม่ มีการจัดทาในภาพสรุ ปของ
ผลผลิต กิจกรรมหลัก และรายอาเภอ รวมทั้งไม่ มีการแยกประเภท
ของงบให้ ชัดเจน หรือไม่ มียอดสรุปผล ทาให้
ไม่ มีฐานข้ อมูลผลการใช้ จ่ายรองรับในการจัดทาต้ นทุนต่ อหน่ วยของ
ผลผลิตและกิจกรรม เพือ่ ใช้ เป็ นข้ อมูลในการบริหารงบประมาณของ
หน่ วยงานได้ ชัดเจน ทั้งในกรณี ติดตามเร่ งรัดการเบิกจ่ าย และเป็ นข้ อมูล
จัดทาต้ นทุนของแต่ ละกิจกรรมเพือ่ ใช้ ในการประเมินรายบุคคลและจัดสรร
งบประมาณให้ เหมาะสมกับปริมาณงานได้
2. บุคลากรส่ วนใหญ่ ไม่ เข้ าใจการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ , ตัวชี้วดั และ
กระบวนงานว่ ามีความเกีย่ วข้ องกันอย่ างไร แล้วจะทางานส่ งผลสาเร็จถึง
กลุ่มเป้าหมายในระดับผลผลิต, ผลลัพธ์ , ผลกระทบ (ทั้งทีเ่ ป็ นรู ปธรรม/
นามธรรม ต่ อสั งคม-เศรษฐกิจในพืน้ ที)่
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
9
ตัวอย่ างงาน จากข้ อมูลประเมินส่ วนที่ 2 (ต่อ)
3. การรายงาน และการจัดทาข้ อมูลต่ าง ๆ แสดงผลเพียงแค่ งานเสร็จ แต่ ไม่ มี
ข้ อมูลใดทีแ่ สดงให้ เห็นถึงความสาเร็จ/ประโยชน์ ของงานตามภารกิจ
หรือตามวัตถุประสงค์ ของงาน/โครงการ นั้น ๆ โดยเป็ นผลจากงานที่
ทาเสร็จ (สรุปว่ า ได้ ผลงานเชิงปริมาณ แต่ ไม่ ได้ ผลงานเชิงคุณภาพ)
4. ร้ อยละ 65 ของข้ อมูลและเอกสารอ้างอิงต่ าง ๆ ไม่ ได้ เกิดจากกระบวนงานที่
ทาแล้วใช้ ประโยชน์ ได้ จริง แต่ ทาเพือ่ ส่ งประเมินผล จึงเป็ นการเพิม่ ภาระ
งาน สิ้นเปลืองทรัพยากร และไม่ สามารถใช้ อธิบายเป็ นตัวอย่ างส่ ง
ประเมินตนเองให้ หน่ วยงานภายนอกได้ เนื่องจากข้ อมูล/เอกสารไม่
สั มพันธ์ กบั ผลงานที่เกิดขึน้
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
10
ตัวอย่ างงาน จากข้ อมูลประเมินส่ วนที่ 2 (ต่อ)
5. แผนงาน/โครงการต่ าง ๆ บุคลากรทั้งส่ วนกลาง/ส่ วนภูมิภาคยังไม่ สามารถทา
ความเข้ าใจร่ วมกันว่ า วัตถุประสงค์ และผลสาเร็จของงานทีต่ ้ องการให้
เกิดขึน้ คืออะไร ทาให้ การใช้ จ่ายงบประมาณจึงไม่ บรรลุประสิ ทธิภาพและ
ประสิ ทธิผลของงาน ส่ วนใหญ่ เป็ นการเบิกจ่ ายงบประมาณได้ ตามจานวน
ร้ อยละทีก่ รมฯ กาหนดเท่ านั้น แต่ ไม่ สอดคล้องกับผลงานที่เกิดขึน้
6. ร้ อยละ 15 ของหน่ วยงาน มีการปฏิบัติภารกิจภายในหน่ วยงานทีค่ ่ อนข้ าง
เป็ นระบบ และเข้ าใจกระบวนการบริหารงบประมาณให้ เกิดประสิ ทธิภาพ
โดยหน่ วยงานอีกร้ อยละ 85 มีการกาหนดแผนปฏิบัติงานและการ
ปฏิบัติงานในภาพรวมของแต่ ละหน่ วยงาน ไม่ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
(สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร) ที่หน่ วยงานต้ องรับผิดชอบทั้งในเชิ งปริมาณ
และเชิงคุณภาพ ส่ งผลให้ ผลงานในภาพรวมของกรมฯ ไม่ มีประสิ ทธิภาพ
และประสิ ทธิผลตามผลผลิตทีก่ าหนดไว้ ในเอกสารงบประมาณ
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
11
ผลประเมินการปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553
ส่ วนที่ 3 : การบริหารจัดการข้ อมูล และการพัฒนาระบบงาน
รองรับภารกิจกรมฯ (เต็ม 30 คะแนน)
ระดับ ดี
ได้ 19 คะแนนขึน้ ไป จานวน 8 หน่ วยงาน (สู งสุ ด 23.99 คะแนน)
ระดับ พอใช้
ได้ 17 คะแนนขึน้ ไป จานวน 28 หน่ วยงาน
ระดับ ปรับปรุง
ได้ 15 คะแนนขึน้ ไป จานวน 28 หน่ วยงาน
(ร้ อยละ 10.40)
(ร้ อยละ 36.35)
(ร้ อยละ 36.35)
ระดับ เร่ งปรับปรุง
ได้ 9 คะแนนขึน้ ไป จานวน 13 หน่ วยงาน (ต่าสุ ด 9.43 คะแนน)
(ร้ อยละ 16.90)
สรุ ป : ร้ อยละ 90 ของหน่ วยงานยังไม่ มีการจัดทาฐานข้ อมูล/สารสนเทศ
ของสหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกรรองรับภารกิจงานส่ งเสริมฯ ในทุกระดับ
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
12
ตัวอย่ างงาน จากข้ อมูลประเมินส่ วนที่ 3
1. การจัดทารายงาน/ข้ อมูล และเอกสารอ้างอิงต่ างๆ ส่ วนใหญ่ ส่งล่าช้ า และส่ งไม่
ครบ หรือไม่ ส่งตามช่ องทางการสื่ อสารที่กรมฯ กาหนด รวมถึงบางส่ วน
ขาดการตรวจสอบความถูกต้ อง ส่ งผลให้ การวิเคราะห์ ข้อมูลในภาพรวม
ของงาน/โครงการคลาดเคลือ่ น
2. ฐานข้ อมูลสาคัญๆ เช่ น ข้ อมูลสมาชิก, ข้ อมูลผลผลิต, ข้ อมูลการดาเนินงาน/
ธุรกิจของสหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร หลายหน่ วยงานไม่ ได้ ดาเนินการ
รวบรวม/จัดเก็บอย่ างต่ อเนื่อง ส่ งผลให้ การกาหนดแผนงานส่ งเสริ มฯ ไม่
สอดคล้องกับข้ อมูล, ปัญหา และความต้ องการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
3. ร้ อยละ 35 ของหน่ วยงานจัดทาข้ อมูลรายงานผลงาน/โครงการส่ งให้ กผง. และ
สานักฯ ไม่ ตรงกันหรือคลาดเคลือ่ นไปจาก Action Plan ที่กาหนด โดยไม่
แจ้ งเหตุผล หรือข้ อจากัดในระดับพืน้ ทีใ่ ห้ ทราบ
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
13
งานส่ งเสริมฯ
งานของสสจ. /สสพ.ทีผ่ ่ านเกณฑ์ วดั ผล
จากผลประเมินปี 2553
สสจ. อุตรดิตถ์ , ลาปาง, ร้ อยเอ็ด, สกลนคร, ลพบุรี, สระบุรี, นครสวรรค์ ,
นครศรีธรรมราช, ตรัง, สุ ราษฎ์ ธานี, สสพ. 1 และอานาจเจริญ
งานตรวจการ
สสพ. 2, สสจ. อุตรดิตถ์ , นครสวรรค์ , สกลนคร, ประจวบคีรีขนั ธ์ , เชียงใหม่ , นครปฐม,
กาฬสิ นธุ์, และลพบุรี
บทวิเคราะห์ งานส่ งเสริมฯ จาก 3 กลุ่มงาน
สสจ. แม่ ฮองสอน, สระบุรี, สสพ. 1, นครศรีธรรมราช, สกลนคร, นครสวรรค์ , ราชบุรี,
ชลบุรี, พิจิตร และลาพูน
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
14
งานของสสจ. /สสพ.ทีผ่ ่ านเกณฑ์ วดั ผล
จากผลประเมินปี 2553
ร้ อยละการเบิกจ่ ายงบประมาณ
สสจ. ราชบุรี, ชลบุรี, ตาก, อานาจเจริญ, สสพ. 2, นครราชสี มา, อยุธยา และชัยนาท
การจัดทารายงานผลการใช้ จ่าย+ต้ นทุนต่ อหน่ วย
สสจ. สระบุรี, ลพบุรี, ลาปาง, ปทุมธานี, สสพ. 2, พิษณุโลก และปัตตานี
การบันทึกรายงานการประชุ มของหน่ วยงาน
สสจ. ลพบุรี, สระบุรี, สสพ. 1, สงขลา, ลาปาง, สระแก้ ว, บุรีรัมย์ และชลบุรี
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
15
งานของสสจ. /สสพ.ทีผ่ ่ านเกณฑ์ วดั ผล
จากผลประเมินปี 2553
การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ ถึงรายบุคคล
สสจ. ลพบุรี, ชลบุรี, ลาปาง, สระบุรี และปทุมธานี
การจัดทารายงานผลการใช้ จ่าย+ต้ นทุนต่ อหน่ วย
สสจ. สระบุรี, ลพบุรี, ลาปาง, ปทุมธานี, สสพ. 2, พิษณุโลก และปัตตานี
การสรุปเล่มผลงานประจาปี ของหน่ วยงาน
สสจ. ลพบุรี, ลาปาง, ลาพูน, ปทุมธานี, ชัยนาท, สระบุรี และสมุทรสงคราม
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
16
งานของสสจ. /สสพ.ทีผ่ ่ านเกณฑ์ วดั ผล
จากผลประเมินปี 2553
การจัดทาข้ อมูล-สารสนเทศ
สสจ. ลพบุรี, ชลบุรี, ลาปาง, สระบุรี, นครนายก, สกลนคร, บุรีรัมย์ และสสพ. 1
การจัดทาทะเบียนสรุปผลงาน+Action Plan
สสจ. ลพบุรี, เชียงใหม่ , สสพ. 1, แพร่ , ปราจีนบุรี, สกลนคร, ลาปาง, นครสวรรค์ ,
นครศรีธรรมราช, หนองบัวลาพู และมุกดาหาร
เป็ นตัวอย่างทีห่ น่ วยงานอืน่ ๆ สามารถพิจารณานาไปปรับใช้ ได้
สาหรับรายละเอียดงานอืน่ ๆ เพิม่ เติม หากหน่ วยงานใดสนใจ
สอบถามข้ อมูลได้ ทกี่ ผง.
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
17
ปัญหาสาคัญของสสจ. และสสพ.ที่ต้องเร่ งแก้ ไข
• ข้ อมูลจาก 77 หน่ วยงานที่ประเมินตนเองปี 2553
การพัฒนา/โครงสร้ างบุคลากร
- ความรู้ /ความสามารถตามภารกิจที่จาเป็ น
- อัตรากาลัง/ความก้าวหน้ าไม่ เหมาะสม
- ความรับผิดชอบ/จิตสานึกต่ อหน้ าที่
60 %
8%
22 %
10 %
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรายงาน
การจัดสรรงบประมาณ
- เกณฑ์ จัดสรรงบประมาณไม่ เหมาะสมกับปริมาณ
งาน, ผู้ปฏิบัติงาน และสภาพพืน้ ที่
- การปรับลดงบประมาณระหว่ างปี
ยานพาหนะ และคอมพิวเตอร์
- รถไม่ เหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่ และโครงสร้ างอัตรากาลัง
-ไม่ มโี ปรแกรมการรายงานผล, การจัดเก็บฐานข้ อมูล และเทคโนโลยี
- คอมฯ เก่า ชารุด และมีน้อยไม่ เพียงพอต่ อการปฏิบัติงาน
สารสนเทศภายในหน่ วยงานทีเ่ ป็ นระบบ
- ขาดข้ อมูลทีใ่ ช้ วางแผนงาน/โครงการต่ างๆรองรับการปฏิบัติภารกิจ
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
18
ของหน่ วยงาน-กรมฯ
แนวทางการรายงานผลงานปี 2554
กองแผนงาน เป็ นการรายงานผลงานในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์
(เชิงปริมาณ+คุณภาพ) ตามเอกสารงบประมาณ และยุทธศาสตร์
ภารกิจงานปี 54 ที่ สสจ./สสพ. ดาเนินการร่ วมกับ
สานัก/กอง/ศูนย์ โดยตรง คือ
ส่ งรายงานผลความก้าวหน้ าของงาน/โครงการ
ตามแผนฯ (กิจกรรม/KPI) และงานนโยบายต่ าง ๆ
รู ปแบบ/วิธีการ/เงือ่ นเวลาการจัดเก็บข้ อมูล
และจัดทารายงานผลตามแบบรายงานต่ างๆ
รวบรวม/ประมวล/สรุปผล และจัดเก็บข้ อมูล
แยกเป็ นงาน/โครงการส่ งสานักทีร่ ับผิดชอบหลัก
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
สานัก/กอง/ศูนย์
(เป็ นผู้ดาเนินการเอง)
1. จัดทาคู่มือ, แนวทาง, วิธีปฏิบัต,ิ Action
Plan ในภาพรวมของงาน
2. แบบรายงานผลงาน/โครงการต่ างๆ
3. การติดตาม/แก้ไขปัญหา-อุปสรรค
เป็ นรายโครงการ
4. สรุปผลในภาพรวมของงาน/โครงการ ส่ ง
ให้ กผง. และหน่ วยงาน ที่เกีย่ วข้ อง
5. ติดตามผลการปฏิบัตงิ าน และวิเคราะห์
ข้ อมูลผลงานในเชิงลึก เพือ่ การปรับปรุงและ
พัฒนาแผนงาน/โครงการในระยะต่ อไป
19
การดาเนินการต่ อ ภายหลังจากประกาศผลประเมินฯ แล้ ว คือ
1. หน่ วยงานทีม่ ีผลประเมินฯ ในกลุ่มระดับปรับปรุง และระดับปรับปรุงเร่ งด่ วน
ต้ องจัดทาแผนงาน พร้ อม Action Plan ของเรื่องและงานทีต่ ้ องปรับปรุ งแก้ไข
เพือ่ วางระบบการบริหารจัดการให้ สอดคล้องกับกระบวนการบริหาร
• add Text ส่ งถึง กผง. ภายในวัน
• add
• add Text
งบประมาณ
ทีText่ 30 พ.ย. 53 (รายละเอียดตามหนั
งสื อที่แจ้ ง)
• add Text
• add Text
• add Text
2. จัดท•ารายงานสรุ
ปผลงานประจ• าปี
งบประมาณ พ.ศ. 2553• ของหน่
วยงาน ส่ ง
add Text
add Text
add Text
ถึง กผง. ภายในวันที่ 30 พ.ย. 53(รายละเอียดตามหนังสื อที่แจ้ ง)
3. การจัดสรรงบประมาณ สาหรับ 5 หน่ วยงานลาดับต้ น และ 5 หน่ วยงานลาดับ
ท้ าย กผง. จะดาเนินการตามหลักเกณฑ์ ทไี่ ด้ รับอนูมัติแล้ว (รายละเอียดตาม
หนังสื อที่แจ้ ง)
* รายละเอียดของผลประเมินฯ กผง. จะเผยแพร่ บนเว็บไซด์ ของ กผง. และหน่ วยงาน
สามารถตรวจสอบรายละเอี
ยดได้
ที่กกลุลุ่มติ่ มดตามฯ
ติดกองแผนงาน
ตามและประเมินผล *
ท่านรองฯ จิตรกร (30
ก.ย. 53)
20
เส้ นทางนีอ้ กี ยาวไกล
แต่ วนั นีเ้ ราเดินทางถูกทางแล้ ว (หรือยัง)
การหยุดนิ่ง คือ ความล้ าหลัง
ไม่ มีใครถึงจุดหมายโดยไม่ ออกแรง ก้ าวเดิน
...เรามาเดินไปด้ วยกันทั้งองค์ กร
(ทีม่ า: Website การจัดทาแผนพัฒนาองค์ กร)
ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน
21